SlideShare a Scribd company logo
โครงสร้างอะตอม
และตารางธาตุ
1. ความหมายของธาตุ อะตอม และโมเลกุล
2. โครงสร้างอะตอม
3. สมบัติของธาตุและสารประกอบ
ธาตุ (element)
หมายถึง สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิด
เดียวไม่สามารถ นา มาแยกสลายให้กลายเป็นสารอื่นๆ
ได้โดยวิธีการทางเคมี ปัจจุบันธาตุมีไม่น้อยกว่า 119
ธาตุ เป็นธาตุที่พบตามธรรมชาติ 92 ธาตุ นอกนั้นเป็น
ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้น
เพราะฉะนั้น
“อะตอมเป็นองค์ประกอบของธาตุนั่นเอง”
อะตอมและโมเลกุล
(Atom and Molecule)
อะตอม (atom)
เป็นอนุภาคที่เล็กที่สุดที่สามารถ
แสดงสมบัติของธาตุนั้นได้
ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน
3 ชนิด คือ โปรตอน (proton) นิวตรอน
(neutron) และอิเล็กตรอน (electron)
โมเลกุล (molecule)
คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสาร
ซึ่งสามารถอยู่เป็นอิสระและ
รักษาสมบัติทางเคมีของสารนั้นได้
เกิดจากการรวมตัวกันของอะตอม
2 อะตอมขึ้นไป แบ่งเป็น
1) โมเลกุลของธาตุ ประกอบด้วยอะตอมของธาตุ ตั้งแต่ 2 อะตอม
ขึ้นไปมาสร้าง แรงยึดเหนี่ยวกัน เช่น แก๊สไนโตรเจน (N2) แก๊ส
ออกซิเจน (O2) แก๊สคลอรีน (Cl2) เป็นต้น
2) โมเลกุลของสารประกอบ ประกอบด้วยอะตอมของธาตุ ตั้งแต่ 2 ชนิด
ขึ้นไปมาสร้าง แรงยึดเหนี่ยวกัน เช่น น้า (H2O)
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แก๊สมีเทน (CH4) เป็นต้น
โมเลกุลของธาตุ
โมเลกุลของสารประกอบ
เพราะฉะนั้น อะตอมจึงเป็น
อนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุดล่ะสิ
แล้วอะตอมนี่มันมีรูปร่างหน้าตา
เป็นยังไงนะ ?
•แบบจาลองอะตอม
แบบจาลองอะตอมได้ถูกพัฒนาขึ้นมาตั้งแต่สมัยอดีตจนถึง
ปัจจุบันมีแบบจาลองอะตอมจานวน 5 แบบดังนี้
1. แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
2. แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
3. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
4. แบบจาลองอะตอมของโบร์
5. แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ จอห์น ดอลตัน (John
Dalton) ได้พยายามเสนอแนวคิดเกี่ยวกับอะตอมเพื่อใช้
ในการอธิบายเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีดังกล่าว ซึ่งมี
สาระสาคัญดังนี้
1. สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุด
เรียกว่า อะตอมซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก
2. อะตอมไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทาให้
สูญหายไปได้
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันย่อมเหมือนกันและมี
สมบัติแตกต่างจากธาตุอื่นเช่น อะตอมของธาตุชนิด
เดียวกันย่อมมีมวลที่เท่ากัน
4. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวทางเคมีระหว่าง
อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน ด้วยอัตราส่วนของ
จานวนอะตอมเป็นเลขลงตัวน้อยๆ
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
อะตอมมีลักษณะทรงกลม และเป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่ง
แบ่งแยกไม่ได้ และไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทาให้สูญหายไปได้
หลอดรังสีแคโทด
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
ในปี พ.ศ. 2440 นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ชื่อ เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน
(Sir Joseph John Thomson)
ได้นาหลอดรังสีแคโทดมา
ดัดแปลง
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
วิดีโอการทดลองรังสีแคโทด
แสดงว่าตอนนี้ทอมสันค้นพบอิเล็กตรอนแล้วสินะ
แล้วแบบนี้แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
คงมีแต่อิเล็กตรอนเต็มไปหมดแน่เลย !
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
“อิเล็กตรอนเป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของอะตอม
และอิเล็กตรอนของทุกอะตอมจะมีสมบัติเหมือนกัน”
ทอมสันจึงสรุปว่า...
การวัดประจุต่อมวลของอิเลกตรอน โดย J.J.
Thomson (1906 Nobel Prize in Physics)
2.2
ประจุต่อมวลของอิเลกตรอน = 1.76 x 108 C/g
การค้นพบโปรตอน
ออยเกน โกลด์ชไตน์(Eugen Goldstein)
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ดัดแปลงหลอดรังสี
แคโทด โดยเพิ่มฉากเรืองแสงที่ด้านหลังขั้วแคโทด
และเจาะรู้ด้านขั้วแคโทด โดยขั้วแคโทดและ
ขั้วแอโนดอยู่ตรงกลางหลอด เพิ่มฉากเรืองแสงที่
ปลายหลอดรังสีแคโทดทั้งสองด้าน
พบว่าเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดรังสีแคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึ่ง
เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไปในทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของรังสีแคโทด
ผ่านรูของขั้วแคโทด และทาให้ฉากด้านหลังขั้วแคโทดเรืองแสงได้
โกลด์ชไตน์ได้ตั้งชื่อว่า “รังสีแคแนล” (canal ray)
หรือ “รังสีบวก” (positive ray)
ทอมสันได้วิเคราะห์การทดลองของโกลด์ ชไตน์
และการทดลองของทอมสัน
จึงเสนอแบบจาลองอะตอมว่า
อะตอม ประกอบด้วย อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน
กระจายอยู่ทั่วไปอย่างสม่าเสมอ อะตอมในสภาพที่เป็น
กลางทางไฟฟ้าจะมีจานวนประจุบวกเท่ากับประจุลบ
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
การหาประจุของอิเล็กตรอนโดย
Millikan
ประจุของอิเล็กตรอน = 1.60 x 10-19 C
ประจุต่อมวลของอิเลกตรอน = 1.76 x 108 C/g
มวลของอิเล็กตรอน = 9.10 x 10-28 g
การหาประจุของอิเล็กตรอนโดย Millikan
ในปี พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911)
ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
“ถ้าอะตอมมีโครงสร้างตามแบบจาลอง
ของทอมสันจริง ดังนั้นเมื่อยิงอนุภาคแอลฟา
ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเข้าไปในอะตอม
แอลฟาทุกอนุภาคจะทะลุผ่านเป็นเส้นตรง
ทั้งหมดเนื่องจากอะตอมมีความหนาแน่น
สม่าเสมอเหมือนกันหมดทั้งอะตอม”
แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
เพื่อพิสูจน์สมมติฐานนี้ รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทาการทดลองยิงอนุภาคแอลฟา
ไปยังแผ่นทองคาบาง ๆ โดยมีความหนาไม่เกิน 10–4 cm โดยมีฉากสาร
เรืองแสงรองรับ
ปรากฏผลการทดลองดังนี้
1. อนุภาคส่วนมากเคลื่อนที่ทะลุผ่านแผ่นทองคาเป็นเส้นตรง
2. อนุภาคส่วนน้อยเบี่ยงเบนไปจากเส้นตรง
3. อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคา
วิดีโอการทดลอง rutherford
รัทเทอร์ฟอร์ดจึงตั้งสมมติฐานว่า
1. อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่เคลื่อนที่ทะลุผ่านแผ่นทองคาเป็นเส้นตรงแสดงว่า
พื้นที่ส่วนใหญ่ของอะตอมจะต้องเป็นที่ว่าง
2. อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยเบี่ยงเบนไปจากเส้นตรงแสดงว่า อนุภาคแอลฟา
ต้องไปเคลื่อนที่ไปเฉียดกับกลุ่มของอนุภาคบวก
3. อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคาแสดงว่า
อนุภาคแอลฟาต้องไปเคลื่อนที่ไปชนกับกลุ่มของอนุภาคบวก
“อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรง
กลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก และมีประจุบวก ส่วน
อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิ่งอยู่รอบ ๆนิวเคลียส”
เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้ค้นพบอนุภาคอีก
ชนิดหนึ่ง ไม่มีประจุไฟฟ้า และตั้งชื่อว่า “นิวตรอน” (neutron)
นิวตรอนมีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย
โดยมีมวลเท่ากับ 1.675 x 10–24 กรัม และรัทเทอร์ฟอร์ด
ได้เสนอว่านิวตรอนเป็นอนุภาคที่อยู่ในนิวเคลียสของอะตอม
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
อนุภาค สัญลักษณ์
ประจุไฟฟ้า
(คูลอมบ์)
ชนิดประจุ
ไฟฟ้า
มวล(กรัม)
อิเล็กตรอน
โปรตอน
นิวตรอน
e
p
n
1.602x10-19
1.602x10-19
0
-1
+1
0
9.109x10-28
1.673x10-24
1.675x10-24
การบอกจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจะใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ซึ่งเขียนแทนด้วย
X คือ สัญลักษณ์ของธาตุที่ต้องการบอกจานวน
อนุภาคมูลฐาน
Z คือ เลขอะตอม (Atomic Number) ซึ่งเป็นตัว
เลขที่แสดงจานวนโปรตอน (p)
A คือ เลขมวล (Mass Number) ซึ่งตัวเลขที่
แสดงผลรวมของจานวนโปรตอน(p)
และนิวตรอน (n)ในนิวเคลียสของอะตอม
สัญลักษณ์
( X)
เลขมวล
(A)
เลขอะตอม
(Z)
อนุภาคมูลฐานในอะตอม
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
He 4 2 2 2 2
Be 9 4 4 5 4
O 16 8 8 8 8
Na 23 11 11 12 11
Al 27 13 13 14 13
A
Z
4
2
9
4
16
8
เลขมวล(A) = จานวนโปรตอน (p) + จานวนนิวตรอน (n)
จานวนนิวตรอน (n) = เลขมวล (A) - จานวนโปรตอน (p)
หรือ = เลขมวล (A) - เลขอะตอม (Z)
จานวนอิเล็กตรอน (e) ในอะตอม = จานวนโปรตอน (p)
จานวนอิเล็กตรอน (e) ในไอออน = ประจุ + อิเล็กตรอนลด
ประจุ - อิเล็กตรอนเพิ่ม
35
17 Cl
โปรตอน (p) = .........................
นิวตรอน (n) = ........................
อิเล็กตรอน(e) = .......................
35
17 Cl-
โปรตอน (p) = .........................
นิวตรอน (n) = ........................
อิเล็กตรอน(e) = .......................
23
11 Na +
23
11 Na
โปรตอน (p) = .........................
นิวตรอน (n) = ........................
อิเล็กตรอน(e) = .......................
โปรตอน (p) = .........................
นิวตรอน (n) = ........................
อิเล็กตรอน(e) = .......................
40
20 Ca2+
40
20 Ca
โปรตอน (p) = .........................
นิวตรอน (n) = ........................
อิเล็กตรอน(e) = .......................
โปรตอน (p) = .........................
นิวตรอน (n) = ........................
อิเล็กตรอน(e) = .......................
ไอโซโทป (isotope) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันอาจมีจานวน
นิวตรอนที่ไม่เท่ากันซึ่งทาให้มีเลขมวลที่ไม่เท่ากันเรียกว่า
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ชื่อเฉพาะ สัญลักษณ์
H โปรเทียม (Protium) H
H
ดิวเทอเรียม
(Deuterium)
D
H ทริเทียม (Tritium) T
1
1
2
1
3
1
ไอโซบาร์ (Isobars) คือ อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน
ที่มีเลขมวลเท่ากัน แต่ เลขอะตอมต่างกัน
ไอโซโทน ( Isotone ) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันที่มีจานวน
นิวตรอนเท่ากัน แต่มีเลขมวลและเลขอะตอมไม่เท่ากัน
เช่น
เช่น
การจัดตัวของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส อิเล็กตรอน
ในอะตอมมีการจัดเรียงตัว เป็นชั้น ๆ รอบนิวเคลียส
แต่ละชั้นเรียกว่า ระดับพลังงาน (energy level)
• การจัดเรียงอิเล็กตรอน
• การจัดเรียงอิเล็กตรอน
การศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่า จานวนอิเล็กตรอนที่มีมาก
ที่สุดในแต่ละดับพลังงานมีค่าเท่ากับ 2n2 โดย n คือเลขบอกระดับ
พลังงาน และเรียกอิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุดว่า
เวเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence electron)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงานหลัก ระดับพลังงานย่อย
2 8 18 32 …. 1s2 2s2 2p6 3s2 ….
ระดับพลังงานหลัก
ระดับพลังงานที่ (n) 1 2 3 4 5 6
จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุด 2 8 18 32 50 32
ธาตุ เลขอะตอม
จานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
การจัดเรียงอิเล็กตรอนอย่างย่อ
n = 1 n = 2 n = 3
H 1 1 1
Li 3 2 1 2 1
Be 4 2 2 2 2
B 5 2 3 2 3
C 6 2 4 2 4
N 7 2 5 2 5
O 8 2 6 2 6
F 9 2 7 2 7
Na 11 2 8 1 2 8 1
Mg 12 2 8 2 2 8 2
จานวนอิเล็กตรอนที่มีมากที่สุดของระดับ
พลังงานที่ n = 1 และ n = 2 มีเท่าไหร่
จานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุด
ของธาตุที่มีเลขอะตอม 3 ถึง 8 เป็นเท่าไร
ธาตุ เลขอะตอม
จานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
การจัดเรียงอิเล็กตรอนอย่างย่อ
n = 1 n = 2 n = 3
H 1 1 1
Li 3 2 1 2 1
Be 4 2 2 2 2
B 5 2 3 2 3
C 6 2 4 2 4
N 7 2 5 2 5
O 8 2 6 2 6
F 9 2 7 2 7
Na 11 2 8 1 2 8 1
Mg 12 2 8 2 2 8 2
ธาตุที่อยู่คาบเดียวกันในตารางธาตุมีจานวนอะไรเท่ากัน
ธาตุที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 4
อยู่หมู่ใด คาบใด และมีเลขอะตอมเท่าใด
ธาตุที่อยู่หมู่เดียวกันในตารางธาตุมีจานวนอะไรเท่ากัน
ธาตุลิเทียม (Li) มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 1 จึงอยู่หมู่ 1 คาบที่ 2 ในตารางธาตุ
ธาตุฟลูออรีน (F) มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 7 จึงอยู่หมู่ 7 คาบที่ 2 ในตารางธาตุ
ธาตุโซเดียม (Na) มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 1 จึงอยู่หมู่ 1 คาบที่ 3 ในตาราง
ดังนั้น
ธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันจะมีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เท่ากัน
ส่วนธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีจานวนระดับพลังงานที่เท่ากัน
ระดับพลังงานที่ (n) 1 2 3 4 5 6
จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุด 2 8 18 32 50 32
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
ธาตุ A D E G และ J มีเลขอะตอม 8 , 12 ,16 , 18 และ 20
ตามลาดับ จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนแต่ละธาตุเป็นอย่างไร
A : 2 6
D : 2 8 2
E : 2 8 6
G : 2 8 8
J : 2 8 8 2
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
2. ธาตุใดบ้างที่อยู่ในหมู่เดียวกันและอยู่หมู่ใด
3. ธาตุใดบ้างที่อยู่คาบเดียวกันและอยู่คาบใด
A : 2 6
D : 2 8 2
E : 2 8 6
G : 2 8 8
J : 2 8 8 2
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
4. ธาตุใดบ้างที่เป็นโลหะ และเป็นอโลหะ
5. ธาตุใดบ้างเป็นแก๊สเฉื่อย
A : 2 6
D : 2 8 2
E : 2 8 6
G : 2 8 8
J : 2 8 8 2
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
4Be
7N
10Ne
14Si
16S
20Ca
35Br
56Ba
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย
1 ออร์บิทัลจะบรรจุ
อิเล็กตรอนได้มากสุด 2 ตัว

More Related Content

Similar to โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ

ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Rattana Sujimongkol
 
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์thanakit553
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
Atom
AtomAtom
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemThanapol Sudha
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemAnan Malawan
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 

Similar to โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ (20)

ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
P20
P20P20
P20
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
Chap 4 periodic table
Chap 4 periodic tableChap 4 periodic table
Chap 4 periodic table
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 

โครงสร้างอะตอม.pdfวยกสยบปานสรรรเคารจผงบวแสสารแ