SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
                                  .............................
                                                              พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต/รัตนพันธ์ *



            มหาวิ ทยาลัยสงฆ์ เป็ นการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และระดับสูงกว่า
                                                      ั ั
อุดมศึกษาสําหรับพระภิก ษุสงฆ์แ ละสามเณร (ปจจุบน รับประชาชนทัวไปเข้า ศึก ษาด้วย)
การศึกษาวิชาการพระพุทธศาสนาและวิชาการขันสูงอืนๆ แบ่งเป็ นคณะต่างๆ ได้แก่ คณะ
พุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ เป็ น ต้น ปจจุบน             ั ั
มหาวิทยาลัยสงฆ์ มี ๒ แห่ง คือ
            ๑. มหาวิท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิท ยาลัย (ฝ่า ยมหานิ ก าย) ตังอยู่ที
                                                    ั ั
วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร ปจจุบนย้ายไปอยู่ทีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย อํา เภอวังน้อย จังหวัดอยุธยา นอกจากนันยังมีวท ยาเขต วิท ยาลัยสงฆ์
                                                                  ิ
ห้องเรียน และศูนย์วทยบริการ ตังกระจายอยูตามภูมภาคต่างๆ ของประเทศ เพือให้บริการ
                   ิ                         ่         ิ
การศึกษาและยกระดับบุคลากรของพระศาสนาและบุคลากรทางสังคม ปจจุบนมหาวิทยาลัย ั ั
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพระราชบัญญัตรบรองสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ใน
                                                 ิั
กํ า กับของรัฐบาล และเป็ น นิ ติบุค คลทีไม่เป็ น ส่วนราชการและไม่เป็ น รัฐวิสาหกิจ เน้ น จัด
การศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนา
            ๒. มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย(ธรรมยุตนิกาย) ตังอยูทวัดบวรนิเวศวิหาร
                                                          ิ            ่ ี
บางลําพู กรุงเทพมหานคร นอกจากนันยังมีวทยาเขตตังกระจายอยู่ในภูมภาคต่างๆ ของ
                                                  ิ                         ิ
ประเทศ

          พันธกิ จของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีดงนีั
              ๑. ผลิ ตบัณฑิ ต ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙
                                                         ี
                                ่ ู้ ่ ิ                    ั
ประการ คือ มีปฏิปทาน่าเลือมใส ใฝรใฝคด เป็นผูนําด้านจิตใจและปญญา มีความสามารถใน
                                            ้
       ั
การแก้ปญหา มีศรัทธาอุทศตนเพือพระพุทธศาสนา รูจกเสียสละเพือส่วนรวม รูเท่าทันความ
                       ิ                        ้ั                  ้
เปลียนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์ กว้างไกล มีศกยภาพทีจะพัฒนาตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วย
                                          ั
คุณธรรมและจริยธรรม

*
    พธ.บ.(ปรัชญา), รป.ม.(นโยบายสาธารณะ) หัวหน้าสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆ์เลย



                                                                                                           1
๒. วิ จยและพัฒนา การวิจยและค้นคว้า เพือสร้างองค์ความรูควบคู่ไปกับ
                        ั                     ั                           ้
กระบวนการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ความรูในพระไตรปิฎก โดยวิธสหวิทยาการแล้ว
                                                    ้                ี
                                            ั
นํ า องค์ค วามรู้ทีค้นพบมาประยุก ต์ใ ช้แ ก้ปญหา ศีล ธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทัง
พัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนา
               ๓. ส่ ง เสริ ม พระพุท ธศาสนาและบริ ก ารวิ ช าการแก่ ส ัง คม ส่ง เสริม
พระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม ตามปณิธานการจัดตังมหาวิทยาลัย ด้วยการ
                                          ั
ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอือต่อการส่งเสริม สนับสนุ นกิจการคณะสงฆ์
สร้า งความรู้ ความเข้า ใจหลัก คํา สอนทางพระพุท ธศาสนา สร้า งจิตสํา นึ ก ด้า นคุ ณธรรม
จริยธรรมแก่ ประชาชน จัดประชุม สัม มนา และฝึ ก อบรม เพือพัฒนาพระภิก ษุ สงฆ์แ ละ
บุคลากรทางศาสนา ให้มศกยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่หลักคําสอน และเป็ นแกนหลักใน
                              ี ั
การพัฒนาจิตใจในวงกว้าง
             ๔. ทํานุบารุงศิ ลปวัฒนธรรม เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรูดานการ
                          ํ                                                   ้ ้
ทํานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม ให้เอือต่อการศึกษา เพือสร้างจิตสํานึกและความภาคภูมใจในความ
       ํ                                                                    ิ
                                  ิ ั
เป็นไทย สนับสนุ นให้มการนํ าภูมปญญาท้องถิน มาเป็ นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลย
                            ี
ภาพ

          บทบาทสํา คัญของมหาวิ ท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิ ทยาลัย ในการจัด
การศึกษาของพระภิกษุสงฆ์และสามเณรก็เพือผลิตพระบัณฑิตออกไปรับใช้พระศาสนา และ
ช่วยเหลือสังคม เมือเรียนกันจบหลักสูตรแล้วหากยังบวชอยู่ไปก็รบใช้ พระศาสนา หากลา
                                                           ั
สิกขาออกไปก็ไปรับใช้สงคม เป็ นประโยชน์ ต่อสังคม ในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย
                       ั
สงฆ์ทผ่านมาในอดีตไม่ได้รบการสนับสนุ นจากภาครัฐ งบประมาณไม่เพียงพอต้องช่วยเหลือ
      ี                  ั
             ั ั
ตัวเอง แต่ปจจุบนพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ซึงกําหนดไว้ว่ารัฐต้อง
                               ิ
สนับสนุ นงบประมาณ บทบาททีสําคัญของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ใน
บทความนีผูเ้ ขียน จะยกเอาบทบาทการจัดการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรทีโดดเด่นแตกต่าง
จากมหาวิทยาลัยทัวไป ดังนี

        บทบาทในการผลิ ตและพัฒนาบัณฑิ ต เพือยกระดับการศึกษาแก่พระสังฆาธิ
                       ้              ้               ั
การ(พระภิกษุสงฆ์ระดับผูปกครอง) เป็ นผูนําด้านจิตใจและปญญา มีความสามารถในการ
     ั
แก้ปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพือพระพุทธศาสนา รูจกเสียสละเพือส่วนรวม รูเท่า ทันความ
                                                ้ั                  ้
เปลียนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์กว้างไกล การศึกษาของพระภิกษุสงฆ์จงเป็ นเรืองทีสําคัญ
                                                              ึ
มาก ซึงมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้เล็งเห็นความสําคัญและความจําเป็ นที


                                                                                        2
จะต้อ งพัฒ นาการศึก ษาของคณะสงฆ์ และเพือสนองนโยบายของรัฐ บาลทีเน้ น คนคือ
เป้าหมายในการพัฒนา เพือสนับสนุ นให้พระภิกษุสงฆ์สามเณรได้รบการศึกษาในด้านต่างๆ
                                                             ั
เพือสร้างเสริมความเข้มแข็งในชุมชน ในด้านต่างๆ ได้แก่
           ๑. การบริ หารจัด การวัด พระภิก ษุ สงฆ์จะต้องบริห ารจัดการวัด โดยให้ก่ อ
ประโยชน์ สูงสุดแก่สงคมตามอุดมการณ์ทางพระพุทธศาสนา โดยความร่วมมือกัน ระหว่า ง
                   ั
พระภิกษุสงฆ์ก ับชุม ชน เป็ น ต้น โดยความตระหนักในการเป็ นผูนํ าในชุมชนทังผูนํา ทีเป็ น
                                                           ้                ้
ทางการและไม่เป็นทางการ การจัดกิจกรรมการเรียนรูขนในชุมชน รวมทังความสามารถใน
                                                  ้ ึ
การประสานและเชือมโยงกับองค์กรหรือชุมชนภายนอก และการทําความเข้าใจในปญหาของ ั
ชุมชน การขอรับความร่วมมือ และการสนับสนุ นจากองค์กรภายนอก

           ๒ . การทํา วัด ให้ เ ป็ นส่ ว นหนึ งของชุมชนและส่ งเสริ ม ความเข้ ม แข็งของ
ชุมชน ความสําคัญสูงสุดของวัด คือ การเป็ นส่วนหนึงของชุมชนและส่งเสริมความเข้มแข็ง
ของชุม ชน เพราะถ้า เป็ น ดังนี ก็เท่ า กับวัดเป็ น ส่วนหนึ งของโครงสร้า งสังคมทีเข้ม แข็ง ซึง
ความสําคัญทีสุดต่อการบังเกิดขึนของศีลธรรมในสังคมดังกล่าวแล้ว พระภิกษุสงฆ์จะต้องเป็ น
ผูนําชุมชนด้วยการปรึกษาหารือ การสังสอนและทีสําคัญก็คอสังสอนให้ประชาชนเรียนรูจาก
  ้                                                           ื                          ้
               ั              ั
การวิเคราะห์ปญหา วินิจฉัยปญหา วิเคราะห์ทางเลือกและตัดสินใจเลือกทางเลือกทีถูกต้อง
ซึงการส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็งนันจะต้องอาศัยสมาชิกในชุมชน เช่น พระ ครู ผูนําชาวบ้าน
                                                                                 ้
หมออนามัย เกษตรตําบล พัฒนาการตําบล เป็นต้น ร่วมมือกันสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
                                   ั
ซึงเมือชุม ชนเข้ม แข็งก็ย่อมแก้ปญหาเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิงแวดล้อม และ
การเมืองพร้อมกันไป

             ๓. วัดกับการจัดการศึกษา การศึกษาโดยทัวไปของไทยยังไม่เป็ นการศึกษาที
                               ั
ผลิตคนทีมีความเข้มแข็งทางปญญาและทางศีลธรรม โดยมีกระบวนการเรียนรูทีให้ความสุข
                                                                       ้
กับผูเ้ รียน การศึกษากําลังรอการปฏิรปให้เกิดการะบวนการเรียนรูทพัฒนาคนให้เต็มศักยภาพ
                                    ู                        ้ ี
ของความเป็นมนุ ษย์ วัดบางวัดทีมีความพร้อมโดยมีพระภิกษุสงฆ์ทสนใจและมีความสามารถ
                                                                 ี
ควรจะจัดให้มโรงเรียน โดยพยายามคิดหลักสูตรทีดีทสุดควรเป็ นอย่างไร แสวงหาคําตอบต่อ
               ี                                  ี
คําถามนี ปรับปรุงให้ดขนๆ อย่างต่อเนือง วัดก็สามารถทําประโยชน์ทสําคัญต่อสังคมอย่างยิง
                       ี ึ                                         ี

           ๔. พระภิ กษุสงฆ์กบการแก้ไขความขัดแย้งด้ วยสันติ วิธี ขณะนีความรุนแรง
                            ั
           ั
กําลังเป็นปญหาใหญ่ทวโลก พระภิกษุสงฆ์ควรศึกษาให้เข้าใจถึงความหมายของความรุนแรง
                     ั
ขอบเขต ประเภท สาเหตุ วิธการป้องกันและแก้ไข จะแก้ไขด้วยวิธใดทีได้ผลและจะพัฒนาวิธี
                         ี                                ี


                                                                                                3
ป้องกันและแก้ไขปญหาให้ดขนได้อย่างไร เป็ นต้น ดังนันพระภิกษุสงฆ์จะต้อง “การจัดการ
                    ั      ี ึ
การแก้ความขัดแย้ง” ทีจะเป็นผูเ้ ข้าไปช่วยไกล่เกลียเข้าใจสถานการณ์ตามทีเป็นจริง เข้าไปอยู่
ในใจและเข้า ใจความรู้สึก และความคิดของแต่ล ะฝ่า ย สามารถชัก จูงให้ม ีก ารเจรจากัน ได้
เหล่า นี ต้องการความรู้และต้องการการฝึ ก อบรมให้มค วามชํานาญ จึงจะสามารถแก้ความ
                                                      ี
ขัดแย้งด้วนสันติวธได้
                 ิี

                             ั                            ิ                ั
             ๕. วัดกับการอนุรกษ์สิงแวดล้อม วิกฤติการณ์สงแวดล้อมกําลังเป็นปญหาใหญ่
ทีสุดต่อความอยูรอดของมนุ ษยชาติ กระแสอนุ รกษ์สงแวดล้อมเป็นกระแสใหญ่ของโลกและจะ
                 ่                          ั ิ
ใหญ่มากขึน จะใหญ่จนดึงปรัชญา ศาสนา วิท ยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุ ษยศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเข้ามาเชือมโยง จึง
หลีกเลียงไม่พนทีศาสนาจะต้องเกียวข้องกับเรืองนี ทีดีทีสุดคือพระภิกษุสงฆ์พยายามศึกษา
               ้
                          ั
ให้เข้าใจเรืองสิงแวดล้อม ปญหาสิงแวดล้อมและวิธแก้ไข และในด้านปฏิบตทีใกล้ตวทีสุดคือ
                                               ี                    ั ิ      ั
ภายในบริเวณวัดต้องมีสงแวดล้อมทีสงบ สะอาด ร่มเย็น เป็นต้น นอกจากนีพระภิกษุสงฆ์และ
                        ิ
วัดยังอาจหนุ นช่วยขบวนการอนุ รกษ์สงแวดล้อม ทีกําลังมีกิจกรรมต่างๆ ในทางทีเหมาะสม
                               ั ิ
แก่สมณสารูป

           ๖. การบริ หารจัด การวัด พระภิก ษุสงฆ์จะต้องบริห ารจัดการวัด โดยให้ก่ อ
ประโยชน์ สูงสุดแก่สงคมตามอุดมการณ์ ท างพระพุท ธศาสนาโดยความร่วมมือกัน ระหว่า ง
                   ั
พระภิกษุสงฆ์กบชุมชน เป็นต้น
              ั

             ในการจัดการศึกษาคณะสงฆ์จาเป็ นต้องปฏิรูป ๒ ด้าน คือ (๒) ด้านศาสนธรรม
                                         ํ
และ (๒) โครงสร้างการบริหารกิจการของคณะสงฆ์ ทัง ๒ ส่วนนีเกียวเนืองสัมพันธ์กนและ    ั
แยกกันไม่ได้
             การประกาศธรรมของพระพุทธเจ้ามีจุดมุ่งหมายเพือดับทุกข์ พระภิกษุสงฆ์อาจ
ขยายความหมายของคําว่า “ทุกข์” นี ให้ครอบคลุมความทุกข์ระดับสังคม ความทุกข์ของ
  ั
ปจเจกบุคคลก็รวมอยูในทุกข์ของสังคมทีว่านี พระภิกษุสงฆ์มหน้าทีประกาศธรรม และธรรม
                      ่                                     ี
ทีประกาศก็จะต้องสามารถตอบสนองต่อความทุกข์ยากของสังคม การปฏิรูปศาสนธรรมจึง
เป็นสิงทีหลีกเลียงไม่ได้เมือพระภิกษุสงฆ์จําเป็ นต้องเชือมโยงตัวเองกับสังคมสมัยใหม่ พุทธ
ธรรมจึงมีสถานะเป็นเพียง “เครืองมือ” ขณะเดียวกัน เมือมองในแง่ทีเป็ นสิงจะต้อง “ค้นหา”
พุทธธรรมหรือศาสนธรรม ก็มสถานะเป็นเป้าหมายของการดําเนินชีวตของพระภิกษุสงฆ์ผูซึง
                                ี                                 ิ                  ้
จะทํ า ให้พุ ท ธธรรมเป็ น ส่ ว นหนึ งของประสบการณ์ ทีบรรลุ ไ ด้ใ นโลกของความเป็ น จริง


                                                                                            4
พระภิกษุสงฆ์จงมีหน้าทีอยูสองประการ คือ “ค้นหาความจริง” และ “การนํ าความจริงนันไป
               ึ          ่
ตอบสนองความต้องการของคนจํานวนมาก”
            ในแง่ทว่าพระภิกษุสงฆ์จาต้องดํารงอยูเพือการบรรลุความจริงทางศาสนา ก็จดว่า
                   ี              ํ            ่                                 ั
พระภิกษุสงฆ์ดารงอยูเพือตัวเอง มองในแง่ทมีภารกิจเพือผูทุกข์ยากในสังสารวัฏ พระภิกษุ
                 ํ   ่                     ี            ้
สงฆ์กเป็น “มรรควิธ”ี หรือ means เพือสิงอืนทีไม่ใช่ตวพระภิกษุสงฆ์เอง การทีพระภิกษุสงฆ์
      ็                                            ั
ต้อ งค้น หา “สัจธรรม” และนํ า “ศาสนธรรม” ไปเผยแผ่แ ก่ ค นอืนๆ นี เอง การปฏิรูป
พระพุทธศาสนาจึงเกียวเนืองกับสองเรืองคือ
                                                     ั
            ๑. การสร้างระบบความรูทสามารถนําไปแก้ปญหาได้จริงในสังคม
                                    ้ ี
            ๒. การสร้างระบบทีเอือต่อการค้นคว้าหาความรู้ และการเผยแผ่ศาสนธรรม

           ๑. การสร้างระบบความรู้ทีสามารถนําไปแก้ปัญหาได้จริงในสังคม
            การสร้า งระบบความรู้เป็ น สิงจํา เป็ น เพราะความรู้ท างศาสนาของชาวพุท ธที
เกิดขึนตามลําดับกาลเวลานันมีมาก นับแต่สมัยพระพุทธเจ้าเป็ นต้นมาระบบความรูก็แตก       ้
หน่อขยายออกไปเป็ นจํานวนมาก เมือคณะสงฆ์ตองเกียวข้องกับสังคมหนึง ๆ ณ เวลาใด
                                                    ้
เวลาหนึงจึงจําเป็นต้องรูวาความรูใดบ้าง เป็นสิงจําเป็นสําหรับสังคมนัน ๆ ในขณะนัน ๆ การ
                          ้่        ้
ทําความเข้าใจระบบความรูเ้ ดิม การค้นคว้าแสวงหาในระดับประสบการณ์จริง หรือการค้นคว้า
เพิมเติมด้วยวิธการใด ๆ การจัดระบบความรูทีมีอยู่ให้เหมาะแก่กาลสมัยจึงเป็ นสิงทีต้องทํา
                  ี                               ้
พระพุทธเจ้าเคยตรัสแก่ภกษุว่า ความรูทีพระองค์ตรัสรูนันมีมากดุจใบไม้ในป่า ส่วนความรู้
                              ิ           ้               ้
หรือสัจจธรรมทีพระองค์เผยแสดงแก่ ภิก ษุ แ ละคนทัวไปนั นดุจใบไม้ใ นกํ า มือ แม้ค วามรู้ม ี
มากมายแต่ม ีบางส่วนเท่ า นั นทีจํา เป็ น สํา หรับการดับทุ ก ข์ ข้อนี นอกจากสะท้อนท่ า ทีของ
พระพุทธศาสนาต่อความรูตาง ๆ ทีมีอยูในโลกนีแล้วยังแสดง “จารีต” บางประการทีน่ าจะทํา
                             ้ ่        ่
              ั ั
ให้ชาวพุทธปจจุบนได้ตระหนักว่า ในการเผยแพร่ความรูนันนอกจากต้องมีความรูกว้างขวาง
                                                        ้                       ้
แล้วยังต้องรูอกว่าอะไรคือความรูทจําเป็นหรือเหมาะสมสําหรับยุคสมัย
             ้ี                    ้ ี
            การสร้างระบบความรูนันน่าจะประกอบด้วยสองส่วนหลัก ๆ คือ ความรูระดับสัจ
                                      ้                                           ้
ธรรมหรืออภิปรัชญา กับความรูระดับจริยธรรม หรือจริยศาสตร์ ความรูสองส่วนนีอิงอาศัยกัน
                                 ้                                       ้
อย่างไม่สามารถจะแยกออกจากกันได้ ความรูระดับสัจธรรมหรืออภิปรัชญาจะสูญเปล่าหากไม่
                                                ้
สามารถชีแสดงให้เห็นว่ามันเกียวข้องกับชีวตมนุ ษย์อย่างไร ความรูทางจริยธรรมหรือจริย
                                              ิ                        ้
ศาสตร์จะมีไ ม่ม ีนํ าหนั ก หากไม่ม ีฐานทางอภิปรัชญาทีมันคง ชาวพุท ธมัก รังเกียจปรัชญา
                                                                           ั
โดยเฉพาะอภิปรัชญา ด้วยเข้า ใจว่า พระพุท ธเจ้า ทรงไม่สนพระทัยปญหาอภิปรัชญา ใน
ความคิดของผูเขียน ทุกศาสนามีหลักอภิปรัชญารองรับหลักจริยศาสตร์ดวยกันทังนัน และ
                ้                                                            ้




                                                                                              5
พระพุทธศาสนาก็จํา เป็ น ต้องมีอภิปรัชญาเพือว่า ระบบศีล ธรรมหรือจริยศาสตร์จะได้มฐาน   ี
มันคงชัดเจน
         การสร้างระบบความรูทครอบคลุมกระบวนทัศน์หลัก ๆ จําเป็ นสําหรับการดํารงอยู่ใน
                            ้ ี
โลกสมัยใหม่ ถ้ายังไม่สามารถหา “ระบบความรู”้ หรือ “สร้างระบบความหมายทีเหมาะสม” กับ
ยุคสมัยได้แล้ว การหลุดออกไปจากศาสนธรรมของชาวพุทธทีมีการศึกษาสูง ๆ จะมีมากขึน
ความสํ า คัญ ของสถาบัน สงฆ์ ก็ นั บ วัน จะด้ อ ยความสํ า คัญ ดัง นั น ภาระหน้ า ที ของ
พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะคณะสงฆ์ผูซึงจะมีพลังมากทีสุดในการขับเคลือนขบวนการปฏิรูป
                                       ้
ทุก ๆ ด้าน คือการทบทวนระบบความรูทมีอยูทงหมด การตระหนักถึงความสําคัญในการสร้าง
                                           ้ ี ่ ั
ระบบความรู้ทีเหมาะสมขึนมาใหม่ พร้อม กัน นัน พระภิก ษุ สงฆ์ตองสร้า งระบบทีจะทํ า ให้
                                                                 ้
ความรูโดยรวมมีเอกภาพ ไม่ขดแย้งกันเองภายในระบบ อันจะเป็นประโยชน์ตอยุคสมัย
       ้                        ั                                       ่
         ในการสร้างระบบความรูด้านศาสนธรรมจํา เป็ น จะต้องมีเป้าหมายหรือยุท ธศาสตร์
                                  ้
ชัดเจน หลังการปฏิรปของพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสมา จนถึงสมัยปจจุบน
                      ู                                                           ั ั
พระพุทธศาสนาในประเทศไทยดําเนินไปอย่างตามมีตามเกิดไม่มยุทธศาสตร์ทชัดเจนเป็นของ
                                                               ี          ี
ตนเอง ยกเว้นยุทธศาสตร์ทกําหนดโดยรัฐบาล เช่นในสมัยภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ เป็นต้น
                          ี
การขาดเป้า หมายและยุท ธศาสตร์ทํ า ให้พระพุท ธศาสนาในประเทศไทยต่า งเป็ น ต่า งไป
ตัวอย่า งทีเห็น ได้ชดเจนเช่น วัดต่า ง ๆ ในชนบทขาดแคลนพระภิก ษุ ทีจะตอบสนองความ
                    ั
ต้องการทางจิตวิญญาณหรือความต้องการด้านศาสนธรรมของพุทธศาสนิ กชน บางแห่งมี
พระภิกษุเพียง ๖ พรรษาก็ได้รบแต่งตังเป็นเจ้าอาวาสแล้วและอยูประจําวัดนันเพียงเพราะไม่ม ี
                              ั                              ่
ใครจะอยู่ วัดหลายแห่งกลายเป็ นวัดร้า งและจะมากขึนเรือย ๆ โดยเฉพาะช่วงออกพรรษา
ขณะทีพระภิกษุสงฆ์ทีอายุพรรษามาก มีความรูความสามารถทีจะตอบสนองความต้องการ
                                                     ้
ด้านศาสนธรรมของชาวบ้านได้นัน กระจุกตัวอยูในเมืองใหญ่ ๆ
                                                   ่
         พระพุทธศาสนาในประเทศไทยยังต้องการความชัดเจนทังในแง่เป้าหมายและการ
กําหนดยุทธศาสตร์ของตนเอง การสร้างระบบความรูกเป็ นส่วนหนึงในยุทธศาสตร์ เพราะ
                                                       ้ ็
ด้วยความรู้เท่านันจึงจะสามารถฝ่าความมืดมนและกิเลสตัณหาทีดาษดืนอยู่ในสังคมนันได้
                                              ั ั
ความรู้ทีประกอบกันเป็ น ศาสนธรรมในปจจุบนจึงต้องมีทงส่วนทีเป็ นแก่ นและทีเป็ น เปลือก
                                                           ั
กระพี ส่วนหลังนีเองจะเป็ น เครืองมือให้สามารถนํ า ศาสนธรรมไปตอบสนองต่อปญหา         ั
สังคมยุคใหม่ได้ กล่าวอย่างหยาบๆ แก่นของศาสนธรรมในทีนีได้แก่ คําสอนทีบรรจุอยู่ใน
พระไตรปิฎก แต่แก่นทีว่านีจะต้องได้รบการตีความ อธิบายความ ขยายความให้ครอบคลุม
                                         ั
  ั
ปญหาของยุคสมัย มีการตรวจสอบอย่างถีถ้วน ก่อนจะเลือกสรรส่วนทีจําเป็ นนํ าเสนอต่อ
สังคม ดังนั น การค้น คว้าหาความรูแ ละการสร้า งระบบความรู้ในทีนี จึงเป็ น งานสํา คัญของ
                                     ้
นักวิชาการชาวพุทธ


                                                                                         6
๒. การสร้างระบบการบริหารกิ จการภายในคณะสงฆ์
           ถ้าเป้าหมายการดํารงอยู่ของพระภิกษุสงฆ์คอ การแสวงหาสัจธรรม การปฏิบติ
                                                      ื                          ั
เพือความหลุดพ้น และการนําศาสนธรรมไปเผยแผ่เพือประโยชน์สุขแก่ผอน ระบบการบริหาร
                                                                 ู้ ื
กิจการการปกครองภายในคณะสงฆ์กไม่ได้มอยูเพือทีจะดํารง “ความศักดิสิทธิ” ของ “สถาบัน”
                                    ็      ี ่
หากดํารงอยูเพือสิงอืน กล่าวคือ เพือเอือต่อการศึกษาค้นคว้าศาสนธรรม เพือสร้างสมาชิกที
           ่
สามารถนําศาสนธรรมไปประกาศแก่ชาวโลก หากเป็ นเช่นนี ระบบการปกครองใด ๆ หรือ
ระบบการบริหารกิจการใด ๆ ทีไม่เอือต่อเป้าหมายดังกล่าวก็จะต้องได้รบการจัดรูปใหม่ใ ห้
                                                                      ั
เหมาะสมสอดคล้องกับเป้าหมายของการมีอยูขององค์กรสงฆ์ เพราะรูปแบบการปกครอง การ
                                            ่
บริหารกิจการภายในคณะสงฆ์ทีเกิดขึนในแต่ละยุคสมัย เป็ นเพียง “สมมติสจจะ” ทีสามารถ
                                                                        ั
ปรับเปลียนได้เมือเห็นว่าไม่เอือต่อการค้นคว้า การปฏิบตธรรมและการเผยแผ่ศาสนธรรม อัน
                                                    ั ิ
เป็นพันธกิจหลักของศาสนา

            ระบบบริห ารคณะสงฆ์ ป จ จุ บ ัน สอดคล้ อ งต่อ เป้ า หมายการดํ า รงอยู่ ข องของ
                                       ั
พระภิกษุสงฆ์ในฐานะพุทธสาวกหรือไม่ ผูเ้ ขียนคิดว่า พระภิกษุสงฆ์สามารถจะค้นคิดเองได้
ด้วยศักยภาพและเวลาทีมีอยู่ ส่วนการจะปรับกิจการบริหารภายในคณะสงฆ์อย่างไรนันน่ าจะ
เป็นการค้นคว้าวิจยของคณะสงฆ์นันเอง บุคคลภายนอกเช่นรัฐไม่พงเข้ามาเกียวข้องกับการ
                  ั                                                   ึ
จัดรูปแบบการบริหารภายในของคณะสงฆ์ คณะสงฆ์ก็จะต้องสร้างคนของตนเองทีมีความรู้
ด้านการจัดการองค์กรสมัยใหม่เพือนํามาปรับใช้กบองค์กรสงฆ์ซงวางอยูบนฐานแห่งพระธรรม
                                                ั               ึ         ่
วินัย ภารกิจสําคัญของคณะสงฆ์คอภารกิจต่อพระพุทธศาสนา หากไม่นับภารกิจเพือความสุข
                                    ื
ของมหาชนทีกล่าวไปแล้วเป็นอันดับหนึง เมือเรียงลําดับความสําคัญแล้ว ภารกิจด้านการจัด
การศึกษาถือว่า เป็ นสิงแรกทีคณะสงฆ์จะต้องจัดการให้เหมาะสม ในฐานะทีการศึกษาส่วน
หนึงนันเป็น “รูปแบบ” ทีจะใช้เพือถ่ายทอดความรูจากรุ่นหนึงไปสู่รุ่นหนึง ในเรืองนี สมเด็จ
                                                  ้
พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยได้ท รงดําเนิ นการอย่า งมีประสิท ธิภาพ
วิธการทีพระองค์ทรงใช้น่าจะได้รบการศึกษาค้นคว้าในฐานะกรณีศกษาทีเคยประสบผลสําเร็จ
   ี                             ั                                ึ
มาแล้วในอดีต แต่ก ารเรียนรู้ในเรืองนี ก็จะต้องพิจารณาทังด้านบวกและด้า นลบ เพือเป็ น
                    ั ั
บทเรียนสํา หรับปจจุ บน ไม่ใ ช่เพือยึดมันถือมัน เพราะว่า ระบบการศึก ษาทีพระองค์ทํ า ให้
ประสบผลสํา เร็จไว้นั น บัดนี เป็ น เพียง “อุดมคติ” ทีน่ า จดจํา เท่ า นั น เนื องจากการศึก ษา
ดังกล่าวไม่ได้ทําให้พระภิกษุสงฆ์ในภูมภาคต่าง ๆ สามารถสร้างสรรค์ภูมปญญาด้านศาสน
                                         ิ                                     ิ ั
ธรรมได้เลย




                                                                                                7
ขณะทีพระภิกษุสงฆ์ในชนบทสามารถสร้างสรรค์ถาวรวัตถุทางศาสนาได้อย่างใหญ่โต
มโหฬารแทบไม่น่าเชือ การครุนคิดไตร่ตรองศาสนธรรมกลับไม่งอกเงย (ผูเขียนเข้าใจว่าอาจ
                             ่                                      ้
เป็นเพราะตัวชีวัดทีชุมชนต้องการคือผลงานทีเป็นรูปธรรม) การค้นคว้าทางศาสนธรรมด้าน
ปริยตตองอาศัยหนังสือทีเขียนไว้เมือหนึงร้อยปีทผ่านมา สํานักเรียนของพระภิกษุสงฆ์มอยูทว
    ั ิ ้                                     ี                                 ี ่ ั
ประเทศ แต่สานักเหล่านันเพียงแต่ถายทอดเรืองราวเก่าๆ แก่คนรุนใหม่ แต่ไม่ได้เปิ ดโอกาส
             ํ                    ่                             ่
ให้ความคิดใหม่ได้งอกขยาย ระบบการศึกษาดังแทนทีจะทําให้ผศกษาสามารถสร้างสรรค์ภูม ิ
                                                             ู้ ึ
  ั                                                                ิ ั
ปญญาได้เองในระดับหนึง แต่กลับกลายเป็นระบบการศึกษาทีแช่แข็งภูมปญญา (ข้อนีน่ าจะ
                                                                          ั ั
ถือเป็นความล้มเหลวอย่างยิงของระบบการศึกษาดังกล่าวเมือสืบทอดกันมาถึงปจจุบน) การ
จัดการศึกษาของคณะสงฆ์ทควรจะเป็ นนันนอกจากเป็ นการศึกษาเพือการถ่ายทอดความรูที
                           ี                                                         ้
เหมาะสมแล้ว ก็ค วรจะเป็ นการศึก ษาทีเปิ ดโอกาสให้บุค ลากรสงฆ์ได้ม ีก ารค้น คว้า มีก าร
                                          ู ิ ั
ถกเถียง (ธัมมัจฉากัจฉา) และการสร้างสรรค์ภมปญญาใหม่ ๆ ทีเป็นประโยชน์ ต่อพระศาสนา
เองด้วย

           ภารกิจอัน ดับต่อมาของคณะสงฆ์ค ือ ภารกิจด้านการจัดการปกครองคณะสงฆ์
การจัดการปกครองคณะสงฆ์ควรเป็นอย่างไรนันพระภิกษุสงฆ์น่าจะต้องคํานึงถึงประเด็นทีว่า
การปกครองคณะสงฆ์เป็ น เพียงเครืองมือทีจะให้บุค คลได้ม ีโอกาสเข้าถึงศาสนธรรม การ
ปกครองจะต้องเอือให้เกิดการศึกษาพระธรรมวินัย การเผยแผ่ศาสนธรรมต่อผูทุกข์ยากทางจิต
                                                                      ้
วิญญาณ การนําแสงสว่างแห่งศาสนธรรมไปเพือปลดปล่อยผูคนออกจากความทุกข์ยากของ
                                                        ้
ชีวต (ไม่ใช่เรืองของการได้มาซึงสมณศักดิ ความรุงเรืองด้านวัตถุสถาน หรือตอบสนองกิเลส
   ิ                                          ่
ตัณหา) หมายความว่า ระบบการปกครองมีขนก็เพือช่วยให้การถ่ายทอดความรูทางศาสนา
                                         ึ                               ้
การศึกษาศาสนธรรม และการเผยแผ่ศาสนาดําเนินไปได้ดวยดี อาจจะมองว่า การจัดการด้าน
                                                      ้
การปกครองเป็ น “การจัดสรรระบบอํานาจทีเหมาะสมภายในหมู่คณะ” และ “การจัดระบบ
ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนพระภิกษุสงฆ์กบฆราวาส” (อาณาจักรกับศาสนจักร) แต่ทงนีการ
                                      ั                                     ั
ปกครองก็ไม่น่าจะมีความหมายสําคัญในตัวเอง ภารกิจหลักด้านพระศาสนาของพระภิกษุสงฆ์
จะต้องดํารงอยูและได้รบการตระหนักอยูเสมอ
                ่    ั              ่

              ถ้าหากว่า การจัดการปกครองมีจุดมุ่งหมายเพือให้เอือต่อการศึกษาและปฏิบติ ั
ธรรม การปกครองทีว่า นี ย่อ มไม่ใ ช่เ พือตอบสนองอํา นาจรัฐ โดยนั ย นี ในกรณี ทีรัฐ อาจ
                                 ั
ดําเนินการในลักษณะทีเป็ นปฏิปกษ์ต่อศาสนธรรม (กรณีพฤษภาทมิฬ หรือกรณีทีผูยากไร้ ้
ได้รบการปฏิบตอย่างไม่ยุตธรรมจากรัฐ เป็นต้น) คณะสงฆ์กตองกล้าหาญทีจะตําหนิ วิพากษ์
      ั          ั ิ       ิ                          ็ ้
ชีนํ า (ไม่ใ ช่พอมีสถานการณ์ ม ากระทบสถานภาพของตนแล้วจึงออกมาเคลือนไหว) การ


                                                                                         8
บริหารกิจการคณะสงฆ์จงเป็ นไปเพือตอบสนองความสุขของมหาชน นันคือ ถือเป็ นภารกิจ
                      ึ
สําคัญทีคณะสงฆ์จะต้องนําแสงสว่างแห่งธรรมไปสู่จตวิญญาณของชาวบ้านเมือเขาทุกข์ยาก
                                              ิ
และมีความกระหาย

             การจัดรูปแบบการปกครองทีจะเอือต่อการเผยแผ่ศาสนธรรมนั นจําเป็ นจะต้อง
เรียนรูจากศาสนาอืนทีเขาได้พฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างดีแล้ว การจัดการของชาว
        ้                     ั
คริสต์โดยเฉพาะคาทอลิก คือ ตัวอย่างอันดีทีสร้างวัฒนธรรมอํานาจในการปกครองทีไม่ตอง     ้
อาศัยอํานาจรัฐในการจัดการ และไม่ตองใช้กําลังบังคับเหมือนในอดีต (ยุคกลาง) หากแต่ได้
                                     ้
สร้างวัฒนธรรมแห่งอํานาจขึนมาบนฐานแห่ง “ความภักดี” และสํานึกในการอยู่ร่วมกันอย่าง
เป็ นปึ กแผ่น ชาวพุทธอาจเรียนรูได้ว่า วัฒนธรรมแห่งอํานาจ ทีไม่ต้องใช้กําลังบังคับ แต่ใ ช้
                                ้
สํานึกแห่งการอยูรวมกันนันมีตวอย่างอยูแล้วในอดีตของชาวพุทธเอง
                 ่่         ั          ่

             คณะสงฆ์อาจระลึกถึงได้ว่า ครังหนึง พระอานนท์ได้ยกเหตุผลอันชอบธรรมเพือ
ขออนุ ญาตให้สตรีได้บวชในพระพุทธศาสนา เมือทรงเห็นว่าพระอานนท์มหลักการทีถูกต้อง
                                                                   ี
พระพุทธองค์กไม่ได้ขดข้องแต่ประการใด กรณีดงกล่าวนีอาจชีให้เห็นว่า อํานาจทีชอบธรรม
               ็     ั                        ั
นันย่อมอ่อนไหวต่อความถูกต้องเสมอ ไม่วาความถูกต้องจะมาจากเบืองล่างหรือเบืองบน และ
                                        ่
อีก ครังหนึ ง เมือการสังคายนาครังที ๑ เสร็จ สินลง พระอานนท์ ถูก คณะสงฆ์ใ นทีประชุ ม
กล่ าวโทษด้วยความผิด ๕ ประการ หนึ งในจํานวนนั นคือ การขวนขวายให้สตรีได้บวชใน
พระพุทธศาสนา พระอานนท์มองไม่เห็นว่าท่านมีความผิดใน ๕ กระทงนัน “แต่เพราะเชือฟง     ั
ต่อสงฆ์” พระอานนท์ยอมรับการปรับอาบัติ นีก็เป็ นตัวอย่างหนึงทีชีให้เห็นวัฒนธรรมแห่ ง
อํานาจ พระอานนท์ซึงแม้จะเป็ นพระอรหันต์ แต่ความเป็ นอรหันต์ไม่ได้ทําให้ท่านสําคัญตน
เหนือคณะสงฆ์ เหมือนดังทีพระภิกษุสงฆ์บางรูปกระทําอยูในสังคมไทย
                                                     ่

                                                           ั ั
            การปฏิรูปพระพุท ธศาสนาทีดํา เนิ นไปในขณะปจจุบน ถกเถียงกัน มากในเรือง
“สมมุ ติ” แต่เรืองทีเป็ น “แก่ น สาร” ไม่ไ ด้ร ับการวิพ ากษ์ ถกเถียงแม้แ ต่น้ อ ย การดํา รง
พระพุทธศาสนาในสังคมไทยมีภารกิจใหญ่ยงกว่าการถกเถียงกันเรืองอํานาจ อํานาจและศา
                                           ิ
สนธรรมอาจเป็ นสิงทีสามารถนํ ามาเชือมโยงกัน ได้ แต่ดูเหมือนในวงการคณะสงฆ์จะยังไม่
เข้า ใจชัดเจนนั ก ในเรืองของอํา นาจกับศาสนธรรม ดังนั น การถกเถียงในเชิงวิชาการเพือ
กําหนดอํานาจทีสอดคล้องกับศาสนธรรมในทีนีอาจมีนัยสําคัญอยูบางไม่มากก็น้อย
                                                               ่ ้




                                                                                              9
บทสรุป
        ในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย นอกจากจะเน้น
การศึกษาในด้านวิชาพระพุทธศาสนาแล้ว ยังเน้นการให้การศึกษาแก่พระสังฆาธิการในด้าน
ต่างๆ ทีกล่าวมาในเบืองต้น ในบทบาทของพระภิกษุสงฆ์ และเป็นบทบาทจริงในทางปฏิบตที     ั ิ
ถูกต้องตามพระธรรมวินัยพึงปฏิบตกน โดยเฉพาะใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ต้อง
                                 ั ิ ั
ปกครองโดยธรรม เป็ นธรรมาภิบาล ปกครองเพือเกือหนุ น ให้เกิดการศึกษา ทังทีพระภิก ษุ
สงฆ์กนเองสอน และสงเคราะห์กุลบุตร กุลธิดา เพือให้ได้รบการศึกษาทีถูกต้อง พร้อมทังวิชา
      ั                                             ั
ความรู้ จรณะ ความประพฤติ การศึกษาทีสร้างวิธคดทีเป็ นสัมมาทิฏฐิ การเรียนรูคู่ความสุข
                                              ี ิ                            ้
(Learning And Happiness) บทบาทด้านการเผยแผ่ งานเผยแผ่เป็นงานทีนําคําสอนขององค์
สมเด็จ พระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ออกเผยแผ่สู่ประชาชน เป็ น ภารกิจทีมีค วามสํา คัญ ในสมัย
พุทธกาลพระพุทธองค์ ใช้คาว่าไปประกาศพรหมจรรย์ ประกาศวิถชวตอย่างพรหม อันเป็ น
                          ํ                                  ี ีิ
ชีวตทีประเสริฐ นันหมายถึงพระภิกษุ สงฆ์ตองเป็ นแบบอย่างทีดีของการดํา เนินชีวิต สังคม
   ิ                                      ้
สงฆ์ สังคมแบบอย่างหรือสังคมต้นแบบของสังคมชุมชนเพือสร้างชุมชนทีเข้มแข็ง

หนังสืออ้างอิ ง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (๒๕๓๕). วินัยมุข เล่ม ๒, (หลักสูตร
         นักธรรมชันโท). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๓๙). การศึกษาเพืออารยธรรมทียังยืน. กรุงเทพ ฯ :
         บริษทสหธรรมิก จํากัด.
              ั
พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๔๒). การศึกษาทางเลือก : สูววฒน์หรือวิบตในยุคโลกไร้
                                                          ่ิั          ั ิ
         พรมแดน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.
ชาญณรงค์ บุญหนุ น. (๒๕๔๓). "การสังคายนาในมุมมองใหม่ หนทางสูการแก้ปญหาคณะ
                                                                  ่        ั
                    ั ั
         สงฆ์ไทยปจจุบน". มปท.
ชาย โพธิสตา. (๒๕๒๒). มหาวิทยาลัยสงฆ์ในสังคมไทย การศึกษาบทบาทของมหาจุฬาลง
            ิ
         กรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย์.
ทวีวฒน์ ปุณฑริกวิวฒน์. (๒๕๔๑). "พุทธทาสภิกขุในบริบทของสังคมไทย" พุทธสาสนา ๖๖
      ั              ั
         (พฤษภาคม-กรกฎาคม ๒๕๔๑) : หน้า ๑๐๕-๑๒๕.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (๒๕๓๖). "อนาคตขององค์กรสงฆ์"ใน นิธิ เอียวศรีวงศ์ และคณะ, มอง
                                 ิ ู ิ ั
         อนาคต. กรุงเทพฯ : มูลนิธภมปญญา, หน้า ๑๑๔-๑๕๑.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (๒๕๔๔). ปฏิรปการศึกษา พระพุทธศาสนาจะไปอยูไหน ?.
                                            ู                                ่
         กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.


                                                                                        10
พระไพศาล วิสาโล. (๒๕๔๒). พระธรรมปิฎกกับอนาคตของพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ :
     ธรรมสาร.




                                                                       11

More Related Content

What's hot

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Ch Khankluay
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธauei angkana
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาThongsawan Seeha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socPrachoom Rangkasikorn
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 

What's hot (19)

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 

Viewers also liked

เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยpentanino
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 

Viewers also liked (6)

เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลย
 
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Isระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 

Similar to บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 

Similar to บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง (20)

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง

  • 1. บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ............................. พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต/รัตนพันธ์ * มหาวิ ทยาลัยสงฆ์ เป็ นการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และระดับสูงกว่า ั ั อุดมศึกษาสําหรับพระภิก ษุสงฆ์แ ละสามเณร (ปจจุบน รับประชาชนทัวไปเข้า ศึก ษาด้วย) การศึกษาวิชาการพระพุทธศาสนาและวิชาการขันสูงอืนๆ แบ่งเป็ นคณะต่างๆ ได้แก่ คณะ พุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ เป็ น ต้น ปจจุบน ั ั มหาวิทยาลัยสงฆ์ มี ๒ แห่ง คือ ๑. มหาวิท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิท ยาลัย (ฝ่า ยมหานิ ก าย) ตังอยู่ที ั ั วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร ปจจุบนย้ายไปอยู่ทีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย อํา เภอวังน้อย จังหวัดอยุธยา นอกจากนันยังมีวท ยาเขต วิท ยาลัยสงฆ์ ิ ห้องเรียน และศูนย์วทยบริการ ตังกระจายอยูตามภูมภาคต่างๆ ของประเทศ เพือให้บริการ ิ ่ ิ การศึกษาและยกระดับบุคลากรของพระศาสนาและบุคลากรทางสังคม ปจจุบนมหาวิทยาลัย ั ั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพระราชบัญญัตรบรองสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ใน ิั กํ า กับของรัฐบาล และเป็ น นิ ติบุค คลทีไม่เป็ น ส่วนราชการและไม่เป็ น รัฐวิสาหกิจ เน้ น จัด การศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนา ๒. มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย(ธรรมยุตนิกาย) ตังอยูทวัดบวรนิเวศวิหาร ิ ่ ี บางลําพู กรุงเทพมหานคร นอกจากนันยังมีวทยาเขตตังกระจายอยู่ในภูมภาคต่างๆ ของ ิ ิ ประเทศ พันธกิ จของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีดงนีั ๑. ผลิ ตบัณฑิ ต ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ี ่ ู้ ่ ิ ั ประการ คือ มีปฏิปทาน่าเลือมใส ใฝรใฝคด เป็นผูนําด้านจิตใจและปญญา มีความสามารถใน ้ ั การแก้ปญหา มีศรัทธาอุทศตนเพือพระพุทธศาสนา รูจกเสียสละเพือส่วนรวม รูเท่าทันความ ิ ้ั ้ เปลียนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์ กว้างไกล มีศกยภาพทีจะพัฒนาตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วย ั คุณธรรมและจริยธรรม * พธ.บ.(ปรัชญา), รป.ม.(นโยบายสาธารณะ) หัวหน้าสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย 1
  • 2. ๒. วิ จยและพัฒนา การวิจยและค้นคว้า เพือสร้างองค์ความรูควบคู่ไปกับ ั ั ้ กระบวนการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ความรูในพระไตรปิฎก โดยวิธสหวิทยาการแล้ว ้ ี ั นํ า องค์ค วามรู้ทีค้นพบมาประยุก ต์ใ ช้แ ก้ปญหา ศีล ธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทัง พัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนา ๓. ส่ ง เสริ ม พระพุท ธศาสนาและบริ ก ารวิ ช าการแก่ ส ัง คม ส่ง เสริม พระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม ตามปณิธานการจัดตังมหาวิทยาลัย ด้วยการ ั ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอือต่อการส่งเสริม สนับสนุ นกิจการคณะสงฆ์ สร้า งความรู้ ความเข้า ใจหลัก คํา สอนทางพระพุท ธศาสนา สร้า งจิตสํา นึ ก ด้า นคุ ณธรรม จริยธรรมแก่ ประชาชน จัดประชุม สัม มนา และฝึ ก อบรม เพือพัฒนาพระภิก ษุ สงฆ์แ ละ บุคลากรทางศาสนา ให้มศกยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่หลักคําสอน และเป็ นแกนหลักใน ี ั การพัฒนาจิตใจในวงกว้าง ๔. ทํานุบารุงศิ ลปวัฒนธรรม เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรูดานการ ํ ้ ้ ทํานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม ให้เอือต่อการศึกษา เพือสร้างจิตสํานึกและความภาคภูมใจในความ ํ ิ ิ ั เป็นไทย สนับสนุ นให้มการนํ าภูมปญญาท้องถิน มาเป็ นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลย ี ภาพ บทบาทสํา คัญของมหาวิ ท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิ ทยาลัย ในการจัด การศึกษาของพระภิกษุสงฆ์และสามเณรก็เพือผลิตพระบัณฑิตออกไปรับใช้พระศาสนา และ ช่วยเหลือสังคม เมือเรียนกันจบหลักสูตรแล้วหากยังบวชอยู่ไปก็รบใช้ พระศาสนา หากลา ั สิกขาออกไปก็ไปรับใช้สงคม เป็ นประโยชน์ ต่อสังคม ในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย ั สงฆ์ทผ่านมาในอดีตไม่ได้รบการสนับสนุ นจากภาครัฐ งบประมาณไม่เพียงพอต้องช่วยเหลือ ี ั ั ั ตัวเอง แต่ปจจุบนพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ซึงกําหนดไว้ว่ารัฐต้อง ิ สนับสนุ นงบประมาณ บทบาททีสําคัญของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ใน บทความนีผูเ้ ขียน จะยกเอาบทบาทการจัดการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรทีโดดเด่นแตกต่าง จากมหาวิทยาลัยทัวไป ดังนี บทบาทในการผลิ ตและพัฒนาบัณฑิ ต เพือยกระดับการศึกษาแก่พระสังฆาธิ ้ ้ ั การ(พระภิกษุสงฆ์ระดับผูปกครอง) เป็ นผูนําด้านจิตใจและปญญา มีความสามารถในการ ั แก้ปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพือพระพุทธศาสนา รูจกเสียสละเพือส่วนรวม รูเท่า ทันความ ้ั ้ เปลียนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์กว้างไกล การศึกษาของพระภิกษุสงฆ์จงเป็ นเรืองทีสําคัญ ึ มาก ซึงมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้เล็งเห็นความสําคัญและความจําเป็ นที 2
  • 3. จะต้อ งพัฒ นาการศึก ษาของคณะสงฆ์ และเพือสนองนโยบายของรัฐ บาลทีเน้ น คนคือ เป้าหมายในการพัฒนา เพือสนับสนุ นให้พระภิกษุสงฆ์สามเณรได้รบการศึกษาในด้านต่างๆ ั เพือสร้างเสริมความเข้มแข็งในชุมชน ในด้านต่างๆ ได้แก่ ๑. การบริ หารจัด การวัด พระภิก ษุ สงฆ์จะต้องบริห ารจัดการวัด โดยให้ก่ อ ประโยชน์ สูงสุดแก่สงคมตามอุดมการณ์ทางพระพุทธศาสนา โดยความร่วมมือกัน ระหว่า ง ั พระภิกษุสงฆ์ก ับชุม ชน เป็ น ต้น โดยความตระหนักในการเป็ นผูนํ าในชุมชนทังผูนํา ทีเป็ น ้ ้ ทางการและไม่เป็นทางการ การจัดกิจกรรมการเรียนรูขนในชุมชน รวมทังความสามารถใน ้ ึ การประสานและเชือมโยงกับองค์กรหรือชุมชนภายนอก และการทําความเข้าใจในปญหาของ ั ชุมชน การขอรับความร่วมมือ และการสนับสนุ นจากองค์กรภายนอก ๒ . การทํา วัด ให้ เ ป็ นส่ ว นหนึ งของชุมชนและส่ งเสริ ม ความเข้ ม แข็งของ ชุมชน ความสําคัญสูงสุดของวัด คือ การเป็ นส่วนหนึงของชุมชนและส่งเสริมความเข้มแข็ง ของชุม ชน เพราะถ้า เป็ น ดังนี ก็เท่ า กับวัดเป็ น ส่วนหนึ งของโครงสร้า งสังคมทีเข้ม แข็ง ซึง ความสําคัญทีสุดต่อการบังเกิดขึนของศีลธรรมในสังคมดังกล่าวแล้ว พระภิกษุสงฆ์จะต้องเป็ น ผูนําชุมชนด้วยการปรึกษาหารือ การสังสอนและทีสําคัญก็คอสังสอนให้ประชาชนเรียนรูจาก ้ ื ้ ั ั การวิเคราะห์ปญหา วินิจฉัยปญหา วิเคราะห์ทางเลือกและตัดสินใจเลือกทางเลือกทีถูกต้อง ซึงการส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็งนันจะต้องอาศัยสมาชิกในชุมชน เช่น พระ ครู ผูนําชาวบ้าน ้ หมออนามัย เกษตรตําบล พัฒนาการตําบล เป็นต้น ร่วมมือกันสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ั ซึงเมือชุม ชนเข้ม แข็งก็ย่อมแก้ปญหาเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิงแวดล้อม และ การเมืองพร้อมกันไป ๓. วัดกับการจัดการศึกษา การศึกษาโดยทัวไปของไทยยังไม่เป็ นการศึกษาที ั ผลิตคนทีมีความเข้มแข็งทางปญญาและทางศีลธรรม โดยมีกระบวนการเรียนรูทีให้ความสุข ้ กับผูเ้ รียน การศึกษากําลังรอการปฏิรปให้เกิดการะบวนการเรียนรูทพัฒนาคนให้เต็มศักยภาพ ู ้ ี ของความเป็นมนุ ษย์ วัดบางวัดทีมีความพร้อมโดยมีพระภิกษุสงฆ์ทสนใจและมีความสามารถ ี ควรจะจัดให้มโรงเรียน โดยพยายามคิดหลักสูตรทีดีทสุดควรเป็ นอย่างไร แสวงหาคําตอบต่อ ี ี คําถามนี ปรับปรุงให้ดขนๆ อย่างต่อเนือง วัดก็สามารถทําประโยชน์ทสําคัญต่อสังคมอย่างยิง ี ึ ี ๔. พระภิ กษุสงฆ์กบการแก้ไขความขัดแย้งด้ วยสันติ วิธี ขณะนีความรุนแรง ั ั กําลังเป็นปญหาใหญ่ทวโลก พระภิกษุสงฆ์ควรศึกษาให้เข้าใจถึงความหมายของความรุนแรง ั ขอบเขต ประเภท สาเหตุ วิธการป้องกันและแก้ไข จะแก้ไขด้วยวิธใดทีได้ผลและจะพัฒนาวิธี ี ี 3
  • 4. ป้องกันและแก้ไขปญหาให้ดขนได้อย่างไร เป็ นต้น ดังนันพระภิกษุสงฆ์จะต้อง “การจัดการ ั ี ึ การแก้ความขัดแย้ง” ทีจะเป็นผูเ้ ข้าไปช่วยไกล่เกลียเข้าใจสถานการณ์ตามทีเป็นจริง เข้าไปอยู่ ในใจและเข้า ใจความรู้สึก และความคิดของแต่ล ะฝ่า ย สามารถชัก จูงให้ม ีก ารเจรจากัน ได้ เหล่า นี ต้องการความรู้และต้องการการฝึ ก อบรมให้มค วามชํานาญ จึงจะสามารถแก้ความ ี ขัดแย้งด้วนสันติวธได้ ิี ั ิ ั ๕. วัดกับการอนุรกษ์สิงแวดล้อม วิกฤติการณ์สงแวดล้อมกําลังเป็นปญหาใหญ่ ทีสุดต่อความอยูรอดของมนุ ษยชาติ กระแสอนุ รกษ์สงแวดล้อมเป็นกระแสใหญ่ของโลกและจะ ่ ั ิ ใหญ่มากขึน จะใหญ่จนดึงปรัชญา ศาสนา วิท ยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุ ษยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเข้ามาเชือมโยง จึง หลีกเลียงไม่พนทีศาสนาจะต้องเกียวข้องกับเรืองนี ทีดีทีสุดคือพระภิกษุสงฆ์พยายามศึกษา ้ ั ให้เข้าใจเรืองสิงแวดล้อม ปญหาสิงแวดล้อมและวิธแก้ไข และในด้านปฏิบตทีใกล้ตวทีสุดคือ ี ั ิ ั ภายในบริเวณวัดต้องมีสงแวดล้อมทีสงบ สะอาด ร่มเย็น เป็นต้น นอกจากนีพระภิกษุสงฆ์และ ิ วัดยังอาจหนุ นช่วยขบวนการอนุ รกษ์สงแวดล้อม ทีกําลังมีกิจกรรมต่างๆ ในทางทีเหมาะสม ั ิ แก่สมณสารูป ๖. การบริ หารจัด การวัด พระภิก ษุสงฆ์จะต้องบริห ารจัดการวัด โดยให้ก่ อ ประโยชน์ สูงสุดแก่สงคมตามอุดมการณ์ ท างพระพุท ธศาสนาโดยความร่วมมือกัน ระหว่า ง ั พระภิกษุสงฆ์กบชุมชน เป็นต้น ั ในการจัดการศึกษาคณะสงฆ์จาเป็ นต้องปฏิรูป ๒ ด้าน คือ (๒) ด้านศาสนธรรม ํ และ (๒) โครงสร้างการบริหารกิจการของคณะสงฆ์ ทัง ๒ ส่วนนีเกียวเนืองสัมพันธ์กนและ ั แยกกันไม่ได้ การประกาศธรรมของพระพุทธเจ้ามีจุดมุ่งหมายเพือดับทุกข์ พระภิกษุสงฆ์อาจ ขยายความหมายของคําว่า “ทุกข์” นี ให้ครอบคลุมความทุกข์ระดับสังคม ความทุกข์ของ ั ปจเจกบุคคลก็รวมอยูในทุกข์ของสังคมทีว่านี พระภิกษุสงฆ์มหน้าทีประกาศธรรม และธรรม ่ ี ทีประกาศก็จะต้องสามารถตอบสนองต่อความทุกข์ยากของสังคม การปฏิรูปศาสนธรรมจึง เป็นสิงทีหลีกเลียงไม่ได้เมือพระภิกษุสงฆ์จําเป็ นต้องเชือมโยงตัวเองกับสังคมสมัยใหม่ พุทธ ธรรมจึงมีสถานะเป็นเพียง “เครืองมือ” ขณะเดียวกัน เมือมองในแง่ทีเป็ นสิงจะต้อง “ค้นหา” พุทธธรรมหรือศาสนธรรม ก็มสถานะเป็นเป้าหมายของการดําเนินชีวตของพระภิกษุสงฆ์ผูซึง ี ิ ้ จะทํ า ให้พุ ท ธธรรมเป็ น ส่ ว นหนึ งของประสบการณ์ ทีบรรลุ ไ ด้ใ นโลกของความเป็ น จริง 4
  • 5. พระภิกษุสงฆ์จงมีหน้าทีอยูสองประการ คือ “ค้นหาความจริง” และ “การนํ าความจริงนันไป ึ ่ ตอบสนองความต้องการของคนจํานวนมาก” ในแง่ทว่าพระภิกษุสงฆ์จาต้องดํารงอยูเพือการบรรลุความจริงทางศาสนา ก็จดว่า ี ํ ่ ั พระภิกษุสงฆ์ดารงอยูเพือตัวเอง มองในแง่ทมีภารกิจเพือผูทุกข์ยากในสังสารวัฏ พระภิกษุ ํ ่ ี ้ สงฆ์กเป็น “มรรควิธ”ี หรือ means เพือสิงอืนทีไม่ใช่ตวพระภิกษุสงฆ์เอง การทีพระภิกษุสงฆ์ ็ ั ต้อ งค้น หา “สัจธรรม” และนํ า “ศาสนธรรม” ไปเผยแผ่แ ก่ ค นอืนๆ นี เอง การปฏิรูป พระพุทธศาสนาจึงเกียวเนืองกับสองเรืองคือ ั ๑. การสร้างระบบความรูทสามารถนําไปแก้ปญหาได้จริงในสังคม ้ ี ๒. การสร้างระบบทีเอือต่อการค้นคว้าหาความรู้ และการเผยแผ่ศาสนธรรม ๑. การสร้างระบบความรู้ทีสามารถนําไปแก้ปัญหาได้จริงในสังคม การสร้า งระบบความรู้เป็ น สิงจํา เป็ น เพราะความรู้ท างศาสนาของชาวพุท ธที เกิดขึนตามลําดับกาลเวลานันมีมาก นับแต่สมัยพระพุทธเจ้าเป็ นต้นมาระบบความรูก็แตก ้ หน่อขยายออกไปเป็ นจํานวนมาก เมือคณะสงฆ์ตองเกียวข้องกับสังคมหนึง ๆ ณ เวลาใด ้ เวลาหนึงจึงจําเป็นต้องรูวาความรูใดบ้าง เป็นสิงจําเป็นสําหรับสังคมนัน ๆ ในขณะนัน ๆ การ ้่ ้ ทําความเข้าใจระบบความรูเ้ ดิม การค้นคว้าแสวงหาในระดับประสบการณ์จริง หรือการค้นคว้า เพิมเติมด้วยวิธการใด ๆ การจัดระบบความรูทีมีอยู่ให้เหมาะแก่กาลสมัยจึงเป็ นสิงทีต้องทํา ี ้ พระพุทธเจ้าเคยตรัสแก่ภกษุว่า ความรูทีพระองค์ตรัสรูนันมีมากดุจใบไม้ในป่า ส่วนความรู้ ิ ้ ้ หรือสัจจธรรมทีพระองค์เผยแสดงแก่ ภิก ษุ แ ละคนทัวไปนั นดุจใบไม้ใ นกํ า มือ แม้ค วามรู้ม ี มากมายแต่ม ีบางส่วนเท่ า นั นทีจํา เป็ น สํา หรับการดับทุ ก ข์ ข้อนี นอกจากสะท้อนท่ า ทีของ พระพุทธศาสนาต่อความรูตาง ๆ ทีมีอยูในโลกนีแล้วยังแสดง “จารีต” บางประการทีน่ าจะทํา ้ ่ ่ ั ั ให้ชาวพุทธปจจุบนได้ตระหนักว่า ในการเผยแพร่ความรูนันนอกจากต้องมีความรูกว้างขวาง ้ ้ แล้วยังต้องรูอกว่าอะไรคือความรูทจําเป็นหรือเหมาะสมสําหรับยุคสมัย ้ี ้ ี การสร้างระบบความรูนันน่าจะประกอบด้วยสองส่วนหลัก ๆ คือ ความรูระดับสัจ ้ ้ ธรรมหรืออภิปรัชญา กับความรูระดับจริยธรรม หรือจริยศาสตร์ ความรูสองส่วนนีอิงอาศัยกัน ้ ้ อย่างไม่สามารถจะแยกออกจากกันได้ ความรูระดับสัจธรรมหรืออภิปรัชญาจะสูญเปล่าหากไม่ ้ สามารถชีแสดงให้เห็นว่ามันเกียวข้องกับชีวตมนุ ษย์อย่างไร ความรูทางจริยธรรมหรือจริย ิ ้ ศาสตร์จะมีไ ม่ม ีนํ าหนั ก หากไม่ม ีฐานทางอภิปรัชญาทีมันคง ชาวพุท ธมัก รังเกียจปรัชญา ั โดยเฉพาะอภิปรัชญา ด้วยเข้า ใจว่า พระพุท ธเจ้า ทรงไม่สนพระทัยปญหาอภิปรัชญา ใน ความคิดของผูเขียน ทุกศาสนามีหลักอภิปรัชญารองรับหลักจริยศาสตร์ดวยกันทังนัน และ ้ ้ 5
  • 6. พระพุทธศาสนาก็จํา เป็ น ต้องมีอภิปรัชญาเพือว่า ระบบศีล ธรรมหรือจริยศาสตร์จะได้มฐาน ี มันคงชัดเจน การสร้างระบบความรูทครอบคลุมกระบวนทัศน์หลัก ๆ จําเป็ นสําหรับการดํารงอยู่ใน ้ ี โลกสมัยใหม่ ถ้ายังไม่สามารถหา “ระบบความรู”้ หรือ “สร้างระบบความหมายทีเหมาะสม” กับ ยุคสมัยได้แล้ว การหลุดออกไปจากศาสนธรรมของชาวพุทธทีมีการศึกษาสูง ๆ จะมีมากขึน ความสํ า คัญ ของสถาบัน สงฆ์ ก็ นั บ วัน จะด้ อ ยความสํ า คัญ ดัง นั น ภาระหน้ า ที ของ พุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะคณะสงฆ์ผูซึงจะมีพลังมากทีสุดในการขับเคลือนขบวนการปฏิรูป ้ ทุก ๆ ด้าน คือการทบทวนระบบความรูทมีอยูทงหมด การตระหนักถึงความสําคัญในการสร้าง ้ ี ่ ั ระบบความรู้ทีเหมาะสมขึนมาใหม่ พร้อม กัน นัน พระภิก ษุ สงฆ์ตองสร้า งระบบทีจะทํ า ให้ ้ ความรูโดยรวมมีเอกภาพ ไม่ขดแย้งกันเองภายในระบบ อันจะเป็นประโยชน์ตอยุคสมัย ้ ั ่ ในการสร้างระบบความรูด้านศาสนธรรมจํา เป็ น จะต้องมีเป้าหมายหรือยุท ธศาสตร์ ้ ชัดเจน หลังการปฏิรปของพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสมา จนถึงสมัยปจจุบน ู ั ั พระพุทธศาสนาในประเทศไทยดําเนินไปอย่างตามมีตามเกิดไม่มยุทธศาสตร์ทชัดเจนเป็นของ ี ี ตนเอง ยกเว้นยุทธศาสตร์ทกําหนดโดยรัฐบาล เช่นในสมัยภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ เป็นต้น ี การขาดเป้า หมายและยุท ธศาสตร์ทํ า ให้พระพุท ธศาสนาในประเทศไทยต่า งเป็ น ต่า งไป ตัวอย่า งทีเห็น ได้ชดเจนเช่น วัดต่า ง ๆ ในชนบทขาดแคลนพระภิก ษุ ทีจะตอบสนองความ ั ต้องการทางจิตวิญญาณหรือความต้องการด้านศาสนธรรมของพุทธศาสนิ กชน บางแห่งมี พระภิกษุเพียง ๖ พรรษาก็ได้รบแต่งตังเป็นเจ้าอาวาสแล้วและอยูประจําวัดนันเพียงเพราะไม่ม ี ั ่ ใครจะอยู่ วัดหลายแห่งกลายเป็ นวัดร้า งและจะมากขึนเรือย ๆ โดยเฉพาะช่วงออกพรรษา ขณะทีพระภิกษุสงฆ์ทีอายุพรรษามาก มีความรูความสามารถทีจะตอบสนองความต้องการ ้ ด้านศาสนธรรมของชาวบ้านได้นัน กระจุกตัวอยูในเมืองใหญ่ ๆ ่ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยยังต้องการความชัดเจนทังในแง่เป้าหมายและการ กําหนดยุทธศาสตร์ของตนเอง การสร้างระบบความรูกเป็ นส่วนหนึงในยุทธศาสตร์ เพราะ ้ ็ ด้วยความรู้เท่านันจึงจะสามารถฝ่าความมืดมนและกิเลสตัณหาทีดาษดืนอยู่ในสังคมนันได้ ั ั ความรู้ทีประกอบกันเป็ น ศาสนธรรมในปจจุบนจึงต้องมีทงส่วนทีเป็ นแก่ นและทีเป็ น เปลือก ั กระพี ส่วนหลังนีเองจะเป็ น เครืองมือให้สามารถนํ า ศาสนธรรมไปตอบสนองต่อปญหา ั สังคมยุคใหม่ได้ กล่าวอย่างหยาบๆ แก่นของศาสนธรรมในทีนีได้แก่ คําสอนทีบรรจุอยู่ใน พระไตรปิฎก แต่แก่นทีว่านีจะต้องได้รบการตีความ อธิบายความ ขยายความให้ครอบคลุม ั ั ปญหาของยุคสมัย มีการตรวจสอบอย่างถีถ้วน ก่อนจะเลือกสรรส่วนทีจําเป็ นนํ าเสนอต่อ สังคม ดังนั น การค้น คว้าหาความรูแ ละการสร้า งระบบความรู้ในทีนี จึงเป็ น งานสํา คัญของ ้ นักวิชาการชาวพุทธ 6
  • 7. ๒. การสร้างระบบการบริหารกิ จการภายในคณะสงฆ์ ถ้าเป้าหมายการดํารงอยู่ของพระภิกษุสงฆ์คอ การแสวงหาสัจธรรม การปฏิบติ ื ั เพือความหลุดพ้น และการนําศาสนธรรมไปเผยแผ่เพือประโยชน์สุขแก่ผอน ระบบการบริหาร ู้ ื กิจการการปกครองภายในคณะสงฆ์กไม่ได้มอยูเพือทีจะดํารง “ความศักดิสิทธิ” ของ “สถาบัน” ็ ี ่ หากดํารงอยูเพือสิงอืน กล่าวคือ เพือเอือต่อการศึกษาค้นคว้าศาสนธรรม เพือสร้างสมาชิกที ่ สามารถนําศาสนธรรมไปประกาศแก่ชาวโลก หากเป็ นเช่นนี ระบบการปกครองใด ๆ หรือ ระบบการบริหารกิจการใด ๆ ทีไม่เอือต่อเป้าหมายดังกล่าวก็จะต้องได้รบการจัดรูปใหม่ใ ห้ ั เหมาะสมสอดคล้องกับเป้าหมายของการมีอยูขององค์กรสงฆ์ เพราะรูปแบบการปกครอง การ ่ บริหารกิจการภายในคณะสงฆ์ทีเกิดขึนในแต่ละยุคสมัย เป็ นเพียง “สมมติสจจะ” ทีสามารถ ั ปรับเปลียนได้เมือเห็นว่าไม่เอือต่อการค้นคว้า การปฏิบตธรรมและการเผยแผ่ศาสนธรรม อัน ั ิ เป็นพันธกิจหลักของศาสนา ระบบบริห ารคณะสงฆ์ ป จ จุ บ ัน สอดคล้ อ งต่อ เป้ า หมายการดํ า รงอยู่ ข องของ ั พระภิกษุสงฆ์ในฐานะพุทธสาวกหรือไม่ ผูเ้ ขียนคิดว่า พระภิกษุสงฆ์สามารถจะค้นคิดเองได้ ด้วยศักยภาพและเวลาทีมีอยู่ ส่วนการจะปรับกิจการบริหารภายในคณะสงฆ์อย่างไรนันน่ าจะ เป็นการค้นคว้าวิจยของคณะสงฆ์นันเอง บุคคลภายนอกเช่นรัฐไม่พงเข้ามาเกียวข้องกับการ ั ึ จัดรูปแบบการบริหารภายในของคณะสงฆ์ คณะสงฆ์ก็จะต้องสร้างคนของตนเองทีมีความรู้ ด้านการจัดการองค์กรสมัยใหม่เพือนํามาปรับใช้กบองค์กรสงฆ์ซงวางอยูบนฐานแห่งพระธรรม ั ึ ่ วินัย ภารกิจสําคัญของคณะสงฆ์คอภารกิจต่อพระพุทธศาสนา หากไม่นับภารกิจเพือความสุข ื ของมหาชนทีกล่าวไปแล้วเป็นอันดับหนึง เมือเรียงลําดับความสําคัญแล้ว ภารกิจด้านการจัด การศึกษาถือว่า เป็ นสิงแรกทีคณะสงฆ์จะต้องจัดการให้เหมาะสม ในฐานะทีการศึกษาส่วน หนึงนันเป็น “รูปแบบ” ทีจะใช้เพือถ่ายทอดความรูจากรุ่นหนึงไปสู่รุ่นหนึง ในเรืองนี สมเด็จ ้ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยได้ท รงดําเนิ นการอย่า งมีประสิท ธิภาพ วิธการทีพระองค์ทรงใช้น่าจะได้รบการศึกษาค้นคว้าในฐานะกรณีศกษาทีเคยประสบผลสําเร็จ ี ั ึ มาแล้วในอดีต แต่ก ารเรียนรู้ในเรืองนี ก็จะต้องพิจารณาทังด้านบวกและด้า นลบ เพือเป็ น ั ั บทเรียนสํา หรับปจจุ บน ไม่ใ ช่เพือยึดมันถือมัน เพราะว่า ระบบการศึก ษาทีพระองค์ทํ า ให้ ประสบผลสํา เร็จไว้นั น บัดนี เป็ น เพียง “อุดมคติ” ทีน่ า จดจํา เท่ า นั น เนื องจากการศึก ษา ดังกล่าวไม่ได้ทําให้พระภิกษุสงฆ์ในภูมภาคต่าง ๆ สามารถสร้างสรรค์ภูมปญญาด้านศาสน ิ ิ ั ธรรมได้เลย 7
  • 8. ขณะทีพระภิกษุสงฆ์ในชนบทสามารถสร้างสรรค์ถาวรวัตถุทางศาสนาได้อย่างใหญ่โต มโหฬารแทบไม่น่าเชือ การครุนคิดไตร่ตรองศาสนธรรมกลับไม่งอกเงย (ผูเขียนเข้าใจว่าอาจ ่ ้ เป็นเพราะตัวชีวัดทีชุมชนต้องการคือผลงานทีเป็นรูปธรรม) การค้นคว้าทางศาสนธรรมด้าน ปริยตตองอาศัยหนังสือทีเขียนไว้เมือหนึงร้อยปีทผ่านมา สํานักเรียนของพระภิกษุสงฆ์มอยูทว ั ิ ้ ี ี ่ ั ประเทศ แต่สานักเหล่านันเพียงแต่ถายทอดเรืองราวเก่าๆ แก่คนรุนใหม่ แต่ไม่ได้เปิ ดโอกาส ํ ่ ่ ให้ความคิดใหม่ได้งอกขยาย ระบบการศึกษาดังแทนทีจะทําให้ผศกษาสามารถสร้างสรรค์ภูม ิ ู้ ึ ั ิ ั ปญญาได้เองในระดับหนึง แต่กลับกลายเป็นระบบการศึกษาทีแช่แข็งภูมปญญา (ข้อนีน่ าจะ ั ั ถือเป็นความล้มเหลวอย่างยิงของระบบการศึกษาดังกล่าวเมือสืบทอดกันมาถึงปจจุบน) การ จัดการศึกษาของคณะสงฆ์ทควรจะเป็ นนันนอกจากเป็ นการศึกษาเพือการถ่ายทอดความรูที ี ้ เหมาะสมแล้ว ก็ค วรจะเป็ นการศึก ษาทีเปิ ดโอกาสให้บุค ลากรสงฆ์ได้ม ีก ารค้น คว้า มีก าร ู ิ ั ถกเถียง (ธัมมัจฉากัจฉา) และการสร้างสรรค์ภมปญญาใหม่ ๆ ทีเป็นประโยชน์ ต่อพระศาสนา เองด้วย ภารกิจอัน ดับต่อมาของคณะสงฆ์ค ือ ภารกิจด้านการจัดการปกครองคณะสงฆ์ การจัดการปกครองคณะสงฆ์ควรเป็นอย่างไรนันพระภิกษุสงฆ์น่าจะต้องคํานึงถึงประเด็นทีว่า การปกครองคณะสงฆ์เป็ น เพียงเครืองมือทีจะให้บุค คลได้ม ีโอกาสเข้าถึงศาสนธรรม การ ปกครองจะต้องเอือให้เกิดการศึกษาพระธรรมวินัย การเผยแผ่ศาสนธรรมต่อผูทุกข์ยากทางจิต ้ วิญญาณ การนําแสงสว่างแห่งศาสนธรรมไปเพือปลดปล่อยผูคนออกจากความทุกข์ยากของ ้ ชีวต (ไม่ใช่เรืองของการได้มาซึงสมณศักดิ ความรุงเรืองด้านวัตถุสถาน หรือตอบสนองกิเลส ิ ่ ตัณหา) หมายความว่า ระบบการปกครองมีขนก็เพือช่วยให้การถ่ายทอดความรูทางศาสนา ึ ้ การศึกษาศาสนธรรม และการเผยแผ่ศาสนาดําเนินไปได้ดวยดี อาจจะมองว่า การจัดการด้าน ้ การปกครองเป็ น “การจัดสรรระบบอํานาจทีเหมาะสมภายในหมู่คณะ” และ “การจัดระบบ ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนพระภิกษุสงฆ์กบฆราวาส” (อาณาจักรกับศาสนจักร) แต่ทงนีการ ั ั ปกครองก็ไม่น่าจะมีความหมายสําคัญในตัวเอง ภารกิจหลักด้านพระศาสนาของพระภิกษุสงฆ์ จะต้องดํารงอยูและได้รบการตระหนักอยูเสมอ ่ ั ่ ถ้าหากว่า การจัดการปกครองมีจุดมุ่งหมายเพือให้เอือต่อการศึกษาและปฏิบติ ั ธรรม การปกครองทีว่า นี ย่อ มไม่ใ ช่เ พือตอบสนองอํา นาจรัฐ โดยนั ย นี ในกรณี ทีรัฐ อาจ ั ดําเนินการในลักษณะทีเป็ นปฏิปกษ์ต่อศาสนธรรม (กรณีพฤษภาทมิฬ หรือกรณีทีผูยากไร้ ้ ได้รบการปฏิบตอย่างไม่ยุตธรรมจากรัฐ เป็นต้น) คณะสงฆ์กตองกล้าหาญทีจะตําหนิ วิพากษ์ ั ั ิ ิ ็ ้ ชีนํ า (ไม่ใ ช่พอมีสถานการณ์ ม ากระทบสถานภาพของตนแล้วจึงออกมาเคลือนไหว) การ 8
  • 9. บริหารกิจการคณะสงฆ์จงเป็ นไปเพือตอบสนองความสุขของมหาชน นันคือ ถือเป็ นภารกิจ ึ สําคัญทีคณะสงฆ์จะต้องนําแสงสว่างแห่งธรรมไปสู่จตวิญญาณของชาวบ้านเมือเขาทุกข์ยาก ิ และมีความกระหาย การจัดรูปแบบการปกครองทีจะเอือต่อการเผยแผ่ศาสนธรรมนั นจําเป็ นจะต้อง เรียนรูจากศาสนาอืนทีเขาได้พฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างดีแล้ว การจัดการของชาว ้ ั คริสต์โดยเฉพาะคาทอลิก คือ ตัวอย่างอันดีทีสร้างวัฒนธรรมอํานาจในการปกครองทีไม่ตอง ้ อาศัยอํานาจรัฐในการจัดการ และไม่ตองใช้กําลังบังคับเหมือนในอดีต (ยุคกลาง) หากแต่ได้ ้ สร้างวัฒนธรรมแห่งอํานาจขึนมาบนฐานแห่ง “ความภักดี” และสํานึกในการอยู่ร่วมกันอย่าง เป็ นปึ กแผ่น ชาวพุทธอาจเรียนรูได้ว่า วัฒนธรรมแห่งอํานาจ ทีไม่ต้องใช้กําลังบังคับ แต่ใ ช้ ้ สํานึกแห่งการอยูรวมกันนันมีตวอย่างอยูแล้วในอดีตของชาวพุทธเอง ่่ ั ่ คณะสงฆ์อาจระลึกถึงได้ว่า ครังหนึง พระอานนท์ได้ยกเหตุผลอันชอบธรรมเพือ ขออนุ ญาตให้สตรีได้บวชในพระพุทธศาสนา เมือทรงเห็นว่าพระอานนท์มหลักการทีถูกต้อง ี พระพุทธองค์กไม่ได้ขดข้องแต่ประการใด กรณีดงกล่าวนีอาจชีให้เห็นว่า อํานาจทีชอบธรรม ็ ั ั นันย่อมอ่อนไหวต่อความถูกต้องเสมอ ไม่วาความถูกต้องจะมาจากเบืองล่างหรือเบืองบน และ ่ อีก ครังหนึ ง เมือการสังคายนาครังที ๑ เสร็จ สินลง พระอานนท์ ถูก คณะสงฆ์ใ นทีประชุ ม กล่ าวโทษด้วยความผิด ๕ ประการ หนึ งในจํานวนนั นคือ การขวนขวายให้สตรีได้บวชใน พระพุทธศาสนา พระอานนท์มองไม่เห็นว่าท่านมีความผิดใน ๕ กระทงนัน “แต่เพราะเชือฟง ั ต่อสงฆ์” พระอานนท์ยอมรับการปรับอาบัติ นีก็เป็ นตัวอย่างหนึงทีชีให้เห็นวัฒนธรรมแห่ ง อํานาจ พระอานนท์ซึงแม้จะเป็ นพระอรหันต์ แต่ความเป็ นอรหันต์ไม่ได้ทําให้ท่านสําคัญตน เหนือคณะสงฆ์ เหมือนดังทีพระภิกษุสงฆ์บางรูปกระทําอยูในสังคมไทย ่ ั ั การปฏิรูปพระพุท ธศาสนาทีดํา เนิ นไปในขณะปจจุบน ถกเถียงกัน มากในเรือง “สมมุ ติ” แต่เรืองทีเป็ น “แก่ น สาร” ไม่ไ ด้ร ับการวิพ ากษ์ ถกเถียงแม้แ ต่น้ อ ย การดํา รง พระพุทธศาสนาในสังคมไทยมีภารกิจใหญ่ยงกว่าการถกเถียงกันเรืองอํานาจ อํานาจและศา ิ สนธรรมอาจเป็ นสิงทีสามารถนํ ามาเชือมโยงกัน ได้ แต่ดูเหมือนในวงการคณะสงฆ์จะยังไม่ เข้า ใจชัดเจนนั ก ในเรืองของอํา นาจกับศาสนธรรม ดังนั น การถกเถียงในเชิงวิชาการเพือ กําหนดอํานาจทีสอดคล้องกับศาสนธรรมในทีนีอาจมีนัยสําคัญอยูบางไม่มากก็น้อย ่ ้ 9
  • 10. บทสรุป ในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย นอกจากจะเน้น การศึกษาในด้านวิชาพระพุทธศาสนาแล้ว ยังเน้นการให้การศึกษาแก่พระสังฆาธิการในด้าน ต่างๆ ทีกล่าวมาในเบืองต้น ในบทบาทของพระภิกษุสงฆ์ และเป็นบทบาทจริงในทางปฏิบตที ั ิ ถูกต้องตามพระธรรมวินัยพึงปฏิบตกน โดยเฉพาะใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ต้อง ั ิ ั ปกครองโดยธรรม เป็ นธรรมาภิบาล ปกครองเพือเกือหนุ น ให้เกิดการศึกษา ทังทีพระภิก ษุ สงฆ์กนเองสอน และสงเคราะห์กุลบุตร กุลธิดา เพือให้ได้รบการศึกษาทีถูกต้อง พร้อมทังวิชา ั ั ความรู้ จรณะ ความประพฤติ การศึกษาทีสร้างวิธคดทีเป็ นสัมมาทิฏฐิ การเรียนรูคู่ความสุข ี ิ ้ (Learning And Happiness) บทบาทด้านการเผยแผ่ งานเผยแผ่เป็นงานทีนําคําสอนขององค์ สมเด็จ พระสัม มาสัม พุท ธเจ้า ออกเผยแผ่สู่ประชาชน เป็ น ภารกิจทีมีค วามสํา คัญ ในสมัย พุทธกาลพระพุทธองค์ ใช้คาว่าไปประกาศพรหมจรรย์ ประกาศวิถชวตอย่างพรหม อันเป็ น ํ ี ีิ ชีวตทีประเสริฐ นันหมายถึงพระภิกษุ สงฆ์ตองเป็ นแบบอย่างทีดีของการดํา เนินชีวิต สังคม ิ ้ สงฆ์ สังคมแบบอย่างหรือสังคมต้นแบบของสังคมชุมชนเพือสร้างชุมชนทีเข้มแข็ง หนังสืออ้างอิ ง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (๒๕๓๕). วินัยมุข เล่ม ๒, (หลักสูตร นักธรรมชันโท). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๓๙). การศึกษาเพืออารยธรรมทียังยืน. กรุงเทพ ฯ : บริษทสหธรรมิก จํากัด. ั พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๔๒). การศึกษาทางเลือก : สูววฒน์หรือวิบตในยุคโลกไร้ ่ิั ั ิ พรมแดน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา. ชาญณรงค์ บุญหนุ น. (๒๕๔๓). "การสังคายนาในมุมมองใหม่ หนทางสูการแก้ปญหาคณะ ่ ั ั ั สงฆ์ไทยปจจุบน". มปท. ชาย โพธิสตา. (๒๕๒๒). มหาวิทยาลัยสงฆ์ในสังคมไทย การศึกษาบทบาทของมหาจุฬาลง ิ กรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย์. ทวีวฒน์ ปุณฑริกวิวฒน์. (๒๕๔๑). "พุทธทาสภิกขุในบริบทของสังคมไทย" พุทธสาสนา ๖๖ ั ั (พฤษภาคม-กรกฎาคม ๒๕๔๑) : หน้า ๑๐๕-๑๒๕. นิธิ เอียวศรีวงศ์. (๒๕๓๖). "อนาคตขององค์กรสงฆ์"ใน นิธิ เอียวศรีวงศ์ และคณะ, มอง ิ ู ิ ั อนาคต. กรุงเทพฯ : มูลนิธภมปญญา, หน้า ๑๑๔-๑๕๑. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (๒๕๔๔). ปฏิรปการศึกษา พระพุทธศาสนาจะไปอยูไหน ?. ู ่ กรุงเทพฯ : สหธรรมิก. 10
  • 11. พระไพศาล วิสาโล. (๒๕๔๒). พระธรรมปิฎกกับอนาคตของพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร. 11