SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
1
1 อะตอมและตารางธาตุ
1.1 แบบจําลองอะตอม
นักวิทยาศาสตร แบบจําลอง ทฤษฎี
ดาลตัน (John Dalton)
อะตอมเปนทรงกลม แ
บงแยกไมได
ทอมสัน (Joseph J. Thomson)
e/m = -1.76 x 108
coulomb/g = คาคงที่
- อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม
- มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกวา โปรตอน
- มีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกวา อิเล็กตรอน
- จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน
- กระจายอยูทั่วไปในทรงกลม
รัทเธอรฟอรด
(Ernest Rutherford)
- อะตอมมีลักษณะโปรง
- ประกอบดวยโปรตอนรวมกันอยูตรงกลางนิวเคลียส ซึ่ง
มีขนาดเล็กแตมีมวลมาก
- สวนอิเล็กตรอน มีมวลนอยมาก จะวิ่งอยูรอบๆ นิวเคลียส
นิวบอร (Niels Bohr)
อะตอมเปนทรงกลม ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน
รวมกันเปนนิวเคลียสอยูตรงกลาง
มีอิเล็กตรอนวิ่งเปนโคจรหรือระดับพลังงานรอบๆ
นิวเคลียส
1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม
นักวิทยาศาสตร การคนพบ
ไอแซค นิวตัน
ทดลองแยกแสงขาวโดยใชปริซึม
โรแบรต บุนเซน
กุสตาฟ คีรัชฮอฟฟ สเปกโตสโคปใชแยกสเปกตรัมของ
แสงขาวและใชตรวจเสนสเปกตรัม
ของธาตุที่ถูกเผา
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
2
โรแบรต บุนเซน
ผลการทดลองเผาสารเพื่อศึกษาเกี่ยว
กับสีของเปลวไฟจะไดวา
-สเปกตรัมของโลหะชนิดเดียวกัน จะ
เหมือนกัน
- สเปกตรัมของโลหะตางชนิดกัน จะ
ไมเหมือนกัน
-สีของเสนสเปกตรัมอาจเหมือนกัน
แตตําแหนงของเสนสเปกตรัมทั้งหมด
ไมตรงกัน เนื่องจากสเปกตรัมเปน
สมบัติเฉพาะตัวของธาตุ
หลักการในการเกิดสเปกตรัมเมื่อเผาธาตุตางๆ
1.3 แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
3
1.4 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
ชนิดของ orbital ตางๆ
s-orbital p-orbital d-orbital
เมื่อออรบิทัลทุกชนิดมารวมกัน
1
2
3
K
L
M
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
4
การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration) จะเปนไปตามลําดับดังนี้
n = 1 1s
2 2s 2p
3 3s 3p 3d
4 4s 4p 4d 4f
5 5s 5p 5d
6 6s 6p
7 7s
อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชันของธาตุ จึงเขียนเปน
1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d, 4p, 5s , 4d , 5p , 6s , 4f , 5d , 6p , 7s
10Ne มี อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชัน = 1s2
, 2s2
, 2p6
(2 . 8 )
9F มี “
8O มี “
7N มี “
6C มี “
5B มี “
4Be มี “
3Li มี “
= 1s2
, 2s2
, 2p5
(2 . 7 )
= 1s2
, 2s2
, 2p4
(2 . 6 )
= 1s2
, 2s2
, 2p3
(2 . 5 )
= 1s2
, 2s2
, 2p2
(2 . 4 )
= 1s2
, 2s2
, 2p1
(2 . 3 )
= 1s2
, 2s2
(2 . 2 )
= 1s2
, 2s1
(2 . 1 )
ตัวอยางขอสอบ
1. กําหนดแบบจําลองอะตอม 3 แบบ ดังแสดงขางลาง
แบบใดเปนแบบจําลองของดาลตัน แบบจําลองของรัทเธอรฟอรด และแบบจําลองของทอมสันตามลําดับ
แบบจําลองของดาลตัน แบบจําลองของรัทเธอรฟอรด แบบจําลองของทอมสัน
1
2
3
4
I
II
II
III
II
III
I
I
III
I
III
II
e e
ee
+ - + - + + - +
- + - + + - + - +
I II III
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
5
ตอบ ขอ 3.
เหตุผล แบบจําลองของดาลตัน เปนทรงกลมโอกาสถูก ขอ 2, 3
แบบจําลองของทอมสัน มีอิเล็กตรอนและโปรตอนกระจายในทรงกลม
ขอ 3 จึงเปนขอถูก
2. ขอความใดถูกตองที่สุด
1. แบบจําลองอะตอมของดัลตัน เปนทรงกลมแบงแยกไมได
2. ธาตุ X มีเลขมวล 3 คา แสดงวาธาตุ X มี 3 ไอโซโทป
3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน
4. ถูกทั้ง 1, 2, 3
เหตุผล ตามทฤษฎีของ Dalton.
1. อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ ขนาดเล็กที่สุดแบงแยกไมได เรียกวา อะตอม
2. อะตอมชนิดเดียวกัน ยอมมีขนาด และมวลเทากัน ตัวอยาง 180 + 0PE
C12
6 C13
6
*14
6 C
(กัมมันตรังสี) ธาตุชนิดเดียวกัน ตองมีเลขอะตอมเทากัน
ตอบ ขอ 4.
3. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามตอไปนี้
1. แบบจําลองอะตอมเปนขอสันนิษฐานที่นักวิทยาศาสตรสรางขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากการทดลอง
2. ในการทดลองของทอมสันเกี่ยวกับการนําไฟฟาของกาซนั้น กาซที่บรรจุในหลอดรังสีคาโธดนั้นตองมีความดันสูง
3. การที่สารละลายอิเล็กโตรไลทนําไฟฟาได เพราะในสารละลายประกอบดวยอิออนบวกและอิออนลบอยูทั่วไป
4. ความแตกตางระหวางแบบจําลองของทอมสันกับรัทเชอรฟอรด ก็คือประจุไฟฟาของอนุภาคในอะตอม ขอใดบาง
ที่ไมถูกตอง
1. ขอ 1, 3 2. ขอ 2, 3 3. ขอ 2, 4 4. ขอ 1, 4
4. จํานวนอิเล็กตรอนระดับพลังงาน (n) = 5 ที่อะตอมสามารถรับได และการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของ In
(อินเดียม) ที่มีเลขอะตอมเทากับ 49 เปนไปตามขอได
จํานวนอิเล็กตรอนที่รับได การจัดเรียงอิเล็กตรอน อิเล็กตรอน
ของ In
1
2
3
4
25
49
25
50
2.8.8 18.8.5
2.8.8 18.11.2
2.8.18.18.3
2.8.18.18.3
ตอบ ขอ 4
เพราะวา จํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
6
A
เขต s
1H
เขต d
เขต p
เขต f
∴ e/n = 2n2
= 2x52
= 50
5. การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบใดใชสําหรับอับคาไลน เอิรท ไมได
1. 2 8 8 2 2. 2 8 18 8 2
3. 2 8 18 18 2 4. 2 8 18 18 8 2
ตอบ ขอ 3
เพราะวา อัลคาไลน เอิรท คือธาตุหมู II ตองมีสองอิเล็กตรอนสุดทายของการจัดเรียงอิเล็กตรอนหมู II =
8, 2 เทานั้น
1.5 ตารางธาตุและสมบัติบางประการของธาตุตามหมูและตามคาบ
ตารางธาตุ
ลักษณะสําคัญของตารางธาตุ
1. เรียงธาตุ ตามเลขอะตอม จากนอยไปมาก
เรียงธาตุ จากซายไปขวา เรียกวา คาบ (Period) มี 7 คาบ
เรียงธาตุ จากบนลงลาง เรียกวา หมู (group, column, series) มี 8 หมู
หมูที่สําคัญคือ
หมู I เปนโลหะ เรียกวา alkali
หมู II เปนโลหะ เรียกวา alkaline earth
หมู VII เปนอโลหะ เรียกวา halogen
หมู VIII เปนอโลหะ(ที่ๆไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี) เรียกวา inert gas, rare noble gas
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
7
11 12 12 13
11 12 12 13
12 12
2. ธาตุ เปนอะตอม มีสัญลักษณเขียน X แทนทุกธาตุและสัญลักษณ นิวเคลียรเขียน ZX อาน Z X A
Z แทน เลขอะตอม atomic number = proton = electron
X แทน สัญลักษณ symbol
A แทน เลขมวล atomic mass = proton + neutron
ธาตุหรืออะตอมของธาตุในตารางธาตุจะมี
IsotoPe หมายถึงธาตุที่มีเลขอะตอม หรือ proton หรือ เปนธาตุชนิดเดียวกัน แตมี neutron ตางกันไดแก
5B = 5B และ 6C = 2C
IsotoNe หมายถึง ธาตุที่มี neutron เทากันแตมีเลขอะตอมตางกัน เชน
5B = 6C และ 5B = 6C
IsobAr หมายถึงธาตุที่มีเลขมวล เทากัน เชน
5B = 6C
IsoElectron หมายถึงอนุภาค(อะตอม , ion, โมเลกุล) ที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน จะไดวาอิเล็กตรอนของ
ion บวกของธาตุหมูตาง ๆ = ion ลบของธาตุหมูตาง ๆ = กาซเฉื่อย
3Li+
1H-
2He
11Na+
,12Mg2+
, 13Al3+
9F-
,8O2-
,7N3-
10Ne
สัญลักษณ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน รัศมีอะตอม
(pm)
IE1
(kJ/mol) m.p. (°C) b.p. (°C)
He 2 2 93 2,397 -270 -269
Ne 10 2, 8 112 2,087 -249 -246
Ar 18 2, 8, 8 154 1,527 -189 -186
Kr 36 2, 8, 18, 8 169 1,357 -157 -152
Xe 54 2, 8, 18, 18, 8 190 1,177 -112 -108
Rn 86 2, 8, 18, 32, 18, 8 220 1,043 -71 -62
พิจารณาจาก
1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2
จะไดจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน = 2, 8, 18, 32 …. ≤ 8
2. จํานวนธาตุในคาบจะสัมพันธกับจํานวน e/n = 2, 8, 18, 18, 32, …..
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
8
ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู 1
ธาตุ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน
รัศมี
อะตอม*
(pm)
IE1
(kJ/mol)
m.p.
(°C)
b.p.
(°C)
E° (V)
M+
+ë M
Li 3 2, 1 152 526 180 0.53 -3.05
Na 11 2, 8, 1 186 502 98 0.97 -2.71
K 19 2, 8, 8, 1 227 425 64 0.86 -2.92
Rb 37 2, 8, 18, 8, 1 248 409 39 1.53 -2.92
Cs 55 2, 8, 18, 18, 8, 1 265 382 28 1.89 -2.92
*รัศมีอะตอมในโลหะเทากับครึ่งหนึ่งของของระยะยาวระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูถัดกันในผลึกของโลหะ
เลขอะตอมของธาตุหมู VIII สัมพันธกับ e/n และธาตุ/คาบ ดังนี้
e/n = 2n2
ธาตุ/คาบ เลขอะตอมของธาตุหมู VIII ธาตุ เรียง e/ คาบ
2 2 2 He 2
8 8 10 Ne 2, 8
18 8 18 Ar 2, 8, 8
32 18 36 Kr 2, 8, 18, 8
≤ 8 18 54 Xe 2, 8, 18, 18, 8
32 86 Rn 2, 8, 18, 32, 18, 8
สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 2
หมู/ธาตุ
สมบัติของธาตุ
I
Li
II
Be
III
B
IV
C
V
N
VI
O
VII
F
VIII
Ne
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
9
เลขอะตอม
การจัดอิเล็กตรอน
พลังงานไอออไนเซชัน
ลําดับที่ 1 (kJ/mol)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
รัศมีอะตอม (pm)
จุดหลอมเหลว (°C)
ชนิดของธาตุ
3
2, 1
526
1.0
123*
180
โลหะ
4
2, 2
906
1.5
89*
1280
โลหะ
5
2, 3
807
2.0
80*
2,030
กึ่งโลหะ
6
2, 4
1,093
2.5
77*
3,500
อโลหะ
7
2, 5
1,407
3.0
74*
-210
อโลหะ
8
2, 6
1,320
3.5
74*
-218
อโลหะ
9
2, 7
1,687
4.0
72*
-220
อโลหะ
10
2, 8
2,087
160**
-249
อโลหะ
* รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส
IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตามหมูลด คา IE ของธาตุต่ําสุดตามเลขหมู
5B เรียง e = 2, 3
IE1 < IE2 < IE3 << IE4 < IE5
800 2,500 3,600 25,000 32,000
สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 3
หมู/ธาตุ
สมบัติของธาตุ
I
Na
II
Mg
III
Al
IV
Si
V
P
VI
S
VII
Cl
VIII
Ar
เลขอะตอม
การจัดอิเล็กตรอน
พลังงานไอออไนเซชัน
ลําดับที่ 1 (kJ/mol)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
รัศมีอะตอม (pm)
จุดหลอมเหลว (°C)
ชนิดของธาตุ
11
2, 8, 1
502
0.9
157*
98
โลหะ
12
2, 8, 2
744
1.2
136*
649
โลหะ
13
2, 8, 3
548
1.5
125*
660
โลหะ
14
2, 8, 4
793
1.8
117*
1,410
กึ่งโลหะ
15
2, 8, 5
1,018
2.1
110*
44
อโลหะ
16
2, 8, 6
1,006
2.5
104*
113
อโลหะ
17
2, 8, 7
1,257
3.0
99*
-101
อโลหะ
18
2, 8, 8
1,527
-
192**
-189
อโลหะ
* รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส
โจทยถาม 1. การจัดเรียงธาตุ ตามคาบ/ตามหมู ใหตามหา
ก. ธาตุหมู VIII เพราะเปนธาตุไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีไดแกธาตุ 2He 10Ne 18Ar 36Kr
54Xe 86Rn
ข. ตามหาธาตุหมู VII (F)
มีคา EN (Electronegativity) สูงสุด
3Li Be B C N O F 10Ne
EN 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 -
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
10
11Na Mg Al Si P S Cl 18Ar
EN 0.9 1.2 1.5 1.8 2.1 2.5 2.8 -
ค. ตามหาธาตุหมู I เพราะวา ในทุก ๆ คาบ ขนาดหมู I ใหญสุด
โลหะ คาบ 2 3Li Be B
ขนาด(pm) 152 111 88
Li+
Be2+
B3+
60 31 20
คาบ 3 11Na Mg Al
ขนาด (pm) 186 160 143
Na+
Mg2+
Al3+
95 65 50
ธาตุในคาบ 2 6C 7N 8O 9F
ขนาด (Å) 0.77 0.70 0.66 0.64
ไอออนของธาตุในคาบ 2 N3-
O2-
F-
ขนาด (Å) 1.71 1.40 1.36
*** หมายเหตุ โลหะ ให e ไป ขนาดจะเล็กลง
อโลหะ รับ e มา ขนาดใหญขึ้น
สมบัติของสารประกอบ O2-
, Cl-
, H-
ของธาตุบางชนิด
ออกไซด (oxide)
สูตร Na2O
Na2O2
MgO Al2O3 SiO2 P4O6
P4O10
SO2
SO3
Cl2O
สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ
ของเหลว
กาซ
ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต
ความเปนกรด/เบส เบส เบส แอมโฟเทอริก กรด กรด กรด กรด
อโลหะ
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
11
คลอไรด (chloride)
สูตร NaCl MgCl AlCl3 SiCl4 PCl3
PCl5
S2Cl2
สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลว
ของแข็ง
ของเหลว
ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต
อิออนิก
โคเวเลนต
เมื่อสัมผัสกับอากาศชื้น - - ควัน ควัน ควัน ควัน
ไฮไดรด (hydride)
สูตร NaH MgH2 (AlH3)n SiH4 PH3 H2S HCl
สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ กาซ กาซ กาซ
ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต
ตัวอยางขอสอบ
1. ธาตุ K , L , และ M มีเลขอะตอม 10 , 14 , และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้งสามจะอยูในหมูและคาบใดตามลําดับ ดังนี้
หมู คาบ หมู คาบ
1. 2 , 4 , 8 และ 2 , 3 , 4 2. 4 , 8 , 2 และ 3 , 2 , 4
3. 4 , 2 , 8 และ 4 , 3 , 8 4. 8 , 4 , 2 และ 2 , 3 , 4
หลัก พิจารณาจากเลขอะตอมของหมู VIII
2He 10Ne 18Ar 36Kr………..
10K อยูในหมู VIII
ตอบ ขอ 4
2. กําหนดเลขอะตอม ของธาตุ A , B , C และ D เทากับ 13 , 19 , 20 และ 12 ตามลําดับ การเรียงขนาดอะตอม
ในขอใดถูกตอง
1. B > C > D > A 2. B > C > A > D
3. C > A > B > D 4. C > B > A > D
หลัก จากธาตุหมู VIII : 2He 10Ne 18Ar 36Kr จะไดวาธาตุที่กําหนดใหอยูในหมูและคาบใดไดและใน
ทุก ๆ คาบขนาดหมู I ใหญสุด
ตอบ ขอ 1
3. ธาตุคูใดอยูในคาบเดียวกันและอยูในหมู II – V
1. 20R 38Q 2. 13X 31Y
3. 37Z 38Q 4. 33X 20Y
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
12
หลัก จากธาตุหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr
เลขอะตอมเปนเลขคู จะอยูหมูคู (หมู II)
เลขอะตอมเปนเลขคี่ จะอยูหมูคี่ (หมู V)
ตอบ ขอ 4
4. ถาธาตุ x y และ z มีสูตรสารประกอบ X2O3 , YO และ Z2O ตามลําดับ เลขอะตอมของธาตุทั้งสามในขอใด
ที่เปนไปได
ของ X ของ Y ของ Z
1
2
3
4
37
20
13
56
31
11
56
5
56
31
37
19
หลัก จากสูตร X2O3 = 2X + 3(O) = 2X + 3O2-
(VI)
2X = 6 + , X = 3+
แสดงวา X เปนธาตุหมู III ( 5B , 13Al) ตอบ ขอ 3
กําหนดขอมูลใชกับคําถามขอ 5 – 7
กําหนดธาตุ A . B . C และ D มีเลขอะตอมเทากับ 55 , 38 , 35 และ 10 ตามลําดับ
5. ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ต่ําสุด
1. A 2. B 3. C 4. D
หลัก พิจารณาจากธาตุหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe และ IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม
ตอบ ขอ 1
6. ธาตุใดเปนโลหะซึ่งทําปฏิกิริยากับแฮโลเจนไดสารประกอบที่มีอัตราสวนจํานวนโมลของโลหะตอแฮโลเจน เปน
1 : 2
1. A 2. B 3. C 4. D
หลัก อัตราสวนจํานวนโมลของโลหะ : แฮโลเจน = 1 : 2
แสดงวา โลหะ + แฮโลเจน = ( 1 + 2 ) โมล
(A) (X)
A + X ได A + 2X = AX2
A = โลหะ คือ ธาตุ B เลขอะตอม = 38
ตอบ ขอ 2
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
13
19 29 35 37
53 5536 38
39
7. X อยูในคาบ 3 ของตารางธาตุ เมื่อรับ 1 อิเล็กตรอนมาจะเปนอิออนเหมือนแกสเฉื่อย ถา X มีอยู 2 ไอโซโทป
มีนิวตรอน = 18 และ 20 ตามลําดับ สัญลักษณนิวเคลียสของ X คือ
1. 9X 9X 2. 17X , 17Y
3. 18X , 18Y 4. 35X , 35Y
หลัก กําหนด X อยูในคาบ 3
แสดงวา มีเลขอะตอมตั้งแต 11 – 18
ตัดขอ 1 และ 4 ไป
X รับ e มา จะมีเลขอะตอม = 18 ไมได
ตอบ ขอ 2
- คาพลังงานไอออไนเซชัน IE อิเล็กโตรเนกาติวีตี EN และความเปนอโลหะของธาตุ จะเพิ่มตามคาบและจะลดลงตาม
หมู
18Ar + IE1 18Ar+
+ e1
2 . 8 . 8 2 . 8 . 7
19K + IE1 19K+
+ e1 19K+
+ IE2 19K2+
+ e2
2 . 8 . 8 .1 2 .8 . 8 2 .8 . 8 2 .8 . 7
20Ca + IE1 20Ca+
+ e1
2 . 8 . 8 . 2 2 . 8 . 8 . 1
20Ca+
+ IE2 20Ca2+
+ e2 20Ca2+
+ IE3 20Ca3+
+ e3
2 . 8 . 8 . 1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7
ตัวอยาง 8. พิจารณาขอกําหนดตาง ๆ ตอไปนี้
ก. 19A ข. B เรียงอิเล็กตรอน = 2 . 8 . 8
ค. สูตรคลอไรดของ X = XCl3 และ X อยูในคาบ 3
ง. ธาตุ Y เรียงอิเล็กตรอน = 2 . 8 . 6
การเรียงคาพลังงานไอออนไนเซชันลําดับที่ 1 ขอใดถูกตอง
1. B > Y > X > A 2. A > X > Y > B
3. A > Y > X > B 4. B > X > A > Y
หลัก ตามหาหมู VIII , VII , VI กอน
ตอบ ขอ 1
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
14
2 พันธะเคมี
ชนิดของพันธะ ชนิดของธาตุที่เกิดพันธะกัน หลักการ
พันธะอิออนิก โลหะ + อโลหะ **มีการรับ/ใหอิเล็กตรอน**
-โลหะ (EN&IE ต่ํา) ให ë เกิดเปน cation ขนาด
-อโลหะ (EN&IE สูง) รับ ë เกิดเปน anion ขนาด
พันธะโคเวเลนท อโลหะ + อโลหะ ใชอิเล็กตรอนรวมกัน
พันธะโลหะ โลหะ + โลหะ อิเล็กตรอนวิ่งไปทั่ว (ทะเลอิเล็กตรอน) ทําให
- นําไฟฟาได - เปนมันวาว - เหนียว
พันธะไฮโดรเจน เกิดจากสารประกอบที่มี
- H ตอ “N” คือ NH3
- H ตอ “O” คือ H2O , R’OH ,
RCOOH
- H ตอ “F” คือ HF
อยูระหวางพันธะอิออนิกและโคเวเลนต
เกิดประจุบางสวน (δ+
/δ-
)
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
15
รูปรางโมเลกุล
e-
คูสรางพันธะ *e-
คูวาง รูปราง มุม (องศา)
2 -
โซตรง
BeCl2, HgCl2
180
2 1
มุมงอ
2
SO2 , O3 , NO2
-
, H2O , ClO2
-
104.5
3
สามเหลี่ยมแบน
ราบ
BF3 , SO3 , CO3
2-
, CH2O, NO3
-
120
3 1
ปรามิดฐาน
สามเหลี่ยม
NH3 , PH3 , SO3
2-
, ClO3
-
, H3O+
107.3
4 -
รูปเหลี่ยมสี่หนา
CH4 , SiH4 , NH4
+
, SO4
-
, ClO4
-
109.5
5 -
ปรามิดคูฐาน
สามเหลี่ยม
PCl5
120.90
6 -
รูปเหลี่ยมแปด
หนา
SF6
90
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
16
•• ••
ตัวอยางขอสอบ 9. พิจารณาแผนภาพแสดงกลุมหมอกอิเล็กตรอนและอะตอมที่สรางพันธะกัน 3 ชนิด
สารในขอใดมีการสรางพันธะตามแบบ ก ข และ ค ตามลําดับ
1. CO Mg HCl 2. O2 F2 CO
3. CO Ca HCl 4. F2 Mg CO
หลัก ก อโลหะ + อโลหะ ชนิดเดียวกันรวมกัน
ข โลหะ + โลหะ เปนโลหะชนิดเดียวกัน
ค อโลหะ + อโลหะ ตางชนิดกัน
ตอบ ขอ 4
10. โมเลกุลและไอออนในขอใดที่มีรูปรางเหมือนกันหมด
1. H2S CO2 O3 2. CS2 CO2 O3
3. CS2 NO2
-
CO2 4. O3 H2S NO2
-
หลัก พิจารณา ธาตุหมู IV คือ “C” กอน
เพราะวา C มี Valence electron = 4
สรางได 4 พันธะ
ตามขอ 1 , 2 และ 3 มีสารประกอบ CO2
CO2 = C + 2(O)
- หมู VI
- สารได 2 พันธะ
โครงสราง CO2 จึงเปน O = C = O
แต O3 และ NO2
-
มีโครงสรางเปน O N
O O , O O-
ตอบ ขอ 4
11. กําหนดธาตุ X , Y และ Z มีเลขอะตอม 17 , 35 , 54 ตามลําดับ จงพิจารณาสารประกอบตอไปนี้
ก. XF3 ข. YF5 ค. ZF2
สารประกอบในขอใดบางที่อะตอมกลางมีจํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวมากกวา 1 คู
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
17
•
•
•
•
•
••
• •
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
n = 3
n = 2
n = 1
n = 3
n = 2
n = 1
n = 3
n = 2
n = 1
1. ก เทานั้น 2. ค เทานั้น 3. ก และ ข 4. ก และ ค
หลัก ตามหาหมูธาตุที่จะสรางพันธะครบ 8 ตามกฎ Octet
X , Y , Z เปนธาตุหมู VII , VII และ VIII ตามลําดับ
ตอบ ขอ 3
12. พิจารณาแผนภาพตอไปนี้
7p 7p 7p
7m (1) 7n (2) 7n (3)
รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของอะตอมไมถูกตอง
1. (1) และ (2) เทานั้น 2. (2) และ (3) เทานั้น
3. (1) และ (3) เทานั้น 4. (1) (2) และ (3)
หลัก การเรียงอิเล็กตรอน (7) = 2.5
ตอบ ขอ 4
13. กําหนดขอมูลของธาตุ X Y และ Z มีดังนี้
I ธาตุ X มี IE1 < IE2 << IE3 < IE4
II ธาตุ Y อยูในหมูเดียวกัน 13Al
III ไอโซโทปของ Z ไมมีนิวตรอน
สูตรของสารประกอบ ซัลไฟดของ X , Y และ Z ควรเปนดังขอใด
1. XS Y2S3 Z2S 2. XS Y2S3 ZS
3. XS Y3S2 ZS 4. XS Y3S2 Z2S
หลัก ธาตุ X อยูหมู II จะเปน X2+
, Y เปนธาตุหมู III จะเปน Y3+
ธาตุ Z จะเปน H จะเปน H+
ในซัลไฟด S2-
ตอบ ขอ 1
14. กําหนดพลังงานพันธะ ( kJ/mol )
H – H = 436 H – F = 587 F – F = 159 Cl – Cl = 242
H – I = 298 Cl – F = 253 I – I = 151
การเปลี่ยนแปลงในขอใดเปนกระบวนการดูดพลังงาน
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
18
13
1. H2(g) + F2(g) 2HF(g) 2. Cl2(g) + F2(g) 2ClF(g)
3. 2HI(g) H2(g) + I2(g) 4. C(g) + 2O(g) CO2(g)
หลัก สราง(พันธะ) คาย ( พลังงาน ) สลาย ( พันธะ ) ดูด ( พลังงาน )
ตอบ ขอ 4
15. A เปนธาตุหมู V คาบที่ 3 B มีเลขอะตอมสูงกวา B อยู 5 และมีเลขมวล 40 C เปนธาตุที่อยูถัดจาก C ไปทางขวาและมี
นิวตรอนมากกวา B อยู 5 ขอสรุปใดผิด
1. สัญลักษณทางนิวเคลียรของ C คือ C
2. คา IE1 เปรียบเทียบกันไดดังนี้ B < C < A
3. C เปนธาตุที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังนี้ 2 . 8 . 9 . 2
4. B เปนโลหะทรานสิชัน
3 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี
วาดวย 1. โมลของธาตุและสารประกอบ
2. กฎทรงมวลแหงสสาร
3. สมการเคมี
ตองรู มวลของธาตุ X 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu
มวลของสารประกอบ 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1 amu
1amu = 1 atomicmass unit = 1 x 1.66 x 10-24
s
ธาตุมาตรฐาน คือ H – 1 , C – 12 , O – 16
โมล , มวล (กรัม) จํานวนอะตอม (หรือ ion)
มี 3 คา 1 mol (atom)
(มวลอะตอม) g C 6.02 x 1023
atom
1 โมล P = 6
(มวลอะตอม) g C 6.02 x 1023
atom e = 6 ( 6C )
n = 13 – 6
มวล 1 อะตอมเฉลี่ย =
(ของไอโซโทป)
Σ % x มวล
100
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
19
xy
M(g)
V
P1V1
T1
P2V2
T2
โมล มวล (กรัม) จํานวนโมเลกุล
มี 4 คา
1 โมล 22.4 dm3
ที่ STP (gas)
(มวลโมเลกุล)g 6.02 x 1023
โมเลกุล
สูตร (ธาตุ + ธาตุ ) อะตอม = Σ มวลอะตอม
X mol
1000
MV
106.02
N
22.4
V
Mr
DV
Mr
g
23
=
×
====
หา ปริมาตร (V) จากความหนาแนน (D) ไดจากสูตร
D =
กาซ มีสูตร 2 สูตรใช คือ
= และ PV = nRT มาจากการรวมสูตรแกสของ Boyle และ Charles
กฎตางๆ เกี่ยวกับแกสคือ
A = Avogadro B = Boyle
C = Charles D = Dalton
ทฤษฎีจลนของแกส KE = mv2
ทฤษฎีของแกรแฮม = =
กฎทรงมวลแหงสสาร มีใจความวา
มวลกอนทําปฏิกิริยา ตองเทากับมวลหลังปฏิกิริยา
สมการเคมี
1. Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g)
2. AgNO3 + NaCl AgCl(s) + NaNO3
( -1 ) ( -1 )
3. 2MnO4
-
+ 16H+
+ 5C2O4
2-
2Mn2+
+ 8H2O + 10CO2
ตัวอยาง 1 เมื่อนําของแข็ง 4 ชนิด ไปเผาทีละชนิดในถวยกระเบื้องที่อุณหภูมิ 200°C ไดผลดังนี้
สาร มวลกอนเผา มวลหลังเผา (เมื่อเย็นลงแลว)
A a a
1
2
V1
V2
M2
M1
√¯ d2
d1
√¯
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
20
a
bc
b
ac
ac
b
ab
c
ac
b
B b < b
C c c
D d < d
สมการใดสอดคลองกับผลการเผาสาร
1. A(s) D(l) + C(g)
2. B(s) Q(s) + X(g)
3. C(s) R(s) + Y(g)
4. D(s) D(l)
หลัก มวลกอนเผา ตองเทากับมวลหลังเผา
ถามีแกสเกิดขึ้น ระเหยได ตองกําหนดวาปดฝามวลจึงจะคงที่
ตอบ ขอ 2
2. ธาตุ A 1010
อะตอม มีมวล = a กรัม ถาใชสาร B 1 อะตอม ซึ่งมีมวล = b กรัม เปนมาตรฐาน ธาตุ A มีมวล
อะตอมเทากับ
1. 2. 3. 4. 10-10
b
หลัก มวลอะตอม =
ตอบ ขอ 2
3. มวลของธาตุ ก 1 อะตอมมีคาเทากับ a กรัมแตมวลอะตอมของ ก มีคาเทากับ b สวนมวลอะตอมของธาตุ ข เทากับ
c มวลของธาตุ ข 1 อะตอมมีคาเทากับกี่กรัม
1. 2. 3. 4.
หลัก มวลของธาตุ ก 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu
แทนคา a = b (1amu) ……………..(1
มวลของธาตุ ข 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu
X = C(1amu) ……………..(2
2/1 X/a = c/b , X =
ตอบ ขอ 3
4. พิจารณา
ก. แกสคารบอนไดออกไซด 18 x 1023
โมเลกุล
ab
1010
10-10
a
b
10-10
b
a
มวล 1 อะตอมของธาตุใด ๆ
มวล 1 อะตอมของธาตุมาตรฐาน
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
21
ข. โซเดียมไอออน 15 x 1023
ไอออน
ค. ฟอสฟอรัส 0.602 x 1023
อะตอม
ง. ตะกั่ว 1 อะตอม
การเปรียบเทียบจํานวนโมลในขอใดถูกตอง
1. ก > ข > ค > ง 2. ข > ค > ง > ก
3. ค > ง > ก > ข 4. ง > ก > ข > ค
หลัก โจทยถามสารใดมีจํานวนโมลมาก
6.02 x 1023
อนุภาค = 1 โมล
(อนุภาค = อะตอม โมเลกุล ไอออน )
ตอบ ขอ 1
5. ไอโซออกเทน (C8H18) เปนไฮโดรคารบอนที่อยูในน้ํามันเบนซีนถาไอโซออกเทน 1 โมลเผาไหมกับแกสออกซิเจนมาก
เกินพอ เกิดแกส CO2 และ H2O และใหพลังงานออกมาเทากับ 3800 kJ ถาเผาไหมเอทานอล (C2H5OH) แทนไอโซ
ออกเทนใหไดแกส CO2 เทากับการเผาไหมไอโซออกเทน 1 โมล การเผาไหมเอทานอลจะไดพลังงานออกมามากกวา
การเผาไหมไอโซออกเทน 1 โมล กี่กิโลจูล (กําหนดใหพลังงานที่ไดจากการเผาไหมเอทานอล 1 โมล เทากับ 1 ,100
kJ )
1. 600 2. 1,200 3. 2,450 4. 2,700
หลัก โจทยเผา C8H10 8CO2 , ∆H = 3,800 kJ
เผา C2H5OH 2CO2 , ∆H = 1,100 kJ
ตองการ CO2 จาก C2H5OH = 8CO2
ตองเผา 4C2H5OH 8CO2 , ∆ H = 1,100 x 4
ตอบ ขอ 1
ขอมูลตอไปนี้ใชตอบขอ 6 – 7 ( มวลอะตอมของ X = 27 มวลโมเลกุลของออกไซด = 102 )
ครั้งที่ X (กรัม) O2 (กรัม) ออกไซดของ X (กรัม)
1
2
3
4
1
2
3
4
5
5
5
5
1.88
3.76
5.67
7.56
6. จงหาสูตรอยางงายของออกไซดของ X
1. XO2 2. X2O3 3. X3O4 4. X2O5
หลัก 1. ตามกฎทรงมวลแหงสสาร
ครั้งที่ 1 : X + O ออกไซด
1 กรัม ……... 1.88 กรัม
มวล ออกซิเจน = 1.88 – 1 = 0.88
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
22
1
27
0.88
16
mol A
mol B
M1V1/1000
M2V2/1000
9 x 2
3 x 4
3
2
235 142
238
238
0
• • • • • •
2 4 6
2. หาสัดสวนจํานวนโมลอยางต่ําเพื่อหาสูตรอยางงาย
X : O = : = 2 : 3
สารประกอบ = 2X + 3(O) = X2O3
ตอบ ขอ 2
7. มวลโมเลกุลในสูตรหนักเปนกี่เทาของมวลโมเลกุลในสูตรอยางงาย
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
หลัก (สูตรอยางงาย) n = สูตรโมเลกุล = มวลโมเลกุล
= ( X2O3)n = 102
= [2 x + 3(O) ]n = 102
( 2 x 27 + 3 x 36 )n = 102 , n = 1
ตอบ ขอ 1
8. สารละลาย A เขมขน 9 mol/dm3
ปริมาตร 2 cm3
ถาเติมสารละลาย B เขมขน 3 mol/dm3
ลงไปเรื่อยๆ จะมี
ตะกอนเกิดขึ้น เมื่อเขียนเปนกราฟระหวางน้ําหนักตะกอนกับปริมาตรของสารละลาย B จะไดดังนี้
สารละลาย A สารละลาย B
BaCl2
H3PO4
H2SO4
CaCl2
H2SO4
CaCl2
BaCl2
H3PO4
หลัก A + B C + D
9 M, 2cm3
3 M , 4 cm3
= = =
3A + 2B ตะกอน
พิจารณาประจุหรือเลขออกซิเดชันรวมของไอออนบวกของสองสารกอนแลวทําใหเทากัน
ตอบ ขอ 4
9. พิจารณาสมการ
I ) 0
1
n + 92U 56Ba + A + 3นิวตรอน
II ) 92U + α B + นิวตรอน
III) 92U +2
1H C + 2นิวตรอน
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
23
1
2
3
4
8
6.4 x 1022
เลขมวลและเลขอะตอมตามลําดับของธาตุ A , B และ C คือขอใด
A B C
90 , 36
91 , 36
91 , 36
90 , 36
241 , 94
241 , 94
237 , 92
237 , 92
239 , 93
238 , 93
239 , 93
238 , 93
หลัก ตองรูอนุภาค n neutron คือ 0
1
n
α alpha คือ 4
2He
ในปฏิกิริยาเคมีนิวเคลียส จะไดวา
เลขมวลของสารตั้งตน = เลขมวลของผลิตภัณฑ
เลขอะตอมของสารตั้งตน = เลขอะตอมของผลิตภัณฑ
จาก 1) 1 + 235 = 142 + ? + 3 , ? = 91
โอกาสถูก 2 กับ 3
2) 238 + 4 = ? + 1 , ? = 241
ตอบ ขอ 2
10. ธาตุโลหะสมมุติชนิดหนึ่งมีมวลอะตอม 301 หนัก 32 g นํามาทําเปนทรงกลมที่มีรัศมีเทากัน 2 cm พอดี หากตั้ง
สมมุติฐานวา อะตอมของโลหะนี้เปนทรงกลม รัศมีของอะตอมของโลหะนี้มีกี่พิโกเมตร
1. 1000 2. 500 3. 250 4. 100
หลัก 1. 6.02 x 1023
อะตอมโลหะ = (มวลอะตอม) g= 1 โมล
2. ปริมาตรทรงกลม = 4/3πr3
( และอะตอม )
32กรัมของโลหะ = 32g
= 6.4 x 1022
อะตอม
ปริมาตรโลหะ 6.4 x 1022
= 4/3 x π x 23
cm3
1 อะตอม = X cm3
=
และปริมาตรทรงกลมของ 1 อะตอม = 4/3πR3
cm3
4/3 x π R3
= 4/3 x π x
1 mol
301 g
6.02 x 1023 at
1 mol
X
1
(4/3) (π) x 8
6.4 x 1022
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
24
R3
= 1.25 x 10-22
= 125 x 10-24
cm3
R = 5 x 10-8
cm x 1 pm / 10-10
cm
= 500 pm
ตอบ ขอ 2
4 ของแข็ง ของเหลวและแกส
การจําแนกสสาร
ธาตุ
สารบริสุทธิ์
สารประกอบ
สสาร สาร
(Matter) (substance) สารเนื้อเดียว
สารผสม
ของผสม
ตัวอยางขอสอบ
1. สารในขอใดจัดเปนสารประกอบทั้งหมด
1. ทองแดง เงิน นาก 2. หินปูน นาก เกลือแกง
3. น้ํา กรดน้ําสม เกลือแกง 4. น้ํา ทองแดง เงิน
หลัก ธาตุ = สารบริสุทธิ์ เนื้อเดียว ไดแก โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
ทองแดง , เงิน เปนโลหะ
นากเปนของผสมเนื้อเดียว คือ Au – Cu
ตอบ ขอ 3
2. ขอใดที่ยกตัวอยางสารแตละประเภทไดถูกตอง
ธาตุ สารประกอบ สารละลาย คอลลอยด สารแขวนลอย
1.
2.
3.
4.
Ne
Na
Fe
O3
S8
Cl2
Fe2O3
H2O
3%H2O
น้ําสมสายชู
น้ําโซดา
อากาศ
กาวน้ํา
ควันไฟ
น้ํามันดีเซล
น้ําเตาหู
น้ําแปง
น้ําสบู
น้ําสลัด
น้ําโคลน
หลัก ตัดขอ 1 , 2 ทิ้งไป ∴ S8 , Cl2 เปนธาตุ
ตัดขอ 3 ไป น้ํามันดีเซลไมใช Colloid
ตอบ ขอ 4
3. ใสน้ําแข็ง 100 กรัม และโซเดียมคลอไรดมีปริมาณเล็กนอยลงในแกวปดสนิท และวางไวที่อุณหภูมิหอง (30°C)
ปลอยใหน้ําแข็งละลาย เกี่ยวกับระบบนี้ขอความใดถูกตอง
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
25
8
สเกล(ซม.)
6
4
2
0
1. ระบบมีการเปลี่ยนแปลงแบบคายพลังงาน เพราะในที่สุดน้ําจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น
2. ไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม
3. มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง
4. ระบบมีพลังงานเพิ่ม
หลัก จากโจทยบอก น้ําแข็ง + NaCl ในแกวปดสนิท ปลอยใหน้ําแข็งละลาย แสดงวาเปน
ประเภทดูดพลังงาน
น้ําแข็ง น้ํา เปนการเปลี่ยนสถานะ ตอบ ขอ 4
4. กําหนดขอมูลจากการทําโครมาโตรกราฟ สารมีสี 5 ชนิด
สาร A B C D E
ระยะทางการเคลื่อนที่ของสาร(ซม.)
ระยะทางการเคลื่อนที่ของตัวทําละลาย(ซม.)
12.00 9.0 6.0 9.6 9.3
15.00 15.00 15.00 15.00 15.00
ถานําของผสมของสารทั้ง 5 ชนิด ทําโครมาโตรกราฟโดยใหตัวทําละลายเคลื่อนที่ไป 10 ซม. ผลลัพธจะเปนดังรูปใด
( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) (4 )
หลัก Rf =
จากโจทย สารเคลื่อนที่ต่ําสุดและสูงสุดมีคาเดี่ยว
∴ ตัดขอ (1) และ (4) ไป
สาร B , E , D มีระยะทางเคลื่อนที่ 9.0 9.3 9.6 ซม.
เพิ่มขึ้น ∴ ตัดขอ 2 ไป
ตอบ ขอ 3
5. นําของเหลว A มากรองผานเซลโลเฟนจะไดของเหลว B สวนของเหลว C ที่คางอยู ในเซลโลเฟน นําไปกรองดวย
กระดาษกรองไดของเหลว C และไมมีสารตกคางอยูบนกระดาษกรอง
ขอสรุปใดที่เปนไปไมได
ระยะทางที่สารเคลื่อนที่
ระยะทางที่ตัวทําละลายเคลื่อนที่
จุดเริ่มตน
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
26
1. A เปนสารแขวนลอย
2. อนุภาคของเหลว B มีเสนผาศูนยกลางนอยกวา 10-7 ซม.
3. ของเหลว C แสดงปรากฎทินดอลล
4. B เปนสารละลาย
หลัก สารแขวนลอย เปนสารผสมระหวางของแข็งกับของแข็งโจทยกําหนด A เปนของเหลวกรองไดของเหลว B +
C ตอบ ขอ 1
6. ขอใดตอไปนี้จัดเปนคอลลอยดประเภทอีมัลชัน ทั้งหมด
1. นม เนย หมอก 2. นม เนย มายองเนส
3. ควันบุหรี่ สเปรย หมอก 4. ควันบุหรี่ หมอก เนย
หลัก จากโจทย ขอ 1 , 3 , 4 มีหมอก
เราตองรูวา หมอกเปนของผสมระหวาง น้ํา กับ อากาศ เปน aerosol
7. ของผสม ก. AgNO3 + H2O ข. AgCl + NH3
ค. AgCl + H2O ง. C17H35COOH + H2O
ขอใดที่สามารถแยกดวยการกรองได
1. ก กับ ข 2. ข กับ ค 3. ค กับ ง 4. ง กับ ก
หลัก สารประกอบของหมู 1 Li , NH4
+
, NO3
-
ละลายน้ําได
Na
K
สารประกอบ Cl-
, Br-
, I-
ของ Ag+
, Hg2
2+
และ Pb2+
ไมละลายน้ํา
ผูเรียนตองรูวา AgCl ไมละลายน้ําแตละลายในน้ํา NH3
ตัด ขอ ก และ ข ทิ้งไป
ตอบ ขอ 3
สารละลาย
1. กรดอินทรียชนิดหนึ่งเปนของเหลว มีความหนาแนน 2.0 กรัม / ซม3
เมื่อละลายน้ําไดความเขมขนในหนวยตาง ๆ ดัง
นี้
ก. a โมแลว ข. b mol / dm3
ค. x % โดยมวล ง. y % โดยมวล / ปริมาตร
ถาความหนาแนนของน้ํา = 1 กรัม / ซม.3
การเปรียบเทียบคา a , b , x, y ในหัวขอใดถูกตอง
1. a > b : x > y 2. a < b : x > y
3. a > b : x < y 4. a < b : x < y
หลัก สมมติของเหลว = 10 cm3
ผสมกับน้ํา = 1000 cm3
มวลของเหลว = 10 cm3
x 2g/cm3
= 20 g
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
27
มวลของน้ํา = 1000 cm3
x 1g/cm3
= 1000 g
สมมติมวลโมเลกุลของของเหลว = M
ก. a โมแลล ข. b mol / dm3
โมลสาร โมลสาร
20 / M 20 / M
1000 g น้ํา ปริมาตรน้ํา + ของเหลว
(1000 + 10 ) cm3
ค. x% โดยมวล ง. Y% โดยมวล / ปริมาตร
มวลสาร 20 g มวลสาร 20 g
มวลน้ํา + มวลสาร ปริมาตรน้ํา + ปริมาตรสาร
(1000 + 20 ) g (1000 + 10 ) cm3
ตอบ ขอ 3
คําชี้แจงขางลางนี้ใชตอบคําถามขอ 2 – 3
สาร มวลโมเลกุล ความเขมขนในเบนซีน การแตกตัวใน
เบนซีน
จุดเดือด C Kb
X
Y
Z
เบนซีน
150
180
200
78
7.5 กรัม / 500 กรัม
1.8 กรัม / 100 กรัม
4.0 กรัม / 200 กรัม
ไมแตกตัว
ไมแตกตัว
ไมแตกตัว
80.10 2.531
2. ขอความใดถูกตอง
1. สารละลาย X มีจุดเดือดต่ํากวาสารละลาย Y
2. สารละลาย Y มีจุดเดือดต่ํากวาสารละลาย Z
3. สารละลาย Z มีจุดเดือดสูงกวาสารละลาย X
4. สารละลาย X , Y และ Z มีจุดเดือดเทากัน
หลัก กําหนดจุดเดือดของสารละลาย แสดงวาสารละลายตองมีความเขมขนเปน molal คือ ตัวถูกละลายเปน mol / ตัว
ทําละลายเปน 1 kg
จํานวน molal ของ X = = 0.1
7.5 กรัม
500 กรัม
1 mol
150 กรัม
1000 กรัม
1 kg
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
28
1.8 กรัม
1000 กรัม
1 mol
180 กรัม
1000 กรัม
1 kg
W1
M1
1000
w2
4.56
M
1000
100
จํานวน molal ของ Y = = 0.1
ตอบ ขอ 4
3. สารละลาย X มีจุดเดือดเทาใด (°C)
1. 80.35 2. 82.67 3. 84.10 4. 87.69
วิธีทํา จุดเดือดสารละลาย = จุดเดือดตัวทําละลาย + ∆Tb
Tb = mKb
จุดเดือดสารละลาย = 80.10 + 0.1 x 2.53 = 80.35
ตอบ ขอ 1
4. 0.57 กรัมของกรดอินทรียออน โมโนโปรติกชนิดหนึ่ง ทําปฏิกิริยาพอดี 25 cm3
0.1 M ของ NaOH เมื่อนํากรดนี้
มา 4.56 กรัม ไปละลายในเบนซีน 100 กรัม จุดเยือกแข็งลดลง 0.512°C ถาสารนี้ 1 โมลละลายในเบนซีน 1000
กรัม ทําใหจุดเยือกแข็งของสารละลายลดลง 5.12 °C ขอสรุปขอใดถูกตอง
1. มวลโมเลกุลของกรดในน้ํา = 456 2. กรดมีไฮโดรเจนที่ถูกแทนที่ได 2 อะตอม
3. กรดนี้แตกตัวไดหมดในน้ํา 4. มวลโมเลกุลของกรดในเบนซีน = 456
หลัก โจทยบอกกรดละลายในเบนซีน และเปนกรดออน เปนโมโนโปรติกสูตรทั่วไป = HX
วิธีทํา ∆Tf = Kf
0.512 = 5.12
M = 456 (ในเบนซีน)
ตอบ ขอ 4
5. ของเหลว x เปนสารบริสุทธิ์มีมวลโมเลกุล = 100
และมีความหนาแนน = a g/cm3
ถานําของเหลว x นี้มา y cm3
อยากทราบวา มีกี่โมล กี่โมเลกุล
1. ax/100 , ax/100(6.02 x 1023
)
2. xy/100 , xy/100(6.02 x 1023
)
3. axy/100 , axy/100(6.02 x 1023
)
4. ay/100 , ay/100(6.02 x 1023
)
หลัก ของเหลวชื่อ x คําตอบมี x ไมได
ตอบ ขอ 4
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
29
ของเหลว x มีกี่โมล
y cm3
ของของเหลว
ay
100
วิธีคิด =
ของเหลว x = โมล
5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี Rate: R
พิจารณาจาก สมการ
aA + bB cC + dD
จะไดวา R ของปฏิกิริยาเคมี = - 1/aRA = -1/bRB
= +1/cRC = +1/dRD
เชน Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g)
Rของปฏิกิริยา = -RMg = -1/2RHCl = +RMgCl2 = RH2(g)
Rate ของปฏิกิริยาหาไดจากการทดลอง จากสมการขางบนนี้
จะได R = k[A]x
[B]y
x , y = อันดับของสาร A และสาร B
x + y = อันดับรวมของปฏิกิริยา
อิทธิพลที่มีผลตอ Rate
1. ความเขมขน 2. ธรรมชาติของสาร
3. อุณหภูมิ 4. คะตะไลท
กราฟของ Rate คือ เรง (cat +) หนวง (cat -)
E2
E2 E2
E
E E3 E
E1 E3 E1 ∆E E1 E3
เวลา เวลา เวลา
(1) (2) (3)
1 โมล
100 g
a (g)
1 cm3
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
30
E2
Eaf Ear N2 + 3H2 2NH3 + E
E1 ∆E = E3 – E1 = Eaf – Ear
∆E E3 = + (ดูด Energy)
= - (คาย Energy)
1. เมื่อใส 1.0 M HCl 75 cm3
ลงในหินปูนชิ้นเล็ก ๆ จะมีแกสคารบอนไดออกไซดเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงในขอใด
ไมทําใหอัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาเริ่มตนเพิ่มขึ้น
1. ใช 1 M HCl 100 cm3
2. ใช 2 M HCl 25 cm3
3. ใช 2 M HCl 50 cm3
4. ใชบดหินใหละเอียดเปนผง
หลัก สารตั้งตนมีมาก เกิดปฏิกิริยาไดมาก
สารตั้งตนมีนอย เกิดปฏิกิริยาไดนอย
∴ R α [ ]
สารตั้งตนคงที่ อัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาก็จะคงที
ตอบ ขอ 1
2. มีสาร 3 ชนิด A , B และ C ทําปฏิกิริยากันจะไดสาร D แตถาเลือก 2 ชนิดที่เหมาะมาทําปฏิกิริยากันพบวาจะได
ผลิตภัณฑเหมือนกัน แตใชเวลานานกวา ปฏิกิริยาในการผสมสาร 3 ชนิดเกิดขึ้น 2 ขั้นดังนี้
A + C AC
AC + B D + C
ขอใดผิด
1. สาร 2 ชนิดที่เหมาะสมที่นํามาผสมกันคือ A และ B
2. สาร C เปนตัวเรงปฏิกิริยา
3. สาร AC ไมอยูตัว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงได
4. ถาผสม A กับ C เขาดวยกัน A จะเปนตัวหนวงปฏิกิริยา
หลัก จาก 2 สมการใหพิจารณา
สารตั้งตนของสมการแรก ผลิตภัณฑจากสมการสุดทาย
จะไดวา C เปนตัวเรงปฏิกิริยา
∴ สารตั้งตนที่เกิดปฏิกิริยาชา คือ A + B
ตอบ ขอ 4
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
31
0.0033
25
0.0039
15
0.0077
7.5
3. ปฏิกิริยา A + B C + D เปนปฏิกิริยาดูดความรอนและมีคาพลังงานของการเกิดปฏิกิริยา = 25 kJ/molพลังงาน
กอกัมมันตของปฏิกิริยานี้จะเทากับเทาใด
1) - 25kJ/mol 2) นอยกวา +25 kJ/mol
3) มากกวา +25 kJ/mol 4)อาจมากกวาหรือนอยกวา +25kJ/mol
หลัก E ของการเกิดปฏิกิริยา = Eaf – Ear = + ดูดพลังงาน
โจทยถามพลังงานกอกัมมันต = ถาม Eaf ของปฏิกิริยา
ตอบ ขอ 3
4. แกส NO2 สลายตัวตามสมการ
2NO2(g) 2NO(g) + O2(g)
ถาอัตราการสลายตัวของ NO2(g) เทากับ 4.4 x 10-5
M/sec อัตราการเกิด O2(g) จะเปนเทาใดในหนวย M/sec
1. 1.1 x 10-5
2. 2.2 x 10-5
3. 4.4 x 10-5
4. 8.8 x 10-5
หลัก จาก 2NO2 2NO + O2
จะไดวา R ของปฏิกิริยา = -1/2RNO2 = -1/2RNO = +RO2
RO2 = 1/2RNO2 = ½ x 4.4 x 10-5
ตอบ ขอ 2
5. จากการศึกษาปฏิกิริยา A + B C ซึ่งเปนปฏิกิริยาขั้นตอนเดี่ยวที่ 25C มีขอมูลดังนี้
[A] M [B] M เวลา(sec) [C] M
0.10
0.10
0.20
0.05
0.10
0.10
25
15
7.5
0.0033
0.0039
0.0077
ขอสรุปใดเปนขอถูก
1. เมื่อ [A] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา
2. เมื่อ [B] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา
3. เมื่อ [A] , [B] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา
4. เมื่อ [A] เพิ่ม 3 เทา , [B] เพิ่ม 2 เทา Rate เพิ่ม 3 เทา
หลัก R = k[A]n
[B]m
(1) = k(0.10)n
(0.05)m
(2) = k(0.10)n
(0.10)m
(3) = k(0.20)n
(0.10)m
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
32
(2)
(1)
(3)
(2)
และ จะได R = k[A]2
[B]1
ตอบ ขอ 1
6. สาร X สามารถสลายตัวไดดังสมการ 3X 5Y + 6Z เมื่อวัดความเขมขนของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลาย
ตัวพบวาไดขอมูลดังตารางตอไปนี้
เวลา (วินาที) [X] mol/dm3
0.00 1.000
5.00 0.850
10.00 0.750
15.00 0.700
20.00 0.670
ที่เวลา 5.00 วินาที จะมีสาร Y เขมขนกี่ mol/dm3
1. 0.15 2. 0.25 3. 0.85 4. 1.42
หลัก ที่ 5.00 วินาที สาร X ที่ใชไป = 1.000-0.850 = 0.150 mol/dm3
จากสมการ ใชสาร X 3 โมล ไดสาร Y = 5 โมล
0.150 โมล = 250.0150.0
3
5
=× โมล
ตอบขอ 2
7. สาร A และสาร B ทําปฏิกิริยากันดังสมการ 2CBA →+ เมื่อใชสาร A 0.2 M จํานวน 3 cm3
ผสมกับสาร B 0.2 M
จํานวน 3 cm3
จับเวลาทันทีที่สารผสมกัน หลังจากเวลาผานไป 10 วินาที นําสารละลายผสมไปวิเคราะหหาจํานวนโมลของ
C ปรากฏวามีสาร C เกิดขึ้น 2.3 × 10-4
โมล อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีคาเทาใด
1. ระยะทางที่ระดับสารลดลงใน 1 วินาที
2. ความเขมขนของสาร C ที่เกิดขึ้น/เวลา = 0.23 × 10-4
โมล
3. ความเขมขนของสาร A ที่ลดลงตอเวลา = 0.38 × 10-4
โมล/วินาที
4. อัตรการลดลงของ A มีคาเทากับ 0.19 × 10-2
โมล/วินาที
หลัก 2CBA →+
ใช CBA
R
2
1
RR ==
[ ]
10s
1
1L
1000cm
6cm
mole102.3
t
C
R
3
3
4
C
−
×
==
10L.s6
mol10102.3 34
×
××
=
−
∴ mol/L.s
6
102.3
2
1
R
2
A
−
×
=
= 0.19 × 10-2
mol/L.s
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
33
1
อุณหภูมิ
1
อุณหภูมิ
ตอบขอ 4
6 สมดุลเคมี
1. อิทธิพลที่มีผลตอสมดุล
1. ความเขมขน 2. ความดัน
3. อุณหภูมิ
2. จากปฏิกิริยา
1. N2(g) + 3H2(g) 2NH3 + ∆H K1
2. N2O4(g) + ∆H 2NO2(g) K2
ปฏิกิริยาที่ 1 ประเภทคายพลังงาน จะได K α
ปฏิกิริยาที่ 2 ประเภทดูดพลังงาน จะได K α อุณหภูมิ
3. 1) N2 + 3H2(g) 2NH3 + ∆H , K1
2) 2NH3 + ∆H N2 + 3H2 K2
จะไดวา K2 = 1/K1
3) NH3 + ∆H 1/2N2 + 3/2H2 K3
จะไดวา K3 = (1/K1)1/2
และ K3 = (K2)1/2
1. รูปตอไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A + B C + D + E
A + B C + D + E
เวลา
จากการทดลองคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิตาง ๆ ไดผลดังนี้
อุณหภูมิ คาคงที่
25
35
45
X
Y
Z
จงเรียงลําดับของคา X , Y , Z ไดดังขอใด
1. X > Y > Z 2. X < < Z 3. X = Y = Z 4. X < Y > Z
หลัก จากกราฟพลังงานกับเวลา เปนปฏิกิริยาคายพลังงาน คา K α
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
34
[ผลิตภัณฑ]
[สารตั้งตน]
ตอบ ขอ 1
2. ถาการเกิดปฏิกิริยาของ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) ไปขางหนาจะเปนปฏิกิริยาคายความรอน ถา
ตองการใหไดผลผลิตภัณฑมากที่สุดควรจะทําอยางไร
1. ทําที่อุณหภูมิต่ํา ความดันสูง
2. ทําที่อุณหภูมิต่ํา ความดันต่ํา
3. ทําที่อุณหภูมิสูง ความดันสูง
4. ทําที่อุณหภูมิสูง ความดันต่ํา
หลัก จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) + ∆H
ตองการ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) + ∆H
เติมสารซาย ลดสารขวา ≡ เคมีจะเกิดจากซาย ขวา เพิ่มความดัน ปริมาตรจะลด ตามกฎของ Boyle
ตองลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน
ตอบ ขอ 1
3. จากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เมื่อทองแดงอยูในสารละลายซิลเวอรไนเตรท จะเปนดังนี้
Cu(s) + 2Ag+
(aq) Cu2+
(aq) + 2Ag(s)
เมื่อปฏิกิริยาเขาสูสมดุล
1. อัตราสวนของความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะคงที่
2. ความเขมขนของสารตั้งตนจะเทากัน
3. ความเขมขนของสารผลิตภัณฑจะเทากัน
4. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะเทากัน
หลัก ความเขมขนของของแข็งและของเหลวมีคาคงที่คือเสมือนหนึ่งวาเทากับ 1
คาคงที่สมดุล K = = คาคงที่
ตอบ ขอ 1
4. ขอใดที่แสดงวาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา
BiCl3(aq) + H2O(l) BiOCl(s) + 2HCl(aq)
1. 2.
3. 4.
[BiOCl][HCl]2
[BiCl3]
[BiOCl][HCl]2
[BiCl3][H2O]
[HCl]
[BiCl3][H2O]
[HCl]2
[BiCl3]
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
35
ตอบ ขอ 4
5. สมการใดตอไปนี้มีคาคงที่สมดุลเทากับ 1/[H2]
1. H2(g) + S(s) H2S(g) 2. H2(g) + S(l) H2S(g)
3.H2(g) + S(l) H2S(g) 4. H2(g) + S(s) H2S(s)
ตอบ ขอ 4
6. คาคงที่ของปฏิกิริยา H2(g) + S(s) H2S(g) ที่ 900C มีคาเทากับ 4.0 x 10-2
แลวคาคงที่ของสมดุลของ
ปฏิกิริยาที่แทนที่ดวยสมการ
1/2H2S(g) 1/2H2(g) + 1/2S(s)
เทากับ
1. 5.0 2. 1.4 x 10-3
3. 4.6 4. 2 x 10-1
หลัก Kของสมการ = (1/Kเดิม)1/2
= ( ½ x 10-2
)1/2
ตอบ ขอ 1
7. วิธีการหนึ่งที่ใชหาปริมาณของเหล็กในน้ําตัวอยางคือวัดความเขมขนของสีแดงของ [FeSCN]2+
(aq) ที่เกิดขึ้นถาตองการ
ใหคาที่วัดไดมีความถูกตองมากที่สุดทําอยางไร
1. เปลี่ยนเหล็กในน้ําตัวอยางใหอยูในรูปของ Fe(III) แลวจึ่งเติม NH4SCN ใหมากเกินพอ
2. เหมือนขอ 1 ทุกอยางแลวเติม (NH4)2HPO4 ลงไปดวย
3. เติมเกลือ KI ลงในน้ําตัวอยางกอนแลวเติม NH4SCN(aq) ใหมากเกินพอ
4. เหมือนขอ 3 ทุกอยางแลวเติม (NH4)2HPO4 ลงไปดวย
หลัก Fe3+
+ NH4SCN [FeSCN]2+
+ NH4
+
สีแดง
ตอบ ขอ 1
8. จากปฏิกิริยาสมดุลตอไปนี้ ปฏิกิริยาจะดําเนินไปขางหนาเมื่อเพิ่มความรอน
1. CH4(g) + 2H2S(g) CS2(g) + 4H2(g)
2. CO2(g) CO(g) + O2(g)
3. CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g)
4. 2CO(g) CO2(g) + C(s)
หลัก เพิ่ม P แลว V ลดตามกฎของ Boyle
ตอบขอ 4
9. น้ําตาลกลูโคสมีโครงสราง 2 ชนิด ชนิด (ก) เมื่อละลายน้ําจะเปลี่ยนเปนชนิด (ข) ที่ภาวะสมดุลมีน้ําตาลชนิด (ข) 63.6%
คาคงที่ของปฏิกิริยาจะเปนเทาใด กลูโคส (ก) กลูโคส (ข)
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
36
1. 0.015 2. 0.027 3. 0.57 4. 1.75
หลัก กลูโคส (ก) กลูโคส (ข)
ณ สมดุล .................. 63.6%
10. กําหนดใหคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี้ที่ 25 °C มีคา a, b และ c ดังนี้
2 N2O(g) 2 N2 (g) + O2 (g) K1 = a
2 N2O4(g) 4 NO2 (g) K2 = b
N2 (g) + O2 (g) 2 NO2 (g) K3 = c
2 N2O(g) + 3 O2 (g) 4 N2O4(g) K4 = ……………
K4 จะมีคาเทาใดในเทอม a, b และ c
1. a + c – b 2. a + 2c – b 3. ac/b 4. ac2
/b
หลัก สมการบวกกัน K ใหม = K เดิม ×กัน
สมการลบกัน K ใหม = K เดิม ÷กัน
n × สมการเดิม K ใหม = (K เดิม)n
7 กรด – เบส – เกลือ
1. กรด มี 2 ชนิด 1. กรดไฮโดร H – X เชน HCl , H2S
2. กรด OXO H – X – O เชน HNO3 , H2SO4
กรดมีสูตรทั่วไป HA mono protic
H2A di protic
H3A poly protic
เบสมี 3 ชนิด 1. โลหะไฮดรอกไซด : NaOH , Ca(OH)2
2. โลหะออกไซด : K2O , CaO
3. เบสที่ปราศจากน้ํา : NH3
สารประกอบเกลือ มี 5 ชนิด
1. เกลือปกติ : Na2SO4
2. เกลือกรด : NaHCO3
3. เกลือเบส : Al(OH)2Cl
4. เกลือเชิงประกอบ : K2SO4. Al2(SO4)3 . 24H2O (alum)
5. เกลือเชิงซอน : K3[Fe(CN)6] , NH4SCN
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
37
เบสกรด
•• • x
• x
•
x
•
•
+
2. นิยามของกรด , เบส
1. นิยามกรดเบสของอารีเนียส
กรดคือสารประกอบที่มี H+
อยู เมื่อละลายน้ําให H+
กับน้ํา
เบสคือสารประกอบที่มี OH-
อยู เมื่อละลายน้ําให OH-
กับน้ํา
2. นิยามกรดเบสของ บรอนสเตทและเลารี
HCl + NH3 NH4
+
+ Cl-
กรด1 เบส1
เบส2 กรด2
ดังนั้น HCl เปนคูกรดของเบส Cl-
ION ลบของกรดที่มี H อยูจะทําหนาที่เปนไดทั้งกรด – เบส
3. นิยามกรดเบสของลิววิส กรดคือสารที่รับอิเล็กตรอนมา เบสคือสารที่ใหสารอื่นยืมอิเล็กตรอน
H
H+
+ NH3 NH4
+
H N H
H
4. กรดแก , กรดออน
HA HA
H+
H+
A-
A-
HA
สารละลาย สารละลาย
5. ตามปกติความเขมขนของกรด , เบสที่นอยกวา 1.0 M จะบอกหรือกําหนดคาความเปนกรด , เบสดวย คา pH
pH 1 7 14
6. สารที่ใชตรวจสอบคา pH ของสารละลาย เรียกวา Indicator ที่สําคัญคือ
Indicator สีของสารละลาย ชวง pH สีของสารละลาย
Methyl orangre (MO)
Bromthymol blue(BB)
Litmus
Phenolphthalein(PP)
แดง
เหลือง
แดง
ไมมีสี
31. – 4.4
6.0 – 7.6
4.5 – 8.3
8.3 - 10
เหลือง
น้ําเงิน
น้ําเงิน
แดง
กลาง
เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา
วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา
เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น
38
M1V1
1000
M2V2
1000
มวลเปนกรัม
มวลโมเลกุล
%
100
[H+
]
Co
7. คา pH ของกรดเบส
กรด เบส
กรดแก : [H+
] = Co mol/dm3
เบสแก : [OH-
] = Co mol/dm3
กรดออน เบสออน
[H+
] = √ CoKa [OH-
] = √ CoKa
( Co = ความเขมขนเดิม )
สูตร คา pH = - log[H+
] และ pOH = - log[OH-
]
ถา [H+
][OH-
] = 10-14
จะไดวา pH + pOH = 14
เพื่อความสะดวก
กําหนดคา [H+
] = 1 x 10-pH
mol/dm3
เชน 0.01 M = 1 x 10-2
M
[H+
] = A + 10-B
mol/dm3
แลว pH = B – log A
เชน [H+
] = 2 x 10-3
mol/dm3
แลว pH = 3 – log 2
8. เปรียบเทียบกรด หรือเบสที่มี Co เทากัน จะไดวา
กรดใด ๆ ที่ให [H+
] มาก ความแรงของกรดจะมาก Ka จะมากแต pH จะต่ํา
และ [H+
] หาไดจาก
1. = =
2. pH
3. √ CoKa
4. เปอรเซนตการแตกตัว : =
9. หาปริมาณความเขมขนหรือสาร โดยการไทเทรต
10. สารละลายบัฟเฟอร หมายถึงสารละลายผสมระหวาง
1. กรดออน + เกลือของกรดออน ( HA + AH )
2. เบสออน + เกลือของเบสออน ( HOH + HA )
11. ไฮโดรไลซิสของเกลือ หมายถึง
เกลือที่ละลายน้ําไดสารละลายมีฤทธิ์กรดหรือเบส
เกลือที่ละลายน้ําไดดี หมายถึงเกลือของสารประกอบหมู I ( Li , Na , K ) , NH4
+
, NO3
-
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม

More Related Content

What's hot

stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมwebsite22556
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
Saipanya school
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
kasidid20309
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
krurutsamee
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
Thitaree Samphao
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 

Similar to เคมีเรื่องอตอม

Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
Dr.Woravith Chansuvarn
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
Tutor Ferry
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอมbigger10
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมsripa16
 
โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ
โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแโครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ
โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ
ssusere35d57
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
Ajchariya Sitthikaew
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
Dr.Woravith Chansuvarn
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
Panida Pecharawej
 

Similar to เคมีเรื่องอตอม (20)

1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ
โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแโครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ
โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
 

เคมีเรื่องอตอม

  • 1. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 1 1 อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจําลองอะตอม นักวิทยาศาสตร แบบจําลอง ทฤษฎี ดาลตัน (John Dalton) อะตอมเปนทรงกลม แ บงแยกไมได ทอมสัน (Joseph J. Thomson) e/m = -1.76 x 108 coulomb/g = คาคงที่ - อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม - มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกวา โปรตอน - มีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกวา อิเล็กตรอน - จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน - กระจายอยูทั่วไปในทรงกลม รัทเธอรฟอรด (Ernest Rutherford) - อะตอมมีลักษณะโปรง - ประกอบดวยโปรตอนรวมกันอยูตรงกลางนิวเคลียส ซึ่ง มีขนาดเล็กแตมีมวลมาก - สวนอิเล็กตรอน มีมวลนอยมาก จะวิ่งอยูรอบๆ นิวเคลียส นิวบอร (Niels Bohr) อะตอมเปนทรงกลม ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน รวมกันเปนนิวเคลียสอยูตรงกลาง มีอิเล็กตรอนวิ่งเปนโคจรหรือระดับพลังงานรอบๆ นิวเคลียส 1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม นักวิทยาศาสตร การคนพบ ไอแซค นิวตัน ทดลองแยกแสงขาวโดยใชปริซึม โรแบรต บุนเซน กุสตาฟ คีรัชฮอฟฟ สเปกโตสโคปใชแยกสเปกตรัมของ แสงขาวและใชตรวจเสนสเปกตรัม ของธาตุที่ถูกเผา
  • 2. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 2 โรแบรต บุนเซน ผลการทดลองเผาสารเพื่อศึกษาเกี่ยว กับสีของเปลวไฟจะไดวา -สเปกตรัมของโลหะชนิดเดียวกัน จะ เหมือนกัน - สเปกตรัมของโลหะตางชนิดกัน จะ ไมเหมือนกัน -สีของเสนสเปกตรัมอาจเหมือนกัน แตตําแหนงของเสนสเปกตรัมทั้งหมด ไมตรงกัน เนื่องจากสเปกตรัมเปน สมบัติเฉพาะตัวของธาตุ หลักการในการเกิดสเปกตรัมเมื่อเผาธาตุตางๆ 1.3 แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก
  • 3. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 3 1.4 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม ชนิดของ orbital ตางๆ s-orbital p-orbital d-orbital เมื่อออรบิทัลทุกชนิดมารวมกัน 1 2 3 K L M
  • 4. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 4 การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration) จะเปนไปตามลําดับดังนี้ n = 1 1s 2 2s 2p 3 3s 3p 3d 4 4s 4p 4d 4f 5 5s 5p 5d 6 6s 6p 7 7s อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชันของธาตุ จึงเขียนเปน 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d, 4p, 5s , 4d , 5p , 6s , 4f , 5d , 6p , 7s 10Ne มี อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชัน = 1s2 , 2s2 , 2p6 (2 . 8 ) 9F มี “ 8O มี “ 7N มี “ 6C มี “ 5B มี “ 4Be มี “ 3Li มี “ = 1s2 , 2s2 , 2p5 (2 . 7 ) = 1s2 , 2s2 , 2p4 (2 . 6 ) = 1s2 , 2s2 , 2p3 (2 . 5 ) = 1s2 , 2s2 , 2p2 (2 . 4 ) = 1s2 , 2s2 , 2p1 (2 . 3 ) = 1s2 , 2s2 (2 . 2 ) = 1s2 , 2s1 (2 . 1 ) ตัวอยางขอสอบ 1. กําหนดแบบจําลองอะตอม 3 แบบ ดังแสดงขางลาง แบบใดเปนแบบจําลองของดาลตัน แบบจําลองของรัทเธอรฟอรด และแบบจําลองของทอมสันตามลําดับ แบบจําลองของดาลตัน แบบจําลองของรัทเธอรฟอรด แบบจําลองของทอมสัน 1 2 3 4 I II II III II III I I III I III II e e ee + - + - + + - + - + - + + - + - + I II III
  • 5. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 5 ตอบ ขอ 3. เหตุผล แบบจําลองของดาลตัน เปนทรงกลมโอกาสถูก ขอ 2, 3 แบบจําลองของทอมสัน มีอิเล็กตรอนและโปรตอนกระจายในทรงกลม ขอ 3 จึงเปนขอถูก 2. ขอความใดถูกตองที่สุด 1. แบบจําลองอะตอมของดัลตัน เปนทรงกลมแบงแยกไมได 2. ธาตุ X มีเลขมวล 3 คา แสดงวาธาตุ X มี 3 ไอโซโทป 3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน 4. ถูกทั้ง 1, 2, 3 เหตุผล ตามทฤษฎีของ Dalton. 1. อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ ขนาดเล็กที่สุดแบงแยกไมได เรียกวา อะตอม 2. อะตอมชนิดเดียวกัน ยอมมีขนาด และมวลเทากัน ตัวอยาง 180 + 0PE C12 6 C13 6 *14 6 C (กัมมันตรังสี) ธาตุชนิดเดียวกัน ตองมีเลขอะตอมเทากัน ตอบ ขอ 4. 3. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามตอไปนี้ 1. แบบจําลองอะตอมเปนขอสันนิษฐานที่นักวิทยาศาสตรสรางขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากการทดลอง 2. ในการทดลองของทอมสันเกี่ยวกับการนําไฟฟาของกาซนั้น กาซที่บรรจุในหลอดรังสีคาโธดนั้นตองมีความดันสูง 3. การที่สารละลายอิเล็กโตรไลทนําไฟฟาได เพราะในสารละลายประกอบดวยอิออนบวกและอิออนลบอยูทั่วไป 4. ความแตกตางระหวางแบบจําลองของทอมสันกับรัทเชอรฟอรด ก็คือประจุไฟฟาของอนุภาคในอะตอม ขอใดบาง ที่ไมถูกตอง 1. ขอ 1, 3 2. ขอ 2, 3 3. ขอ 2, 4 4. ขอ 1, 4 4. จํานวนอิเล็กตรอนระดับพลังงาน (n) = 5 ที่อะตอมสามารถรับได และการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของ In (อินเดียม) ที่มีเลขอะตอมเทากับ 49 เปนไปตามขอได จํานวนอิเล็กตรอนที่รับได การจัดเรียงอิเล็กตรอน อิเล็กตรอน ของ In 1 2 3 4 25 49 25 50 2.8.8 18.8.5 2.8.8 18.11.2 2.8.18.18.3 2.8.18.18.3 ตอบ ขอ 4 เพราะวา จํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2
  • 6. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 6 A เขต s 1H เขต d เขต p เขต f ∴ e/n = 2n2 = 2x52 = 50 5. การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบใดใชสําหรับอับคาไลน เอิรท ไมได 1. 2 8 8 2 2. 2 8 18 8 2 3. 2 8 18 18 2 4. 2 8 18 18 8 2 ตอบ ขอ 3 เพราะวา อัลคาไลน เอิรท คือธาตุหมู II ตองมีสองอิเล็กตรอนสุดทายของการจัดเรียงอิเล็กตรอนหมู II = 8, 2 เทานั้น 1.5 ตารางธาตุและสมบัติบางประการของธาตุตามหมูและตามคาบ ตารางธาตุ ลักษณะสําคัญของตารางธาตุ 1. เรียงธาตุ ตามเลขอะตอม จากนอยไปมาก เรียงธาตุ จากซายไปขวา เรียกวา คาบ (Period) มี 7 คาบ เรียงธาตุ จากบนลงลาง เรียกวา หมู (group, column, series) มี 8 หมู หมูที่สําคัญคือ หมู I เปนโลหะ เรียกวา alkali หมู II เปนโลหะ เรียกวา alkaline earth หมู VII เปนอโลหะ เรียกวา halogen หมู VIII เปนอโลหะ(ที่ๆไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี) เรียกวา inert gas, rare noble gas
  • 7. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 7 11 12 12 13 11 12 12 13 12 12 2. ธาตุ เปนอะตอม มีสัญลักษณเขียน X แทนทุกธาตุและสัญลักษณ นิวเคลียรเขียน ZX อาน Z X A Z แทน เลขอะตอม atomic number = proton = electron X แทน สัญลักษณ symbol A แทน เลขมวล atomic mass = proton + neutron ธาตุหรืออะตอมของธาตุในตารางธาตุจะมี IsotoPe หมายถึงธาตุที่มีเลขอะตอม หรือ proton หรือ เปนธาตุชนิดเดียวกัน แตมี neutron ตางกันไดแก 5B = 5B และ 6C = 2C IsotoNe หมายถึง ธาตุที่มี neutron เทากันแตมีเลขอะตอมตางกัน เชน 5B = 6C และ 5B = 6C IsobAr หมายถึงธาตุที่มีเลขมวล เทากัน เชน 5B = 6C IsoElectron หมายถึงอนุภาค(อะตอม , ion, โมเลกุล) ที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน จะไดวาอิเล็กตรอนของ ion บวกของธาตุหมูตาง ๆ = ion ลบของธาตุหมูตาง ๆ = กาซเฉื่อย 3Li+ 1H- 2He 11Na+ ,12Mg2+ , 13Al3+ 9F- ,8O2- ,7N3- 10Ne สัญลักษณ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน รัศมีอะตอม (pm) IE1 (kJ/mol) m.p. (°C) b.p. (°C) He 2 2 93 2,397 -270 -269 Ne 10 2, 8 112 2,087 -249 -246 Ar 18 2, 8, 8 154 1,527 -189 -186 Kr 36 2, 8, 18, 8 169 1,357 -157 -152 Xe 54 2, 8, 18, 18, 8 190 1,177 -112 -108 Rn 86 2, 8, 18, 32, 18, 8 220 1,043 -71 -62 พิจารณาจาก 1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2 จะไดจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน = 2, 8, 18, 32 …. ≤ 8 2. จํานวนธาตุในคาบจะสัมพันธกับจํานวน e/n = 2, 8, 18, 18, 32, …..
  • 8. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 8 ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู 1 ธาตุ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน รัศมี อะตอม* (pm) IE1 (kJ/mol) m.p. (°C) b.p. (°C) E° (V) M+ +ë M Li 3 2, 1 152 526 180 0.53 -3.05 Na 11 2, 8, 1 186 502 98 0.97 -2.71 K 19 2, 8, 8, 1 227 425 64 0.86 -2.92 Rb 37 2, 8, 18, 8, 1 248 409 39 1.53 -2.92 Cs 55 2, 8, 18, 18, 8, 1 265 382 28 1.89 -2.92 *รัศมีอะตอมในโลหะเทากับครึ่งหนึ่งของของระยะยาวระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูถัดกันในผลึกของโลหะ เลขอะตอมของธาตุหมู VIII สัมพันธกับ e/n และธาตุ/คาบ ดังนี้ e/n = 2n2 ธาตุ/คาบ เลขอะตอมของธาตุหมู VIII ธาตุ เรียง e/ คาบ 2 2 2 He 2 8 8 10 Ne 2, 8 18 8 18 Ar 2, 8, 8 32 18 36 Kr 2, 8, 18, 8 ≤ 8 18 54 Xe 2, 8, 18, 18, 8 32 86 Rn 2, 8, 18, 32, 18, 8 สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 2 หมู/ธาตุ สมบัติของธาตุ I Li II Be III B IV C V N VI O VII F VIII Ne
  • 9. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 9 เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอน พลังงานไอออไนเซชัน ลําดับที่ 1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาติวิตี รัศมีอะตอม (pm) จุดหลอมเหลว (°C) ชนิดของธาตุ 3 2, 1 526 1.0 123* 180 โลหะ 4 2, 2 906 1.5 89* 1280 โลหะ 5 2, 3 807 2.0 80* 2,030 กึ่งโลหะ 6 2, 4 1,093 2.5 77* 3,500 อโลหะ 7 2, 5 1,407 3.0 74* -210 อโลหะ 8 2, 6 1,320 3.5 74* -218 อโลหะ 9 2, 7 1,687 4.0 72* -220 อโลหะ 10 2, 8 2,087 160** -249 อโลหะ * รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตามหมูลด คา IE ของธาตุต่ําสุดตามเลขหมู 5B เรียง e = 2, 3 IE1 < IE2 < IE3 << IE4 < IE5 800 2,500 3,600 25,000 32,000 สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 3 หมู/ธาตุ สมบัติของธาตุ I Na II Mg III Al IV Si V P VI S VII Cl VIII Ar เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอน พลังงานไอออไนเซชัน ลําดับที่ 1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาติวิตี รัศมีอะตอม (pm) จุดหลอมเหลว (°C) ชนิดของธาตุ 11 2, 8, 1 502 0.9 157* 98 โลหะ 12 2, 8, 2 744 1.2 136* 649 โลหะ 13 2, 8, 3 548 1.5 125* 660 โลหะ 14 2, 8, 4 793 1.8 117* 1,410 กึ่งโลหะ 15 2, 8, 5 1,018 2.1 110* 44 อโลหะ 16 2, 8, 6 1,006 2.5 104* 113 อโลหะ 17 2, 8, 7 1,257 3.0 99* -101 อโลหะ 18 2, 8, 8 1,527 - 192** -189 อโลหะ * รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส โจทยถาม 1. การจัดเรียงธาตุ ตามคาบ/ตามหมู ใหตามหา ก. ธาตุหมู VIII เพราะเปนธาตุไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีไดแกธาตุ 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe 86Rn ข. ตามหาธาตุหมู VII (F) มีคา EN (Electronegativity) สูงสุด 3Li Be B C N O F 10Ne EN 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 -
  • 10. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 10 11Na Mg Al Si P S Cl 18Ar EN 0.9 1.2 1.5 1.8 2.1 2.5 2.8 - ค. ตามหาธาตุหมู I เพราะวา ในทุก ๆ คาบ ขนาดหมู I ใหญสุด โลหะ คาบ 2 3Li Be B ขนาด(pm) 152 111 88 Li+ Be2+ B3+ 60 31 20 คาบ 3 11Na Mg Al ขนาด (pm) 186 160 143 Na+ Mg2+ Al3+ 95 65 50 ธาตุในคาบ 2 6C 7N 8O 9F ขนาด (Å) 0.77 0.70 0.66 0.64 ไอออนของธาตุในคาบ 2 N3- O2- F- ขนาด (Å) 1.71 1.40 1.36 *** หมายเหตุ โลหะ ให e ไป ขนาดจะเล็กลง อโลหะ รับ e มา ขนาดใหญขึ้น สมบัติของสารประกอบ O2- , Cl- , H- ของธาตุบางชนิด ออกไซด (oxide) สูตร Na2O Na2O2 MgO Al2O3 SiO2 P4O6 P4O10 SO2 SO3 Cl2O สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ ของเหลว กาซ ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต ความเปนกรด/เบส เบส เบส แอมโฟเทอริก กรด กรด กรด กรด อโลหะ
  • 11. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 11 คลอไรด (chloride) สูตร NaCl MgCl AlCl3 SiCl4 PCl3 PCl5 S2Cl2 สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลว ของแข็ง ของเหลว ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต อิออนิก โคเวเลนต เมื่อสัมผัสกับอากาศชื้น - - ควัน ควัน ควัน ควัน ไฮไดรด (hydride) สูตร NaH MgH2 (AlH3)n SiH4 PH3 H2S HCl สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ กาซ กาซ กาซ ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต ตัวอยางขอสอบ 1. ธาตุ K , L , และ M มีเลขอะตอม 10 , 14 , และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้งสามจะอยูในหมูและคาบใดตามลําดับ ดังนี้ หมู คาบ หมู คาบ 1. 2 , 4 , 8 และ 2 , 3 , 4 2. 4 , 8 , 2 และ 3 , 2 , 4 3. 4 , 2 , 8 และ 4 , 3 , 8 4. 8 , 4 , 2 และ 2 , 3 , 4 หลัก พิจารณาจากเลขอะตอมของหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr……….. 10K อยูในหมู VIII ตอบ ขอ 4 2. กําหนดเลขอะตอม ของธาตุ A , B , C และ D เทากับ 13 , 19 , 20 และ 12 ตามลําดับ การเรียงขนาดอะตอม ในขอใดถูกตอง 1. B > C > D > A 2. B > C > A > D 3. C > A > B > D 4. C > B > A > D หลัก จากธาตุหมู VIII : 2He 10Ne 18Ar 36Kr จะไดวาธาตุที่กําหนดใหอยูในหมูและคาบใดไดและใน ทุก ๆ คาบขนาดหมู I ใหญสุด ตอบ ขอ 1 3. ธาตุคูใดอยูในคาบเดียวกันและอยูในหมู II – V 1. 20R 38Q 2. 13X 31Y 3. 37Z 38Q 4. 33X 20Y
  • 12. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 12 หลัก จากธาตุหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr เลขอะตอมเปนเลขคู จะอยูหมูคู (หมู II) เลขอะตอมเปนเลขคี่ จะอยูหมูคี่ (หมู V) ตอบ ขอ 4 4. ถาธาตุ x y และ z มีสูตรสารประกอบ X2O3 , YO และ Z2O ตามลําดับ เลขอะตอมของธาตุทั้งสามในขอใด ที่เปนไปได ของ X ของ Y ของ Z 1 2 3 4 37 20 13 56 31 11 56 5 56 31 37 19 หลัก จากสูตร X2O3 = 2X + 3(O) = 2X + 3O2- (VI) 2X = 6 + , X = 3+ แสดงวา X เปนธาตุหมู III ( 5B , 13Al) ตอบ ขอ 3 กําหนดขอมูลใชกับคําถามขอ 5 – 7 กําหนดธาตุ A . B . C และ D มีเลขอะตอมเทากับ 55 , 38 , 35 และ 10 ตามลําดับ 5. ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ต่ําสุด 1. A 2. B 3. C 4. D หลัก พิจารณาจากธาตุหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe และ IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตอบ ขอ 1 6. ธาตุใดเปนโลหะซึ่งทําปฏิกิริยากับแฮโลเจนไดสารประกอบที่มีอัตราสวนจํานวนโมลของโลหะตอแฮโลเจน เปน 1 : 2 1. A 2. B 3. C 4. D หลัก อัตราสวนจํานวนโมลของโลหะ : แฮโลเจน = 1 : 2 แสดงวา โลหะ + แฮโลเจน = ( 1 + 2 ) โมล (A) (X) A + X ได A + 2X = AX2 A = โลหะ คือ ธาตุ B เลขอะตอม = 38 ตอบ ขอ 2
  • 13. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 13 19 29 35 37 53 5536 38 39 7. X อยูในคาบ 3 ของตารางธาตุ เมื่อรับ 1 อิเล็กตรอนมาจะเปนอิออนเหมือนแกสเฉื่อย ถา X มีอยู 2 ไอโซโทป มีนิวตรอน = 18 และ 20 ตามลําดับ สัญลักษณนิวเคลียสของ X คือ 1. 9X 9X 2. 17X , 17Y 3. 18X , 18Y 4. 35X , 35Y หลัก กําหนด X อยูในคาบ 3 แสดงวา มีเลขอะตอมตั้งแต 11 – 18 ตัดขอ 1 และ 4 ไป X รับ e มา จะมีเลขอะตอม = 18 ไมได ตอบ ขอ 2 - คาพลังงานไอออไนเซชัน IE อิเล็กโตรเนกาติวีตี EN และความเปนอโลหะของธาตุ จะเพิ่มตามคาบและจะลดลงตาม หมู 18Ar + IE1 18Ar+ + e1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7 19K + IE1 19K+ + e1 19K+ + IE2 19K2+ + e2 2 . 8 . 8 .1 2 .8 . 8 2 .8 . 8 2 .8 . 7 20Ca + IE1 20Ca+ + e1 2 . 8 . 8 . 2 2 . 8 . 8 . 1 20Ca+ + IE2 20Ca2+ + e2 20Ca2+ + IE3 20Ca3+ + e3 2 . 8 . 8 . 1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7 ตัวอยาง 8. พิจารณาขอกําหนดตาง ๆ ตอไปนี้ ก. 19A ข. B เรียงอิเล็กตรอน = 2 . 8 . 8 ค. สูตรคลอไรดของ X = XCl3 และ X อยูในคาบ 3 ง. ธาตุ Y เรียงอิเล็กตรอน = 2 . 8 . 6 การเรียงคาพลังงานไอออนไนเซชันลําดับที่ 1 ขอใดถูกตอง 1. B > Y > X > A 2. A > X > Y > B 3. A > Y > X > B 4. B > X > A > Y หลัก ตามหาหมู VIII , VII , VI กอน ตอบ ขอ 1
  • 14. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 14 2 พันธะเคมี ชนิดของพันธะ ชนิดของธาตุที่เกิดพันธะกัน หลักการ พันธะอิออนิก โลหะ + อโลหะ **มีการรับ/ใหอิเล็กตรอน** -โลหะ (EN&IE ต่ํา) ให ë เกิดเปน cation ขนาด -อโลหะ (EN&IE สูง) รับ ë เกิดเปน anion ขนาด พันธะโคเวเลนท อโลหะ + อโลหะ ใชอิเล็กตรอนรวมกัน พันธะโลหะ โลหะ + โลหะ อิเล็กตรอนวิ่งไปทั่ว (ทะเลอิเล็กตรอน) ทําให - นําไฟฟาได - เปนมันวาว - เหนียว พันธะไฮโดรเจน เกิดจากสารประกอบที่มี - H ตอ “N” คือ NH3 - H ตอ “O” คือ H2O , R’OH , RCOOH - H ตอ “F” คือ HF อยูระหวางพันธะอิออนิกและโคเวเลนต เกิดประจุบางสวน (δ+ /δ- )
  • 15. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 15 รูปรางโมเลกุล e- คูสรางพันธะ *e- คูวาง รูปราง มุม (องศา) 2 - โซตรง BeCl2, HgCl2 180 2 1 มุมงอ 2 SO2 , O3 , NO2 - , H2O , ClO2 - 104.5 3 สามเหลี่ยมแบน ราบ BF3 , SO3 , CO3 2- , CH2O, NO3 - 120 3 1 ปรามิดฐาน สามเหลี่ยม NH3 , PH3 , SO3 2- , ClO3 - , H3O+ 107.3 4 - รูปเหลี่ยมสี่หนา CH4 , SiH4 , NH4 + , SO4 - , ClO4 - 109.5 5 - ปรามิดคูฐาน สามเหลี่ยม PCl5 120.90 6 - รูปเหลี่ยมแปด หนา SF6 90
  • 16. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 16 •• •• ตัวอยางขอสอบ 9. พิจารณาแผนภาพแสดงกลุมหมอกอิเล็กตรอนและอะตอมที่สรางพันธะกัน 3 ชนิด สารในขอใดมีการสรางพันธะตามแบบ ก ข และ ค ตามลําดับ 1. CO Mg HCl 2. O2 F2 CO 3. CO Ca HCl 4. F2 Mg CO หลัก ก อโลหะ + อโลหะ ชนิดเดียวกันรวมกัน ข โลหะ + โลหะ เปนโลหะชนิดเดียวกัน ค อโลหะ + อโลหะ ตางชนิดกัน ตอบ ขอ 4 10. โมเลกุลและไอออนในขอใดที่มีรูปรางเหมือนกันหมด 1. H2S CO2 O3 2. CS2 CO2 O3 3. CS2 NO2 - CO2 4. O3 H2S NO2 - หลัก พิจารณา ธาตุหมู IV คือ “C” กอน เพราะวา C มี Valence electron = 4 สรางได 4 พันธะ ตามขอ 1 , 2 และ 3 มีสารประกอบ CO2 CO2 = C + 2(O) - หมู VI - สารได 2 พันธะ โครงสราง CO2 จึงเปน O = C = O แต O3 และ NO2 - มีโครงสรางเปน O N O O , O O- ตอบ ขอ 4 11. กําหนดธาตุ X , Y และ Z มีเลขอะตอม 17 , 35 , 54 ตามลําดับ จงพิจารณาสารประกอบตอไปนี้ ก. XF3 ข. YF5 ค. ZF2 สารประกอบในขอใดบางที่อะตอมกลางมีจํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวมากกวา 1 คู
  • 17. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 17 • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • n = 3 n = 2 n = 1 n = 3 n = 2 n = 1 n = 3 n = 2 n = 1 1. ก เทานั้น 2. ค เทานั้น 3. ก และ ข 4. ก และ ค หลัก ตามหาหมูธาตุที่จะสรางพันธะครบ 8 ตามกฎ Octet X , Y , Z เปนธาตุหมู VII , VII และ VIII ตามลําดับ ตอบ ขอ 3 12. พิจารณาแผนภาพตอไปนี้ 7p 7p 7p 7m (1) 7n (2) 7n (3) รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของอะตอมไมถูกตอง 1. (1) และ (2) เทานั้น 2. (2) และ (3) เทานั้น 3. (1) และ (3) เทานั้น 4. (1) (2) และ (3) หลัก การเรียงอิเล็กตรอน (7) = 2.5 ตอบ ขอ 4 13. กําหนดขอมูลของธาตุ X Y และ Z มีดังนี้ I ธาตุ X มี IE1 < IE2 << IE3 < IE4 II ธาตุ Y อยูในหมูเดียวกัน 13Al III ไอโซโทปของ Z ไมมีนิวตรอน สูตรของสารประกอบ ซัลไฟดของ X , Y และ Z ควรเปนดังขอใด 1. XS Y2S3 Z2S 2. XS Y2S3 ZS 3. XS Y3S2 ZS 4. XS Y3S2 Z2S หลัก ธาตุ X อยูหมู II จะเปน X2+ , Y เปนธาตุหมู III จะเปน Y3+ ธาตุ Z จะเปน H จะเปน H+ ในซัลไฟด S2- ตอบ ขอ 1 14. กําหนดพลังงานพันธะ ( kJ/mol ) H – H = 436 H – F = 587 F – F = 159 Cl – Cl = 242 H – I = 298 Cl – F = 253 I – I = 151 การเปลี่ยนแปลงในขอใดเปนกระบวนการดูดพลังงาน
  • 18. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 18 13 1. H2(g) + F2(g) 2HF(g) 2. Cl2(g) + F2(g) 2ClF(g) 3. 2HI(g) H2(g) + I2(g) 4. C(g) + 2O(g) CO2(g) หลัก สราง(พันธะ) คาย ( พลังงาน ) สลาย ( พันธะ ) ดูด ( พลังงาน ) ตอบ ขอ 4 15. A เปนธาตุหมู V คาบที่ 3 B มีเลขอะตอมสูงกวา B อยู 5 และมีเลขมวล 40 C เปนธาตุที่อยูถัดจาก C ไปทางขวาและมี นิวตรอนมากกวา B อยู 5 ขอสรุปใดผิด 1. สัญลักษณทางนิวเคลียรของ C คือ C 2. คา IE1 เปรียบเทียบกันไดดังนี้ B < C < A 3. C เปนธาตุที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังนี้ 2 . 8 . 9 . 2 4. B เปนโลหะทรานสิชัน 3 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี วาดวย 1. โมลของธาตุและสารประกอบ 2. กฎทรงมวลแหงสสาร 3. สมการเคมี ตองรู มวลของธาตุ X 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu มวลของสารประกอบ 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1 amu 1amu = 1 atomicmass unit = 1 x 1.66 x 10-24 s ธาตุมาตรฐาน คือ H – 1 , C – 12 , O – 16 โมล , มวล (กรัม) จํานวนอะตอม (หรือ ion) มี 3 คา 1 mol (atom) (มวลอะตอม) g C 6.02 x 1023 atom 1 โมล P = 6 (มวลอะตอม) g C 6.02 x 1023 atom e = 6 ( 6C ) n = 13 – 6 มวล 1 อะตอมเฉลี่ย = (ของไอโซโทป) Σ % x มวล 100
  • 19. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 19 xy M(g) V P1V1 T1 P2V2 T2 โมล มวล (กรัม) จํานวนโมเลกุล มี 4 คา 1 โมล 22.4 dm3 ที่ STP (gas) (มวลโมเลกุล)g 6.02 x 1023 โมเลกุล สูตร (ธาตุ + ธาตุ ) อะตอม = Σ มวลอะตอม X mol 1000 MV 106.02 N 22.4 V Mr DV Mr g 23 = × ==== หา ปริมาตร (V) จากความหนาแนน (D) ไดจากสูตร D = กาซ มีสูตร 2 สูตรใช คือ = และ PV = nRT มาจากการรวมสูตรแกสของ Boyle และ Charles กฎตางๆ เกี่ยวกับแกสคือ A = Avogadro B = Boyle C = Charles D = Dalton ทฤษฎีจลนของแกส KE = mv2 ทฤษฎีของแกรแฮม = = กฎทรงมวลแหงสสาร มีใจความวา มวลกอนทําปฏิกิริยา ตองเทากับมวลหลังปฏิกิริยา สมการเคมี 1. Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) 2. AgNO3 + NaCl AgCl(s) + NaNO3 ( -1 ) ( -1 ) 3. 2MnO4 - + 16H+ + 5C2O4 2- 2Mn2+ + 8H2O + 10CO2 ตัวอยาง 1 เมื่อนําของแข็ง 4 ชนิด ไปเผาทีละชนิดในถวยกระเบื้องที่อุณหภูมิ 200°C ไดผลดังนี้ สาร มวลกอนเผา มวลหลังเผา (เมื่อเย็นลงแลว) A a a 1 2 V1 V2 M2 M1 √¯ d2 d1 √¯
  • 20. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 20 a bc b ac ac b ab c ac b B b < b C c c D d < d สมการใดสอดคลองกับผลการเผาสาร 1. A(s) D(l) + C(g) 2. B(s) Q(s) + X(g) 3. C(s) R(s) + Y(g) 4. D(s) D(l) หลัก มวลกอนเผา ตองเทากับมวลหลังเผา ถามีแกสเกิดขึ้น ระเหยได ตองกําหนดวาปดฝามวลจึงจะคงที่ ตอบ ขอ 2 2. ธาตุ A 1010 อะตอม มีมวล = a กรัม ถาใชสาร B 1 อะตอม ซึ่งมีมวล = b กรัม เปนมาตรฐาน ธาตุ A มีมวล อะตอมเทากับ 1. 2. 3. 4. 10-10 b หลัก มวลอะตอม = ตอบ ขอ 2 3. มวลของธาตุ ก 1 อะตอมมีคาเทากับ a กรัมแตมวลอะตอมของ ก มีคาเทากับ b สวนมวลอะตอมของธาตุ ข เทากับ c มวลของธาตุ ข 1 อะตอมมีคาเทากับกี่กรัม 1. 2. 3. 4. หลัก มวลของธาตุ ก 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu แทนคา a = b (1amu) ……………..(1 มวลของธาตุ ข 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu X = C(1amu) ……………..(2 2/1 X/a = c/b , X = ตอบ ขอ 3 4. พิจารณา ก. แกสคารบอนไดออกไซด 18 x 1023 โมเลกุล ab 1010 10-10 a b 10-10 b a มวล 1 อะตอมของธาตุใด ๆ มวล 1 อะตอมของธาตุมาตรฐาน
  • 21. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 21 ข. โซเดียมไอออน 15 x 1023 ไอออน ค. ฟอสฟอรัส 0.602 x 1023 อะตอม ง. ตะกั่ว 1 อะตอม การเปรียบเทียบจํานวนโมลในขอใดถูกตอง 1. ก > ข > ค > ง 2. ข > ค > ง > ก 3. ค > ง > ก > ข 4. ง > ก > ข > ค หลัก โจทยถามสารใดมีจํานวนโมลมาก 6.02 x 1023 อนุภาค = 1 โมล (อนุภาค = อะตอม โมเลกุล ไอออน ) ตอบ ขอ 1 5. ไอโซออกเทน (C8H18) เปนไฮโดรคารบอนที่อยูในน้ํามันเบนซีนถาไอโซออกเทน 1 โมลเผาไหมกับแกสออกซิเจนมาก เกินพอ เกิดแกส CO2 และ H2O และใหพลังงานออกมาเทากับ 3800 kJ ถาเผาไหมเอทานอล (C2H5OH) แทนไอโซ ออกเทนใหไดแกส CO2 เทากับการเผาไหมไอโซออกเทน 1 โมล การเผาไหมเอทานอลจะไดพลังงานออกมามากกวา การเผาไหมไอโซออกเทน 1 โมล กี่กิโลจูล (กําหนดใหพลังงานที่ไดจากการเผาไหมเอทานอล 1 โมล เทากับ 1 ,100 kJ ) 1. 600 2. 1,200 3. 2,450 4. 2,700 หลัก โจทยเผา C8H10 8CO2 , ∆H = 3,800 kJ เผา C2H5OH 2CO2 , ∆H = 1,100 kJ ตองการ CO2 จาก C2H5OH = 8CO2 ตองเผา 4C2H5OH 8CO2 , ∆ H = 1,100 x 4 ตอบ ขอ 1 ขอมูลตอไปนี้ใชตอบขอ 6 – 7 ( มวลอะตอมของ X = 27 มวลโมเลกุลของออกไซด = 102 ) ครั้งที่ X (กรัม) O2 (กรัม) ออกไซดของ X (กรัม) 1 2 3 4 1 2 3 4 5 5 5 5 1.88 3.76 5.67 7.56 6. จงหาสูตรอยางงายของออกไซดของ X 1. XO2 2. X2O3 3. X3O4 4. X2O5 หลัก 1. ตามกฎทรงมวลแหงสสาร ครั้งที่ 1 : X + O ออกไซด 1 กรัม ……... 1.88 กรัม มวล ออกซิเจน = 1.88 – 1 = 0.88
  • 22. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 22 1 27 0.88 16 mol A mol B M1V1/1000 M2V2/1000 9 x 2 3 x 4 3 2 235 142 238 238 0 • • • • • • 2 4 6 2. หาสัดสวนจํานวนโมลอยางต่ําเพื่อหาสูตรอยางงาย X : O = : = 2 : 3 สารประกอบ = 2X + 3(O) = X2O3 ตอบ ขอ 2 7. มวลโมเลกุลในสูตรหนักเปนกี่เทาของมวลโมเลกุลในสูตรอยางงาย 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 หลัก (สูตรอยางงาย) n = สูตรโมเลกุล = มวลโมเลกุล = ( X2O3)n = 102 = [2 x + 3(O) ]n = 102 ( 2 x 27 + 3 x 36 )n = 102 , n = 1 ตอบ ขอ 1 8. สารละลาย A เขมขน 9 mol/dm3 ปริมาตร 2 cm3 ถาเติมสารละลาย B เขมขน 3 mol/dm3 ลงไปเรื่อยๆ จะมี ตะกอนเกิดขึ้น เมื่อเขียนเปนกราฟระหวางน้ําหนักตะกอนกับปริมาตรของสารละลาย B จะไดดังนี้ สารละลาย A สารละลาย B BaCl2 H3PO4 H2SO4 CaCl2 H2SO4 CaCl2 BaCl2 H3PO4 หลัก A + B C + D 9 M, 2cm3 3 M , 4 cm3 = = = 3A + 2B ตะกอน พิจารณาประจุหรือเลขออกซิเดชันรวมของไอออนบวกของสองสารกอนแลวทําใหเทากัน ตอบ ขอ 4 9. พิจารณาสมการ I ) 0 1 n + 92U 56Ba + A + 3นิวตรอน II ) 92U + α B + นิวตรอน III) 92U +2 1H C + 2นิวตรอน
  • 23. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 23 1 2 3 4 8 6.4 x 1022 เลขมวลและเลขอะตอมตามลําดับของธาตุ A , B และ C คือขอใด A B C 90 , 36 91 , 36 91 , 36 90 , 36 241 , 94 241 , 94 237 , 92 237 , 92 239 , 93 238 , 93 239 , 93 238 , 93 หลัก ตองรูอนุภาค n neutron คือ 0 1 n α alpha คือ 4 2He ในปฏิกิริยาเคมีนิวเคลียส จะไดวา เลขมวลของสารตั้งตน = เลขมวลของผลิตภัณฑ เลขอะตอมของสารตั้งตน = เลขอะตอมของผลิตภัณฑ จาก 1) 1 + 235 = 142 + ? + 3 , ? = 91 โอกาสถูก 2 กับ 3 2) 238 + 4 = ? + 1 , ? = 241 ตอบ ขอ 2 10. ธาตุโลหะสมมุติชนิดหนึ่งมีมวลอะตอม 301 หนัก 32 g นํามาทําเปนทรงกลมที่มีรัศมีเทากัน 2 cm พอดี หากตั้ง สมมุติฐานวา อะตอมของโลหะนี้เปนทรงกลม รัศมีของอะตอมของโลหะนี้มีกี่พิโกเมตร 1. 1000 2. 500 3. 250 4. 100 หลัก 1. 6.02 x 1023 อะตอมโลหะ = (มวลอะตอม) g= 1 โมล 2. ปริมาตรทรงกลม = 4/3πr3 ( และอะตอม ) 32กรัมของโลหะ = 32g = 6.4 x 1022 อะตอม ปริมาตรโลหะ 6.4 x 1022 = 4/3 x π x 23 cm3 1 อะตอม = X cm3 = และปริมาตรทรงกลมของ 1 อะตอม = 4/3πR3 cm3 4/3 x π R3 = 4/3 x π x 1 mol 301 g 6.02 x 1023 at 1 mol X 1 (4/3) (π) x 8 6.4 x 1022
  • 24. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 24 R3 = 1.25 x 10-22 = 125 x 10-24 cm3 R = 5 x 10-8 cm x 1 pm / 10-10 cm = 500 pm ตอบ ขอ 2 4 ของแข็ง ของเหลวและแกส การจําแนกสสาร ธาตุ สารบริสุทธิ์ สารประกอบ สสาร สาร (Matter) (substance) สารเนื้อเดียว สารผสม ของผสม ตัวอยางขอสอบ 1. สารในขอใดจัดเปนสารประกอบทั้งหมด 1. ทองแดง เงิน นาก 2. หินปูน นาก เกลือแกง 3. น้ํา กรดน้ําสม เกลือแกง 4. น้ํา ทองแดง เงิน หลัก ธาตุ = สารบริสุทธิ์ เนื้อเดียว ไดแก โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ทองแดง , เงิน เปนโลหะ นากเปนของผสมเนื้อเดียว คือ Au – Cu ตอบ ขอ 3 2. ขอใดที่ยกตัวอยางสารแตละประเภทไดถูกตอง ธาตุ สารประกอบ สารละลาย คอลลอยด สารแขวนลอย 1. 2. 3. 4. Ne Na Fe O3 S8 Cl2 Fe2O3 H2O 3%H2O น้ําสมสายชู น้ําโซดา อากาศ กาวน้ํา ควันไฟ น้ํามันดีเซล น้ําเตาหู น้ําแปง น้ําสบู น้ําสลัด น้ําโคลน หลัก ตัดขอ 1 , 2 ทิ้งไป ∴ S8 , Cl2 เปนธาตุ ตัดขอ 3 ไป น้ํามันดีเซลไมใช Colloid ตอบ ขอ 4 3. ใสน้ําแข็ง 100 กรัม และโซเดียมคลอไรดมีปริมาณเล็กนอยลงในแกวปดสนิท และวางไวที่อุณหภูมิหอง (30°C) ปลอยใหน้ําแข็งละลาย เกี่ยวกับระบบนี้ขอความใดถูกตอง
  • 25. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 25 8 สเกล(ซม.) 6 4 2 0 1. ระบบมีการเปลี่ยนแปลงแบบคายพลังงาน เพราะในที่สุดน้ําจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น 2. ไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม 3. มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง 4. ระบบมีพลังงานเพิ่ม หลัก จากโจทยบอก น้ําแข็ง + NaCl ในแกวปดสนิท ปลอยใหน้ําแข็งละลาย แสดงวาเปน ประเภทดูดพลังงาน น้ําแข็ง น้ํา เปนการเปลี่ยนสถานะ ตอบ ขอ 4 4. กําหนดขอมูลจากการทําโครมาโตรกราฟ สารมีสี 5 ชนิด สาร A B C D E ระยะทางการเคลื่อนที่ของสาร(ซม.) ระยะทางการเคลื่อนที่ของตัวทําละลาย(ซม.) 12.00 9.0 6.0 9.6 9.3 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00 ถานําของผสมของสารทั้ง 5 ชนิด ทําโครมาโตรกราฟโดยใหตัวทําละลายเคลื่อนที่ไป 10 ซม. ผลลัพธจะเปนดังรูปใด ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) (4 ) หลัก Rf = จากโจทย สารเคลื่อนที่ต่ําสุดและสูงสุดมีคาเดี่ยว ∴ ตัดขอ (1) และ (4) ไป สาร B , E , D มีระยะทางเคลื่อนที่ 9.0 9.3 9.6 ซม. เพิ่มขึ้น ∴ ตัดขอ 2 ไป ตอบ ขอ 3 5. นําของเหลว A มากรองผานเซลโลเฟนจะไดของเหลว B สวนของเหลว C ที่คางอยู ในเซลโลเฟน นําไปกรองดวย กระดาษกรองไดของเหลว C และไมมีสารตกคางอยูบนกระดาษกรอง ขอสรุปใดที่เปนไปไมได ระยะทางที่สารเคลื่อนที่ ระยะทางที่ตัวทําละลายเคลื่อนที่ จุดเริ่มตน
  • 26. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 26 1. A เปนสารแขวนลอย 2. อนุภาคของเหลว B มีเสนผาศูนยกลางนอยกวา 10-7 ซม. 3. ของเหลว C แสดงปรากฎทินดอลล 4. B เปนสารละลาย หลัก สารแขวนลอย เปนสารผสมระหวางของแข็งกับของแข็งโจทยกําหนด A เปนของเหลวกรองไดของเหลว B + C ตอบ ขอ 1 6. ขอใดตอไปนี้จัดเปนคอลลอยดประเภทอีมัลชัน ทั้งหมด 1. นม เนย หมอก 2. นม เนย มายองเนส 3. ควันบุหรี่ สเปรย หมอก 4. ควันบุหรี่ หมอก เนย หลัก จากโจทย ขอ 1 , 3 , 4 มีหมอก เราตองรูวา หมอกเปนของผสมระหวาง น้ํา กับ อากาศ เปน aerosol 7. ของผสม ก. AgNO3 + H2O ข. AgCl + NH3 ค. AgCl + H2O ง. C17H35COOH + H2O ขอใดที่สามารถแยกดวยการกรองได 1. ก กับ ข 2. ข กับ ค 3. ค กับ ง 4. ง กับ ก หลัก สารประกอบของหมู 1 Li , NH4 + , NO3 - ละลายน้ําได Na K สารประกอบ Cl- , Br- , I- ของ Ag+ , Hg2 2+ และ Pb2+ ไมละลายน้ํา ผูเรียนตองรูวา AgCl ไมละลายน้ําแตละลายในน้ํา NH3 ตัด ขอ ก และ ข ทิ้งไป ตอบ ขอ 3 สารละลาย 1. กรดอินทรียชนิดหนึ่งเปนของเหลว มีความหนาแนน 2.0 กรัม / ซม3 เมื่อละลายน้ําไดความเขมขนในหนวยตาง ๆ ดัง นี้ ก. a โมแลว ข. b mol / dm3 ค. x % โดยมวล ง. y % โดยมวล / ปริมาตร ถาความหนาแนนของน้ํา = 1 กรัม / ซม.3 การเปรียบเทียบคา a , b , x, y ในหัวขอใดถูกตอง 1. a > b : x > y 2. a < b : x > y 3. a > b : x < y 4. a < b : x < y หลัก สมมติของเหลว = 10 cm3 ผสมกับน้ํา = 1000 cm3 มวลของเหลว = 10 cm3 x 2g/cm3 = 20 g
  • 27. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 27 มวลของน้ํา = 1000 cm3 x 1g/cm3 = 1000 g สมมติมวลโมเลกุลของของเหลว = M ก. a โมแลล ข. b mol / dm3 โมลสาร โมลสาร 20 / M 20 / M 1000 g น้ํา ปริมาตรน้ํา + ของเหลว (1000 + 10 ) cm3 ค. x% โดยมวล ง. Y% โดยมวล / ปริมาตร มวลสาร 20 g มวลสาร 20 g มวลน้ํา + มวลสาร ปริมาตรน้ํา + ปริมาตรสาร (1000 + 20 ) g (1000 + 10 ) cm3 ตอบ ขอ 3 คําชี้แจงขางลางนี้ใชตอบคําถามขอ 2 – 3 สาร มวลโมเลกุล ความเขมขนในเบนซีน การแตกตัวใน เบนซีน จุดเดือด C Kb X Y Z เบนซีน 150 180 200 78 7.5 กรัม / 500 กรัม 1.8 กรัม / 100 กรัม 4.0 กรัม / 200 กรัม ไมแตกตัว ไมแตกตัว ไมแตกตัว 80.10 2.531 2. ขอความใดถูกตอง 1. สารละลาย X มีจุดเดือดต่ํากวาสารละลาย Y 2. สารละลาย Y มีจุดเดือดต่ํากวาสารละลาย Z 3. สารละลาย Z มีจุดเดือดสูงกวาสารละลาย X 4. สารละลาย X , Y และ Z มีจุดเดือดเทากัน หลัก กําหนดจุดเดือดของสารละลาย แสดงวาสารละลายตองมีความเขมขนเปน molal คือ ตัวถูกละลายเปน mol / ตัว ทําละลายเปน 1 kg จํานวน molal ของ X = = 0.1 7.5 กรัม 500 กรัม 1 mol 150 กรัม 1000 กรัม 1 kg
  • 28. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 28 1.8 กรัม 1000 กรัม 1 mol 180 กรัม 1000 กรัม 1 kg W1 M1 1000 w2 4.56 M 1000 100 จํานวน molal ของ Y = = 0.1 ตอบ ขอ 4 3. สารละลาย X มีจุดเดือดเทาใด (°C) 1. 80.35 2. 82.67 3. 84.10 4. 87.69 วิธีทํา จุดเดือดสารละลาย = จุดเดือดตัวทําละลาย + ∆Tb Tb = mKb จุดเดือดสารละลาย = 80.10 + 0.1 x 2.53 = 80.35 ตอบ ขอ 1 4. 0.57 กรัมของกรดอินทรียออน โมโนโปรติกชนิดหนึ่ง ทําปฏิกิริยาพอดี 25 cm3 0.1 M ของ NaOH เมื่อนํากรดนี้ มา 4.56 กรัม ไปละลายในเบนซีน 100 กรัม จุดเยือกแข็งลดลง 0.512°C ถาสารนี้ 1 โมลละลายในเบนซีน 1000 กรัม ทําใหจุดเยือกแข็งของสารละลายลดลง 5.12 °C ขอสรุปขอใดถูกตอง 1. มวลโมเลกุลของกรดในน้ํา = 456 2. กรดมีไฮโดรเจนที่ถูกแทนที่ได 2 อะตอม 3. กรดนี้แตกตัวไดหมดในน้ํา 4. มวลโมเลกุลของกรดในเบนซีน = 456 หลัก โจทยบอกกรดละลายในเบนซีน และเปนกรดออน เปนโมโนโปรติกสูตรทั่วไป = HX วิธีทํา ∆Tf = Kf 0.512 = 5.12 M = 456 (ในเบนซีน) ตอบ ขอ 4 5. ของเหลว x เปนสารบริสุทธิ์มีมวลโมเลกุล = 100 และมีความหนาแนน = a g/cm3 ถานําของเหลว x นี้มา y cm3 อยากทราบวา มีกี่โมล กี่โมเลกุล 1. ax/100 , ax/100(6.02 x 1023 ) 2. xy/100 , xy/100(6.02 x 1023 ) 3. axy/100 , axy/100(6.02 x 1023 ) 4. ay/100 , ay/100(6.02 x 1023 ) หลัก ของเหลวชื่อ x คําตอบมี x ไมได ตอบ ขอ 4
  • 29. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 29 ของเหลว x มีกี่โมล y cm3 ของของเหลว ay 100 วิธีคิด = ของเหลว x = โมล 5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี Rate: R พิจารณาจาก สมการ aA + bB cC + dD จะไดวา R ของปฏิกิริยาเคมี = - 1/aRA = -1/bRB = +1/cRC = +1/dRD เชน Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) Rของปฏิกิริยา = -RMg = -1/2RHCl = +RMgCl2 = RH2(g) Rate ของปฏิกิริยาหาไดจากการทดลอง จากสมการขางบนนี้ จะได R = k[A]x [B]y x , y = อันดับของสาร A และสาร B x + y = อันดับรวมของปฏิกิริยา อิทธิพลที่มีผลตอ Rate 1. ความเขมขน 2. ธรรมชาติของสาร 3. อุณหภูมิ 4. คะตะไลท กราฟของ Rate คือ เรง (cat +) หนวง (cat -) E2 E2 E2 E E E3 E E1 E3 E1 ∆E E1 E3 เวลา เวลา เวลา (1) (2) (3) 1 โมล 100 g a (g) 1 cm3
  • 30. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 30 E2 Eaf Ear N2 + 3H2 2NH3 + E E1 ∆E = E3 – E1 = Eaf – Ear ∆E E3 = + (ดูด Energy) = - (คาย Energy) 1. เมื่อใส 1.0 M HCl 75 cm3 ลงในหินปูนชิ้นเล็ก ๆ จะมีแกสคารบอนไดออกไซดเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงในขอใด ไมทําใหอัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาเริ่มตนเพิ่มขึ้น 1. ใช 1 M HCl 100 cm3 2. ใช 2 M HCl 25 cm3 3. ใช 2 M HCl 50 cm3 4. ใชบดหินใหละเอียดเปนผง หลัก สารตั้งตนมีมาก เกิดปฏิกิริยาไดมาก สารตั้งตนมีนอย เกิดปฏิกิริยาไดนอย ∴ R α [ ] สารตั้งตนคงที่ อัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาก็จะคงที ตอบ ขอ 1 2. มีสาร 3 ชนิด A , B และ C ทําปฏิกิริยากันจะไดสาร D แตถาเลือก 2 ชนิดที่เหมาะมาทําปฏิกิริยากันพบวาจะได ผลิตภัณฑเหมือนกัน แตใชเวลานานกวา ปฏิกิริยาในการผสมสาร 3 ชนิดเกิดขึ้น 2 ขั้นดังนี้ A + C AC AC + B D + C ขอใดผิด 1. สาร 2 ชนิดที่เหมาะสมที่นํามาผสมกันคือ A และ B 2. สาร C เปนตัวเรงปฏิกิริยา 3. สาร AC ไมอยูตัว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงได 4. ถาผสม A กับ C เขาดวยกัน A จะเปนตัวหนวงปฏิกิริยา หลัก จาก 2 สมการใหพิจารณา สารตั้งตนของสมการแรก ผลิตภัณฑจากสมการสุดทาย จะไดวา C เปนตัวเรงปฏิกิริยา ∴ สารตั้งตนที่เกิดปฏิกิริยาชา คือ A + B ตอบ ขอ 4
  • 31. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 31 0.0033 25 0.0039 15 0.0077 7.5 3. ปฏิกิริยา A + B C + D เปนปฏิกิริยาดูดความรอนและมีคาพลังงานของการเกิดปฏิกิริยา = 25 kJ/molพลังงาน กอกัมมันตของปฏิกิริยานี้จะเทากับเทาใด 1) - 25kJ/mol 2) นอยกวา +25 kJ/mol 3) มากกวา +25 kJ/mol 4)อาจมากกวาหรือนอยกวา +25kJ/mol หลัก E ของการเกิดปฏิกิริยา = Eaf – Ear = + ดูดพลังงาน โจทยถามพลังงานกอกัมมันต = ถาม Eaf ของปฏิกิริยา ตอบ ขอ 3 4. แกส NO2 สลายตัวตามสมการ 2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) ถาอัตราการสลายตัวของ NO2(g) เทากับ 4.4 x 10-5 M/sec อัตราการเกิด O2(g) จะเปนเทาใดในหนวย M/sec 1. 1.1 x 10-5 2. 2.2 x 10-5 3. 4.4 x 10-5 4. 8.8 x 10-5 หลัก จาก 2NO2 2NO + O2 จะไดวา R ของปฏิกิริยา = -1/2RNO2 = -1/2RNO = +RO2 RO2 = 1/2RNO2 = ½ x 4.4 x 10-5 ตอบ ขอ 2 5. จากการศึกษาปฏิกิริยา A + B C ซึ่งเปนปฏิกิริยาขั้นตอนเดี่ยวที่ 25C มีขอมูลดังนี้ [A] M [B] M เวลา(sec) [C] M 0.10 0.10 0.20 0.05 0.10 0.10 25 15 7.5 0.0033 0.0039 0.0077 ขอสรุปใดเปนขอถูก 1. เมื่อ [A] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา 2. เมื่อ [B] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา 3. เมื่อ [A] , [B] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา 4. เมื่อ [A] เพิ่ม 3 เทา , [B] เพิ่ม 2 เทา Rate เพิ่ม 3 เทา หลัก R = k[A]n [B]m (1) = k(0.10)n (0.05)m (2) = k(0.10)n (0.10)m (3) = k(0.20)n (0.10)m
  • 32. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 32 (2) (1) (3) (2) และ จะได R = k[A]2 [B]1 ตอบ ขอ 1 6. สาร X สามารถสลายตัวไดดังสมการ 3X 5Y + 6Z เมื่อวัดความเขมขนของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลาย ตัวพบวาไดขอมูลดังตารางตอไปนี้ เวลา (วินาที) [X] mol/dm3 0.00 1.000 5.00 0.850 10.00 0.750 15.00 0.700 20.00 0.670 ที่เวลา 5.00 วินาที จะมีสาร Y เขมขนกี่ mol/dm3 1. 0.15 2. 0.25 3. 0.85 4. 1.42 หลัก ที่ 5.00 วินาที สาร X ที่ใชไป = 1.000-0.850 = 0.150 mol/dm3 จากสมการ ใชสาร X 3 โมล ไดสาร Y = 5 โมล 0.150 โมล = 250.0150.0 3 5 =× โมล ตอบขอ 2 7. สาร A และสาร B ทําปฏิกิริยากันดังสมการ 2CBA →+ เมื่อใชสาร A 0.2 M จํานวน 3 cm3 ผสมกับสาร B 0.2 M จํานวน 3 cm3 จับเวลาทันทีที่สารผสมกัน หลังจากเวลาผานไป 10 วินาที นําสารละลายผสมไปวิเคราะหหาจํานวนโมลของ C ปรากฏวามีสาร C เกิดขึ้น 2.3 × 10-4 โมล อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีคาเทาใด 1. ระยะทางที่ระดับสารลดลงใน 1 วินาที 2. ความเขมขนของสาร C ที่เกิดขึ้น/เวลา = 0.23 × 10-4 โมล 3. ความเขมขนของสาร A ที่ลดลงตอเวลา = 0.38 × 10-4 โมล/วินาที 4. อัตรการลดลงของ A มีคาเทากับ 0.19 × 10-2 โมล/วินาที หลัก 2CBA →+ ใช CBA R 2 1 RR == [ ] 10s 1 1L 1000cm 6cm mole102.3 t C R 3 3 4 C − × == 10L.s6 mol10102.3 34 × ×× = − ∴ mol/L.s 6 102.3 2 1 R 2 A − × = = 0.19 × 10-2 mol/L.s
  • 33. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 33 1 อุณหภูมิ 1 อุณหภูมิ ตอบขอ 4 6 สมดุลเคมี 1. อิทธิพลที่มีผลตอสมดุล 1. ความเขมขน 2. ความดัน 3. อุณหภูมิ 2. จากปฏิกิริยา 1. N2(g) + 3H2(g) 2NH3 + ∆H K1 2. N2O4(g) + ∆H 2NO2(g) K2 ปฏิกิริยาที่ 1 ประเภทคายพลังงาน จะได K α ปฏิกิริยาที่ 2 ประเภทดูดพลังงาน จะได K α อุณหภูมิ 3. 1) N2 + 3H2(g) 2NH3 + ∆H , K1 2) 2NH3 + ∆H N2 + 3H2 K2 จะไดวา K2 = 1/K1 3) NH3 + ∆H 1/2N2 + 3/2H2 K3 จะไดวา K3 = (1/K1)1/2 และ K3 = (K2)1/2 1. รูปตอไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A + B C + D + E A + B C + D + E เวลา จากการทดลองคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิตาง ๆ ไดผลดังนี้ อุณหภูมิ คาคงที่ 25 35 45 X Y Z จงเรียงลําดับของคา X , Y , Z ไดดังขอใด 1. X > Y > Z 2. X < < Z 3. X = Y = Z 4. X < Y > Z หลัก จากกราฟพลังงานกับเวลา เปนปฏิกิริยาคายพลังงาน คา K α
  • 34. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 34 [ผลิตภัณฑ] [สารตั้งตน] ตอบ ขอ 1 2. ถาการเกิดปฏิกิริยาของ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) ไปขางหนาจะเปนปฏิกิริยาคายความรอน ถา ตองการใหไดผลผลิตภัณฑมากที่สุดควรจะทําอยางไร 1. ทําที่อุณหภูมิต่ํา ความดันสูง 2. ทําที่อุณหภูมิต่ํา ความดันต่ํา 3. ทําที่อุณหภูมิสูง ความดันสูง 4. ทําที่อุณหภูมิสูง ความดันต่ํา หลัก จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) + ∆H ตองการ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) + ∆H เติมสารซาย ลดสารขวา ≡ เคมีจะเกิดจากซาย ขวา เพิ่มความดัน ปริมาตรจะลด ตามกฎของ Boyle ตองลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน ตอบ ขอ 1 3. จากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เมื่อทองแดงอยูในสารละลายซิลเวอรไนเตรท จะเปนดังนี้ Cu(s) + 2Ag+ (aq) Cu2+ (aq) + 2Ag(s) เมื่อปฏิกิริยาเขาสูสมดุล 1. อัตราสวนของความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะคงที่ 2. ความเขมขนของสารตั้งตนจะเทากัน 3. ความเขมขนของสารผลิตภัณฑจะเทากัน 4. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะเทากัน หลัก ความเขมขนของของแข็งและของเหลวมีคาคงที่คือเสมือนหนึ่งวาเทากับ 1 คาคงที่สมดุล K = = คาคงที่ ตอบ ขอ 1 4. ขอใดที่แสดงวาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา BiCl3(aq) + H2O(l) BiOCl(s) + 2HCl(aq) 1. 2. 3. 4. [BiOCl][HCl]2 [BiCl3] [BiOCl][HCl]2 [BiCl3][H2O] [HCl] [BiCl3][H2O] [HCl]2 [BiCl3]
  • 35. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 35 ตอบ ขอ 4 5. สมการใดตอไปนี้มีคาคงที่สมดุลเทากับ 1/[H2] 1. H2(g) + S(s) H2S(g) 2. H2(g) + S(l) H2S(g) 3.H2(g) + S(l) H2S(g) 4. H2(g) + S(s) H2S(s) ตอบ ขอ 4 6. คาคงที่ของปฏิกิริยา H2(g) + S(s) H2S(g) ที่ 900C มีคาเทากับ 4.0 x 10-2 แลวคาคงที่ของสมดุลของ ปฏิกิริยาที่แทนที่ดวยสมการ 1/2H2S(g) 1/2H2(g) + 1/2S(s) เทากับ 1. 5.0 2. 1.4 x 10-3 3. 4.6 4. 2 x 10-1 หลัก Kของสมการ = (1/Kเดิม)1/2 = ( ½ x 10-2 )1/2 ตอบ ขอ 1 7. วิธีการหนึ่งที่ใชหาปริมาณของเหล็กในน้ําตัวอยางคือวัดความเขมขนของสีแดงของ [FeSCN]2+ (aq) ที่เกิดขึ้นถาตองการ ใหคาที่วัดไดมีความถูกตองมากที่สุดทําอยางไร 1. เปลี่ยนเหล็กในน้ําตัวอยางใหอยูในรูปของ Fe(III) แลวจึ่งเติม NH4SCN ใหมากเกินพอ 2. เหมือนขอ 1 ทุกอยางแลวเติม (NH4)2HPO4 ลงไปดวย 3. เติมเกลือ KI ลงในน้ําตัวอยางกอนแลวเติม NH4SCN(aq) ใหมากเกินพอ 4. เหมือนขอ 3 ทุกอยางแลวเติม (NH4)2HPO4 ลงไปดวย หลัก Fe3+ + NH4SCN [FeSCN]2+ + NH4 + สีแดง ตอบ ขอ 1 8. จากปฏิกิริยาสมดุลตอไปนี้ ปฏิกิริยาจะดําเนินไปขางหนาเมื่อเพิ่มความรอน 1. CH4(g) + 2H2S(g) CS2(g) + 4H2(g) 2. CO2(g) CO(g) + O2(g) 3. CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g) 4. 2CO(g) CO2(g) + C(s) หลัก เพิ่ม P แลว V ลดตามกฎของ Boyle ตอบขอ 4 9. น้ําตาลกลูโคสมีโครงสราง 2 ชนิด ชนิด (ก) เมื่อละลายน้ําจะเปลี่ยนเปนชนิด (ข) ที่ภาวะสมดุลมีน้ําตาลชนิด (ข) 63.6% คาคงที่ของปฏิกิริยาจะเปนเทาใด กลูโคส (ก) กลูโคส (ข)
  • 36. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 36 1. 0.015 2. 0.027 3. 0.57 4. 1.75 หลัก กลูโคส (ก) กลูโคส (ข) ณ สมดุล .................. 63.6% 10. กําหนดใหคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี้ที่ 25 °C มีคา a, b และ c ดังนี้ 2 N2O(g) 2 N2 (g) + O2 (g) K1 = a 2 N2O4(g) 4 NO2 (g) K2 = b N2 (g) + O2 (g) 2 NO2 (g) K3 = c 2 N2O(g) + 3 O2 (g) 4 N2O4(g) K4 = …………… K4 จะมีคาเทาใดในเทอม a, b และ c 1. a + c – b 2. a + 2c – b 3. ac/b 4. ac2 /b หลัก สมการบวกกัน K ใหม = K เดิม ×กัน สมการลบกัน K ใหม = K เดิม ÷กัน n × สมการเดิม K ใหม = (K เดิม)n 7 กรด – เบส – เกลือ 1. กรด มี 2 ชนิด 1. กรดไฮโดร H – X เชน HCl , H2S 2. กรด OXO H – X – O เชน HNO3 , H2SO4 กรดมีสูตรทั่วไป HA mono protic H2A di protic H3A poly protic เบสมี 3 ชนิด 1. โลหะไฮดรอกไซด : NaOH , Ca(OH)2 2. โลหะออกไซด : K2O , CaO 3. เบสที่ปราศจากน้ํา : NH3 สารประกอบเกลือ มี 5 ชนิด 1. เกลือปกติ : Na2SO4 2. เกลือกรด : NaHCO3 3. เกลือเบส : Al(OH)2Cl 4. เกลือเชิงประกอบ : K2SO4. Al2(SO4)3 . 24H2O (alum) 5. เกลือเชิงซอน : K3[Fe(CN)6] , NH4SCN
  • 37. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 37 เบสกรด •• • x • x • x • • + 2. นิยามของกรด , เบส 1. นิยามกรดเบสของอารีเนียส กรดคือสารประกอบที่มี H+ อยู เมื่อละลายน้ําให H+ กับน้ํา เบสคือสารประกอบที่มี OH- อยู เมื่อละลายน้ําให OH- กับน้ํา 2. นิยามกรดเบสของ บรอนสเตทและเลารี HCl + NH3 NH4 + + Cl- กรด1 เบส1 เบส2 กรด2 ดังนั้น HCl เปนคูกรดของเบส Cl- ION ลบของกรดที่มี H อยูจะทําหนาที่เปนไดทั้งกรด – เบส 3. นิยามกรดเบสของลิววิส กรดคือสารที่รับอิเล็กตรอนมา เบสคือสารที่ใหสารอื่นยืมอิเล็กตรอน H H+ + NH3 NH4 + H N H H 4. กรดแก , กรดออน HA HA H+ H+ A- A- HA สารละลาย สารละลาย 5. ตามปกติความเขมขนของกรด , เบสที่นอยกวา 1.0 M จะบอกหรือกําหนดคาความเปนกรด , เบสดวย คา pH pH 1 7 14 6. สารที่ใชตรวจสอบคา pH ของสารละลาย เรียกวา Indicator ที่สําคัญคือ Indicator สีของสารละลาย ชวง pH สีของสารละลาย Methyl orangre (MO) Bromthymol blue(BB) Litmus Phenolphthalein(PP) แดง เหลือง แดง ไมมีสี 31. – 4.4 6.0 – 7.6 4.5 – 8.3 8.3 - 10 เหลือง น้ําเงิน น้ําเงิน แดง กลาง
  • 38. เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 38 M1V1 1000 M2V2 1000 มวลเปนกรัม มวลโมเลกุล % 100 [H+ ] Co 7. คา pH ของกรดเบส กรด เบส กรดแก : [H+ ] = Co mol/dm3 เบสแก : [OH- ] = Co mol/dm3 กรดออน เบสออน [H+ ] = √ CoKa [OH- ] = √ CoKa ( Co = ความเขมขนเดิม ) สูตร คา pH = - log[H+ ] และ pOH = - log[OH- ] ถา [H+ ][OH- ] = 10-14 จะไดวา pH + pOH = 14 เพื่อความสะดวก กําหนดคา [H+ ] = 1 x 10-pH mol/dm3 เชน 0.01 M = 1 x 10-2 M [H+ ] = A + 10-B mol/dm3 แลว pH = B – log A เชน [H+ ] = 2 x 10-3 mol/dm3 แลว pH = 3 – log 2 8. เปรียบเทียบกรด หรือเบสที่มี Co เทากัน จะไดวา กรดใด ๆ ที่ให [H+ ] มาก ความแรงของกรดจะมาก Ka จะมากแต pH จะต่ํา และ [H+ ] หาไดจาก 1. = = 2. pH 3. √ CoKa 4. เปอรเซนตการแตกตัว : = 9. หาปริมาณความเขมขนหรือสาร โดยการไทเทรต 10. สารละลายบัฟเฟอร หมายถึงสารละลายผสมระหวาง 1. กรดออน + เกลือของกรดออน ( HA + AH ) 2. เบสออน + เกลือของเบสออน ( HOH + HA ) 11. ไฮโดรไลซิสของเกลือ หมายถึง เกลือที่ละลายน้ําไดสารละลายมีฤทธิ์กรดหรือเบส เกลือที่ละลายน้ําไดดี หมายถึงเกลือของสารประกอบหมู I ( Li , Na , K ) , NH4 + , NO3 -