SlideShare a Scribd company logo
เนืÊอหาทีÉจะต้องเรียนในบททีÉ 1 อะตอมและตารางธาตุ 
บททีÉ ř อะตอมและตารางธาตุ 
1.1 แบบจำลองอะตอม 
1.1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 
1.1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 
1.1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 
1.1.4 แบบจำลองอะตอมของโบร์ 
1.1.5 แบบจำลองอะตอมของกลุ่มหมอก 
1.1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม 
1.2 ตารางธาตุ 
1.2.1 วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ 
1.2.2 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ 
1) ขนาดอะตอม 
2) รัศมีไอออน 
3) พลังงานไอออไนเซชัน 
4) อิเล็กโทรเนกาติวิตี 
5) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 
6) จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 
7) เลขออกซิเดชัน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1 
อนุภาคมูลฐานของอะตอม 
เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
บททีÉ ř อะตอมและตารางธาตุ 
1. แบบจำลองอะตอม 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2 
 ในสมัยโบราณมีนักปราชญ์ชาวกรีก ชÉือ ดิโมคริตุส (Democritus) เชÉือว่า เมÉือย่อยสารลงเรÉือย ๆ จะได้ส่วนทÉีเล็ก 
ทÉีสุดซึÉงไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และเรียกอนุภาคขนาดเล็กทÉีสุดว่า อะตอม ซึÉงคำว่า "อะตอม" 
(atom) เป็นคำซึÉงมาจากภาษากรีกว่า (atomas) แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้ 
 สสารทัÊงหลายประกอบด้วยอนุภาค ทÉีเล็กทÉีสุด (สสารเกิดจากอะตอมรวมตัวกันขึÊนนันÉเอง) 
 ในสมัยนัÊนก็ยังไม่มีเครÉืองมือทÉีสามารถพิสูจน์และสนับสนุนแนวความคิดทÉีแน่นอนได้ จึงทำให้ไม่ทราบว่า 
อะตอมมีโครงสร้างเป็นอย่างไร จึงมีการเสนอให้มีแบบจำลองอะตอมขึÊน 
 แบบจำลองอะตอม (Atomic model) คือ ภาพทางความคิดทีÉแสดงให้เห็น รายละเอียดของโครงสร้างอะตอม ทีÉ 
สอดคล้องกับผลการทดลองต่าง ๆ ซึÉงได้แก่ 
1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน โดย จอห์น ดอลตัน 
สาระสำคัญ 
 ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค อนุภาคเล็ก ๆ นีÊ เรียกว่า อะตอม ซึÉงแบ่งแยกไม่ได้ และทำให้ 
สูญหายไม่ได้ 
 อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน เช่น มีมวลเท่ากัน แต่มีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอÉืน 
 สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึÉงชนิด ทำปฏิกิริยาเคมีในอัตราส่วนทÉีเป็นลงตัวน้อย ๆ 
ลักษณะของแบบจำลองอะตอมของดอลตัน 
 อะตอมมีขนาดเล็กมาก เป็น ทรงกลมตัน ซึÉงเขียนเป็นรูปได้ ดังนีÊ 
แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 
 แต่ต่อมา มีการศึกษาเกÉียวกับอะตอมเพิÉมขึÊน และค้นพบข้อมูลบางประการทÉีไม่สนับสนุนแนวคิดของ 
จอหน์ ดอลตัน เช่น อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน อาจมีมวลไม่เท่ากันก็ได้ และอะตอมสามารถแบ่งแยกได้ 
เป็นต้น 
 นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมา ได้ศึกษาเพิÉมเติม และสร้างแบบจำลองอะตอมขึÊนใหม่ คือ เซอร์โซเซฟ จอห์น 
ทอมสัน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3 
1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน โดย เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ศึกษาการนำไฟฟ้าของแก๊ส 
การนำไฟฟ้าของแก๊ส 
 ปกติแก๊สเป็นตัวนำไฟฟ้าทีÉไม่ดี แต่ก็นำไฟฟ้าได้ ปรากฏการณ์ทÉียืนยันได้ว่าแก๊สนำไฟฟ้าได้ก็คือ การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า 
 แก๊สนำไฟฟ้าได้ดีขึÊน เมÉือแก๊สมีความดันตํÉา ๆ และมีความต่างศักย์ของขัÊวไฟฟ้าสูง ๆ 
 แก๊สนำไฟฟ้าได้ เพราะแก๊สสามารถแตกตัวเป็นไอออนบวก (โปรตอน) และไอออนลบ (อิเล็กตรอน) เมืÉออยู่ใน 
สนามไฟฟ้าศักย์สูง ๆ 
 เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้สนใจปรากฏการณ์ทÉีเกิดขึÊนใน 
หลอดรังสีแคโทด (มีลักษณะ ดังรูป) 
 ซึÉงได้ทำการทดลองเกÉียวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สขึÊนในปี พ.ศ. ŚŜŜŘ (ค.ศ. řŠšş) ซึÉงทำการทดลอง 3 การทดลอง 
สรุปผลได้ดังต่อไปนีÊ 
การทดลองทีÉ ř ทดลองการนำไฟฟ้าของแก๊ส (โดยใช้หลอดรังสีแคโทด) 
(ขัÊวลบ ) (ขัÊวบวก) 
วิธีทดลอง 
 บรรจุแก๊ส (แก๊ส ประกอบด้วยอะตอมของธาตุ) ในหลอดรังสีแคโทด ทีÉสูบอากาศออกจนหมด (เป็นสุญญากาศ) 
 เจาะรูทÉีขัÊวบวก (แอโนด) และ นำฉากเรืองแสงวางขวางหลอด จากนัÊนต่อขัÊวไฟฟ้าเข้าเครÉืองกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง 
ดังรูป 
ผลทีÉเกิดขึÊน เห็นจุดสว่างบนฉากเรืองแสง 
สรุปผลการทดลอง 
 รังสีเดินทางเป็นเส้นตรงจากขัÊวแคโทด (ขัÊวบวก) ไปยังขัÊวแอโนด (ขัÊวลบ) 
 รังสีมีการทะลุผ่านอนุภาคของแก๊ส (ทะลุอะตอมของแก๊สนัÉนเอง) ไปปรากฏทีÉฉากเรืองแสง 
ดังนัÊน แก๊สสามารถนำไฟฟ้าได้ทÉีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง 
 แสดงว่า อะตอมไม่ได้มีลักษณะเป็นทรงกลมตันอย่างทีÉ จอห์น ดอลตัน เสนอแนวคิดไว้ 
ข้อสังเกต รังสีทÉีเกิดขึÊน เกิดจากโลหะทÉีทำแคโทด และจากแก๊สทÉีบรรจุในหลอดรังสีแคโทด
 การทดลองทีÉ Ś การค้นพบอิเล็กตรอน (ประจุลบ) 
+ 
- 
(ขัÊวลบ ) (ขัÊวบวก) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4 
วิธีทดลอง 
 เตรียมหลอดรังสีแคโทดเหมือนการทดลองทีÉ 1 
 เจาะรูทÉีขัÊวบวก (แอโนด) และ นำฉากเรืองแสงวางขวางหลอด แต่การทดลองนีÊจะ นำสนามไฟฟ้า วางในแนวตัÊง 
ระหว่าง ขัÊวแอโนดกับฉากเรืองแสง จากนัÊนต่อขัÊวไฟฟ้าเข้าเครÉืองกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ดังรูป 
ผลทÉีเกิดขÊึน เกิดจุดสว่างบนฉากเรืองแสงในทิศเข้าหาขัÊวบวก ของสนามไฟฟ้า 
สรุปผลการทดลอง 
 รังสีเดินทางเป็นเส้นตรงจากขัÊวแคโทด (ขัÊวบวก) ไปยังขัÊวแอโนด (ขัÊวลบ) และเบนเข้าหาขัÊวบวกของสนามไฟฟ้า 
ไปปรากฏบนฉากเรืองแสง ดังรูป 
 แสดงว่า รังสีทÉีเกิดขึÊน ประกอบด้วยอนุภาคลบ เรียกรังสีนีÊว่า รังสีแคโทด 
 ดังนัÊน อะตอมทุกชนิดจะมีประจุลบ เป็นองค์ประกอบ และเรียกอนุภาคนีÊว่า อิเล็กตรอน 
 และยังได้หาค่าอัตราส่วนประจุต่อมวล (e/m) ของอิเล็กตรอนโดยใช้สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าช่วยในการ 
หา ซึÉงได้ค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ ř.şŞ x 108 คูลอมบ์ ต่อ กรัม 
 การทดลองทีÉ ś การค้นพบโปรตอน (ประจุบวก) 
วิธีทดลอง 
 เตรียมหลอดรังสีแคโทดเหมือนการทดลองทÉี 1 และ 2 แต่เจาะรูทัÊงขัÊวแคโทด และ แอโนด 
 จากนัÊนนำฉากเรืองแสงวางขวางหลอดทัÊงสองด้าน และต่อขัÊวไฟฟ้าเข้าเครÉืองกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ดังรูป 
ผลทÉีเกิดขÊึน เกิดจุดสว่างบนฉากเรืองแสงทัÊงสองด้าน 
สรุปผลการทดลอง 
 เมÉือผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดรังสีแคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึÉงเคลÉือนทÉีเป็นเส้นตรงไปในทิศทางตรงกันข้าม 
กับการเคลÉือนทÉีของรังสีแคโทดผ่านรูของ ขัÊวแคโทด และทำให้ฉากด้านหลังขัÊวแคโทดเรืองแสงได้ 
 แสดงว่า รังสีทÉีเกิดขึÊน ประกอบด้วยอนุภาคบวก 
 ดังนัÊน อะตอมทุกชนิดจะมีประจุบวก เป็นองค์ประกอบ และเรียกอนุภาคนีÊว่า โปรตอน
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5 
 จากการทดลอง 3 การทดลองของทอมสัน สามารถสรุป แบบจำลองอะตอมของทอมสัน ดังนีÊ 
1. อะตอมมีลักษณะกลวง (ไม่ได้ ตัน เหมือนทีÉดอลตันบอก) 
2. อะตอมประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน (ประจุบวก) และอนุภาคลบ (ประจุลบ) กระจายอยทูั่วÉไปอย่างสมํÉาเสมอ 
และอะตอมทีÉเป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีจำนวนประจุบวก กับประจุลบเท่ากัน ดังรูป 
แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 
1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด โดย เซอร์ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด 
 ศึกษาแบบจำลองอะตอมของทอมสัน และเกิดความสงสัยว่าอะตอมจะมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริง 
หรือไม่ โดยตัÊงสมมติฐานว่า 
“ถ้าอะตอมมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริง ดังนัÊน เมืÉอยิงอนุภาคแอลฟาซึÉงมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก 
เข้าไปในอะตอม แอลฟาทุกอนุภาคจะทะลุผ่านเป็นเส้นตรงทัÊงหมด เนืÉองจากอะตอมมีความหนาแน่นของประจุบวก 
และประจุลบสมํÉาเสมอเหมือนกันหมดทัÊงอะตอม” 
 เพÉือพิสูจน์สมมติฐานนีÊ รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ โดยมีความหนาไม่เกิน 
řŘ–Ŝ cm โดยมีฉากสารเรืองแสงรองรับ ดังรูป 
 ปรากฏผลการทดลอง ดังนีÊ 
1. อนุภาคส่วนมากเคลÉือนทÉีทะลุผ่านแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง 
2. อนุภาคส่วนน้อยเบีÉยงเบนไปจากเส้นตรง 
3. อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคำ 
 ถ้าแบบจำลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง เมÉือยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ นีÊ อนุภาคแอลฟาควรพุ่งทะลุผ่าน 
เป็นเส้นตรงทัÊงหมดหรือเบÉียงเบนเพียงเล็กน้อย เพราะอนุภาคแอลฟามีประจุบวกจะเบÉียงเบนเมÉือกระทบกับประจุบวกทÉี 
กระจายอยู่ในอะตอม 
 แต่แบบจำลองอะตอมของทอมสันอธิบายผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดไม่ได้ รัทเทอร์ฟอร์ดจึงเสนอแบบจำลอง 
อะตอมขึÊนมาใหม่
 สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนีÊ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6 
“อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสทีÉมีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก และมีประจุ 
บวก ส่วนอิเล็กตรอนซึÉงมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิÉงอยรู่อบ ๆ นิวเคลียส” 
เกิดเป็นแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนีÊ 
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 
 ในการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดสรุปว่าอะตอมมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบ ดังนัÊน การคิดมวลอะตอมควรคิด 
จากมวลโปรตอนรวมกับมวลของอิเล็กตรอน แต่มวลของอิเล็กตรอนน้อยมาก การคิดมวลอะตอมจึงคิดจากมวลโปรตอน 
 พบว่ามวลโปรตอน ř โปรตอนเท่ากับ ř.ş x 10–24 กรัม หรือคิดเป็น ř หน่วยมวลอะตอม (ř amu = 1 atomic mass unit) 
 ดังนัÊนมวลอะตอมควรมีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับจำนวนโปรตอน 
 แต่จากการทดลองกลับพบว่ามวลอะตอมจริง ๆ มีค่าเป็น Ś เท่าหรือมากกว่า Ś เท่าของจำนวนโปรตอน 
 ในปี พ.ศ. ŚŜŞś (หรือค.ศ.řšŚŘ) รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอความเห็นว่าน่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึÉงทÉีเป็นกลางทางไฟฟ้าซึÉงมีมวล 
ใกล้เคียงกับมวลโปรตอน 
 ต่อมาในปี พ.ศ. ŚŜşŝ (ค.ศ. řšśŚ) เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้ค้นพบอนุภาคอีกชนิดหนึÉง ไม่มีประจุไฟฟ้า และตัÊงชÉือ 
ว่า “นิวตรอน” (neutron) นิวตรอนมีมวลน้อยกว่าโปรตอนเล็กน้อย โดยมีมวลเท่ากับ ř.Şşŝ x 10–24 กรัม 
 และรัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอว่านิวตรอนเป็นอนุภาคทีÉอยู่ในนิวเคลียสของอะตอม 
 ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอัดกันแน่นอยใู่นนิวเคลียสยึดเหนÉียวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ (nuclear 
force) และอนุภาคทีÉประกอบเป็นนิวเคลียสเรียกว่า “นิวคลีออน” (nucleon)
 อนุภาคมูลฐานของอะตอม ประกอบด้วย 
1. ประจุลบ (อิเล็กตรอน , e- ) 
2. ประจุบวก (โปรตอน , p) 
3. ประจุทีÉเป็นกลาง (นิวตรอน , n ) 
 มวลของอะตอม = มวลของนิวเคลียส = มวลของโปรตอน (p) + มวลของนิวตรอน (n) 
เลขอะตอม = จำนวนโปรตอน (p) 
เลขมวล = จำนวนโปรตอน (p) + จำนวนนิวตรอน (n) 
จำนวนโปรตอน (p) = จำนวนอิเล็กตรอน (e-) 
ตารางแสดงรายละเอียดอนุภาคมูลฐานของอะตอม 
อนุภาค สัญลักษณ์ มวล (กรัม) ประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์) ชนิดประจุไฟฟ้า 
อิเล็กตรอน e- 9.109 x 10-28 1.602 x 10-19 -1 
โปรตอน p 1.673 x 10-24 1.602 x 10-19 +1 
นิวตรอน n 1.675 x 10-24 0 0 
 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ของธาตุทีÉแสดงรายละเอียดของอนุภาคมูลฐานของอะตอมไว้ 
โดยแสดงเลขมวลไว้มุมบนซ้าย และแสดงเลขอะตอมไว้มุมล่างซ้าย ดังนีÊ 
จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ จะทำให้ทราบจำนวนอนุภาคมูลฐานได้ 
ตัวอย่างทีÉ 1 จงหาจำนวนอนุภาคมูลฐานของ 
จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ เลขอะตอม = จำนวน p 
20 = จำนวน p 
เลขมวล = จำนวนโปรตอน (p) + จำนวนนิวตรอน (n) 
40 = 20 + จำนวนนิวตรอน (n) 
จำนวนนิวตรอน (n) = 40 - 20 = 20 
ดังนัÊน อนุภาคมูลฐานได้แก่ 1) จำนวนโปรตอน เท่ากับ 20 โปรตอน 
2) จำนวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 20 อิเล็กตรอน 
3) จำนวนนิวตรอน เท่ากับ 20 นิวตรอน 
อนุภาคมูลฐานของอะตอม 
จำนะจ้า… 
เลขอะตอม เลขมวล สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ 
เลขมวล (p + n) A 
เลขอะตอม (p) Z X 
40Ca 
20 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7
ตัวอย่างทีÉ 2 จงหาอนุภาคมูลฐานของ 
ตัวอย่างทีÉ 3 จงหาอนุภาคมูลฐานของ 
 ไอโซโทป (Isotope) 
23Na 
11 
235U 
11 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8 
 ธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอม (จำนวน p ) เท่ากัน แต่ เลขมวล (จำนวน p + n) ต่างกัน 
 เช่น ธาตุ H มี 3 ไอโซโทป ดังนีÊ 
12C 
6 
13C 
6 
14C 
6 
 บางกรณีจะเขียนธาตุทÉีเป็นไอโซโทปกัน ดังนีÊ C-12 , C-13 และ C -14 
 ไอโซโทน (Isotone) 
 ธาตุต่างชนิดกัน มีเลขอะตอม (จำนวน p) และเลขมวล (จำนวน p+ n) ต่างกัน แต่มีจำนวนนิวตรอน (n) เท่ากัน 
 เช่น เป็นไอโซโทนกับ 
13C 
6 
14N 
7 
จำนวน n = 7 จำนวน n = 7 
 ไอโซบาร์ (Isobar) 
 ธาตุต่างชนิดกัน มีเลขมวล (จำนวน p + n) เท่ากัน แต่ เลขเลขอะตอม (จำนวน p) ต่างกัน 
 เช่น เป็นไอโซบาร์กับ 
13N 
7 
แบบฝึกหัด 
13C 
6 
จงจับคู่คำตอบต่อไปนÊีให้ถูกต้อง 
18A 
9 
19A 
9 
19B 
10 
20B 
10 
20C 
11 
21C 
11 
21D 
12 
23D 
12 
1) ไอโซโทป ………………………………………………………………………………………………….( 4 คู่) 
2) ไอโซโทน……………………………………………………………………………………………………..(9 คู่) 
………………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………………… 
3) ไอโซบาร์………………………………………………………………………………………………………(3คู่)
แบบทดสอบชุดทีÉ 1 
เรืÉอง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และรัทเทอร์ฟอร์ด 
คำชีÊแจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบทÉีถูกต้องทÉีสุด 
1. แก๊สนำไฟฟ้าได้ดีในสภาวะใด 
ก. ความดันสูง ความต่างศักย์ตํÉา ข. ความดันสูง ความต่างศักย์สูง 
ค. ความดันตํÉา ความต่างศักย์สูง ง. ความดันตํÉา ความต่างศักย์ตํÉา 
2. ข้อใดไม่ใช่แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9 
ก. อะตอมมีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ ข. อะตอมของธาตุต่างชนิดมีมวลนิวตรอนเท่ากันได้ 
ค. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน ง. ธาตุทำปฏิกิริยาด้วยอัตราส่วนเลขลงตัวน้อย ๆ 
3. รังสีแคโทดเกิดจากส่วนใด 
ก. ขัÊวแคโทด ค. ขัÊวแคโทดและแก๊สทÉีบรรจุภายใน 
ค. แก๊สทÉีบรรจุภายใน ง. ทัÊงขัÊวแคโทด ขัÊวแอโนด และแก๊สทÉีบรรจุภายใน 
4. ในการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ ได้ผลดังนีÊ 
A. อนุภาคส่วนใหญ่ทะลุผ่านแผ่นทองคำไปในแนวเดิม โดยไม่เปลÉียนทิศทาง 
B. อนุภาคส่วนน้อยทะลุผ่านแผ่นทองคำและเบÉียงเบน จากแนวเดิมเล็กน้อย 
C. อนุภาคส่วนน้อยทÉีสุดสะท้อนกลับมาทาง แหล่งกำเนิดอนุภาค 
ถ้าเรียงลำดับอนุภาคแอลฟาทีÉวิÉงเข้าใกล้นิวเคลียสมากทีÉสุดไปห่างนิวเคลียสทีÉสุดจะเป็นไปตามข้อใด 
ก. A , B, C ข. C , A , B ค. B , C , A ง. C , B , A 
5. แบบจำลองอะตอมของทอมสันและแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดต่างกันอย่างไร 
ก. ชนิดของอนุภาคในอะตอม ข. ตำแหน่งของอนุภาคในอะตอม 
ค. จำนวนอนุภาคในอะตอม ง. ขนาดอนุภาคในอะตอม 
6. อนุภาคมูลฐานของอะตอม ได้แก่ 
ก. โปรตอน และ อิเล็กตรอน ข. โปรตอน และ นิวตรอน 
ค. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ง. นิวตรอน และ อิเล็กตรอน 
7. อิเล็กตรอนมี e/m เท่าใด 
ก. 1.6 x 10–19 e/g ข. ř.şŞ x 108 e/g ค. 9.11 x 10–28 e/g ง. 1.675 x 109 e/g 
8. A และ B เป็นไอโซโทปซึÉงกันและกัน ถ้า A มีจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียสเท่ากับ x และธาตุ B มีจำนวนอิเล็กตรอน 
เท่ากับ y และมีเลขมวลเท่ากับ z เลขมวลของธาตุ A และจำนวนนิวตรอนของธาตุ B มีค่าเท่าใด ตามลำดับ 
ก. x + y และ z – y ข. x + y และ y –z ค. x + y และ z + y ง. x – y และ y – z 
9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง 
ก. แบบจำลองอะตอมคือ มโนภาพทÉีสร้างขึÊนโดยอาศัยข้อมูลจากการทดลอง ซึÉงอาจถูกหรือผิดก็ได้ 
ข. นักวิทยาศาสตร์ทÉีเสนอแนวความคิดว่าอะตอมไม่เล็กทÉีสุด แต่ยังมีอิเล็กตรอนเล็กกว่า คือ ดอลตัน 
ค. แนวคิดของดอลตันทÉีว่าอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีสมบัติเหมือนกันปัจจุบันยังถูกต้อง 
ง. เมÉือดูอะตอมด้วยกล้องจุลทรรศน์สนามไอออน กำลังขยาย 750,000 เท่าจะมองเห็นอะตอมได้ชัดเจน 
10. รัทเทอร์ฟอร์ดเสนอแบบจำลองอะตอมโดยศึกษาจากอะไร 
ก. หลอดรังสีแคโทด ข. กลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน 
ค. การเผาสารเพÉือดูสเปกตรัม ง. การยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10 
 จากแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดทำให้ทราบถึงการจัดโครงสร้างของอนุภาคต่าง ๆ ในนิวเคลียส 
แต่ไม่ได้อธิบายว่าอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยู่ในลักษณะใด 
 นักวิทยาศาสตร์ในลำดับต่อมาได้หาวิธีทดลองเพÉือรวบรวมข้อมูลเกÉียวกับตำแหน่งของอิเล็กตรอนทÉีอยรู่อบนิวเคลียส 
วิธีหนึÉงก็คือ การศึกษาสมบัติและปรากฏการณ์ของคลÉืนและแสง แล้วนำมาสร้างเป็นแบบจำลอง 
นักวิทยาศาสตร์ผู้นัÊน คือ นีลล์ โบร์ 
 ดังนัÊนก่อนจะศึกษาแบบจำลองอะตอมของโบร์ นักเรียนควรเรียนรู้เกÉียวกับคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานของคลÉืน 
แม่เหล็กไฟฟ้า 
คลนÉืแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานของคลนÉืแม่เหล็กไฟฟ้า 
 แสงเป็นคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า มีการเคลÉือนทÉีแบบคลÉืน ดังนัÊน คลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า จึงมีสิÉงต่อไปนีÊ 
1) ความยาวคลืÉน ( ) หมายถึง ระยะทางทีÉคลืÉนเคลืÉอนทีÉครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็นเมตร (m) หรือนาโนเมตร (nm) 
ความยาวคลืÉน 
คลืÉน 1 รอบ 
2) ความถÉีของคลนÉื (v) หมายถึง จำนวนรอบของคลÉืนทÉีผ่านจุดใดจุดหนึÉงในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (s-1) 
หรือ เฮิรตซ์ (Hz) 
คลืÉนแสงเป็นคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าทีÉมีความถีÉและความยาวคลืÉนต่าง ๆ กัน ดังรูปต่อไปนีÊ 
ม่วง แดง 
 แสงทÉีประสาทตาคนรับได้เรียกว่า “แสงทÉีมองเห็นได้” (visible light) ซึÉงมีความยาวคลÉืนอยใู่นช่วง ŜŘŘ – şŘŘ nm 
 แสงในช่วงคลÉืนนีÊประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ กัน ตามปกติประสาทตาของคนสามารถสัมผัสแสงบางช่วงคลÉืนทÉีส่องมาจาก 
ดวงอาทิตย์ได้ แต่ไม่สามารถแยกเป็นสีต่าง ๆ จึงมองเห็นเป็นสีรวมกันซึÉงเรียกว่า “แสงขาว” 
 เรียงลำดับความยาวคลืÉน (มากไปน้อย) คือ 
คลืÉนวิทยุ > คลืÉนไมโครเวฟ > แสงอินฟราเรด > แสงขาว > แสง UV > รังสีเอกซ์ > รังสีแกมมา
สเปกตรัม (spectrum) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11 
คือ แถบสีหรือเส้นสีทีÉได้จากการผ่านคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านตัวแยกความยาวคลืÉน 
เช่น เกรตติง อุปกรณ์ทีÉใช้ศึกษาเกีÉยวกับสเปกตรัม เรียกว่า สเปกโทรมิเตอร์ (spectrometer) 
 ถ้าให้แสงอาทิตย์ซึÉงเป็นแสงขาวส่องผ่านปริซึม แสงขาวจากดวงอาทิตย์จะแยกออกเป็นแสงสีรุ้งต่อเนÉืองกัน 
เรียกว่า “สเปกตรัมของแสงขาว” 
แดง 
ม่วง 
 สเปกตรัมของแสงขาวเกิดจากการทÉีเมÉือแสงซึÉงมีความยาวคลÉืนต่าง ๆ กันผ่านไปยังปริซึม แสงจะหักเหได้ไม่เท่ากัน เกิด 
เป็นแถบสีรุ้งต่อเนÉืองกัน โดยมีความยาวคลÉืนในช่วงต่าง ๆ ดังนีÊ 
ตารางแสดงสีต่าง ๆ ในแถบสเปกตรัมของแสงขาว 
สเปกตรัม ความยาวคลืÉน (nm) 
แสงสีม่วง ŜŘŘ – ŜŚŘ 
แสงสีคราม–นÊำเงิน ŜŚŘ – ŜšŘ 
แสงสีเขียว ŜšŘ – ŝŠŘ 
แสงสีเหลือง ŝŠŘ – ŝšŘ 
แสงสีแสด (ส้ม) ŝšŘ –ŞŝŘ 
แสงสีแดง ŞŝŘ – şŘŘ 
 คลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าทีÉมีความยาวคลืÉนในช่วงอืÉน ก็เกิดการหักเหได้ แต่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า 
 มักซ์ พลังค์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ศึกษาพลังงานของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า และได้ข้อสรุปเกีÉยวกับสัมพันธ์ระหว่าง 
พลังงานของคลÉืนกับความถÉีของคลÉืน ดังนีÊ 
E = hV 
E คือ พลังงาน (หน่วยจูล, J) 
h คือ ค่าคงทีÉของพลังค์ มีค่า 6.626 x 10-34 จูลวินาที 
v คือ ความถีÉของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า (หน่วยเฮิรตซ์, Hz) 
v = c c คือ ความเร็วของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ เท่ากับ 2.997 x 108เมตร/วินาที 
(อาจใช้ 3.0 x 108เมตร/วินาที) 
คือ ความยาวคลืÉน 
v คือ ความถีÉของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า (หน่วยเฮิรตซ์, Hz) 
ดังนัÊน ค่าพลังงานของคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า จึงสามารถคำนวณได้จากความสัมพันธ์ ดังนÊี 
E = hV = hc
แบบฝึกหัดการคำนวณค่าพลังงานของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า 
1. เส้นสเปกตรัมสีแดงของโพแทสเซียมมีความถีÉ 3.91 x 1014 Hz จะมีความยาวคลืÉนเป็นเท่าใด 
2. เส้นสเปกตรัมเส้นหนึÉงของธาตุซีเซียมมีความยาวคลÉืน 456 nm ความถÉีของสเปกตรัมเส้นนีÊมีค่าเท่าใด และปรากฏเป็นสีใด 
3. คลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าทีÉมีความถีÉ 8.5 x 104 Hz จะมีพลังงานและความยาวคลืÉนเท่าใด 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12
สเปกตรัมของธาตุ 
บท 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13 
 โรเบิร์ต บุนเซน และ กุสตาฟ คีร์ชฮอฟฟ์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์สเปกโทรสโคปซึÉงเป็นอุปกรณ์ทÉีใช้ใน 
การศึกษาสเปกตรัม ทีÉได้จากการเผาสารประกอบทีÉมีธาตุเป็นองค์ประกอบ 
 เพÉือนำสเปกตรัมทÉีได้มาระบุว่าสารประกอบนัÊนมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบ 
สเปกตรัมของธาตุโลหะ 
เผา 
สารประกอบทÉีมีโลหะเป็นองค์ประกอบ จะเห็นเปลวไฟทÉีมีสีเฉพาะตัวของโลหะนัÊน ๆ 
ทีÉเป็นองค์ประกอบของสารประกอบ 
 สรุป สารประกอบของโลหะชนิดเดียวกันจะให้สีเปลวไฟสีเดียวกัน และได้เส้นสเปกตรัมซึÉงเป็นแบบเฉพาะ 
นันÉคือ มีสีและตำแหน่งของเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน ดังตัวอย่างในตารางต่อไปนีÊ 
ตารางแสดงสีของเปลวทีÉเกิดจากการเผาสารประกอบ 
สารประกอบ สีของเปลวไฟ 
ลิเทียม (Li) สีแดง 
โซเดียม (Na) สีเหลือง 
โพแทสเซียม (K) สีม่วง 
ซีเซียม (Cs) สีฟ้า 
แคลเซียม (Ca) สีแดงอิฐ 
แบเรียม (Ba) สีเขียวแกมเหลือง 
ทองแดง (Cu) สีเขียว 
 สารประกอบต่างชนิดกัน แต่มีโลหะชนิดเดียวกันเป็นองค์ประกอบ จะให้สีเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน 
เช่น NaCl CuCl2 
จะได้เปลวไฟสีเหลือง จะได้เปลวไฟสีเขียว 
Na2SO4 CuSO4 
 การทÉีสารประกอบของโลหะต่างชนิดกัน มีสีของสเปกตรัม และตำแหน่งของเส้นสเปกตรัมต่างกันเป็นแถบเฉพาะของ 
โลหะนัÊน ๆ 
 ดังนัÊน จึงสามารถใช้สีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมในการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารได้ 
 โดยนำสารประกอบนัÊนไปเผา แล้วนำสีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมทÉีได้เปรียบเทียบกับผลการทดลองทÉี 
นักวิทยาศาสตร์ได้สรุปไว้แล้ว การวิเคราะห์สารวิธีนีÊเรียกว่า “Flame test” 
สเปกตรัมของธาตุอโลหะ 
 ในการเผาสารประกอบทีÉเป็นอโลหะจะให้สเปกตรัมในช่วงทีÉตาเรารับไม่ได้ จึงมองไม่เห็นเส้นสเปกตรัม 
สเปกตรัมของแก๊ส 
 ในการศึกษาสเปกตรัมของธาตุทÉีเป็นแก๊ส จะนำแก๊สไปบรรจุหลอดแก้วทÉีมีความดันตํÉา และผ่านกระแสไฟฟ้าศักย์สูงเข้า 
ไปแทนการเผาด้วยความร้อน เมÉือแก๊สได้รับพลังงานไฟฟ้าจะปล่อยแสงเป็นสเปกตรัมลักษณะเฉพาะของธาตุนัÊน ๆ 
และธาตุอโลหะบางชนิดก็ให้แสงทีÉตารับได้ เช่น He , Ne , Ar เป็นต้น
ตัวอย่าง เส้นสเปกตรัมของธาตุบางชนิด 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 14
การเกิดสเปกตรัมของธาตุ 
 สเปกตรัมเกิดได้อย่างไร 
สถานะพืÊน (ground state) 
หมายถึงอะตอมทÉีอิเล็กตรอนซึÉงเคลÉือนทÉีอยรู่อบ 
นิวเคลียสมีพลังงานเฉพาะตัวอยใู่นระดับพลังงานตํÉา อะตอม 
ในสถานะพืÊนจะมีความเสถียรเนÉืองจากมีพลังงานตํÉา 
สถานะกระตุ้น (excited state) 
หมายถึงอะตอมทÉีได้รับพลังงานเพิÉมขึÊน ทำให้ 
อิเล็กตรอนถูกกระตุ้นให้อยใู่นระดับพลังงานสูงขึÊน ทÉีสถานะ 
กระตุ้นอะตอมจะไม่เสถียร เนืÉองจากมีพลังงานสูง 
 การเกิดสเปกตรัมของธาตุสามารถอธิบายได้ ดังนีÊ 
เมืÉออะตอมได้รับพลังงาน เช่น จากการเผา หรือ จากกระแสไฟฟ้า 
อิเล็กตรอน (รอบนิวเคลียส) จะเปลÉียนจาก สถานะพืÊน ไปสู่สถานะกระตุ้น 
ทีÉสถานะกระตุ้น อะตอมไม่เสถียร จึงต้องคายพลังงานออกมา 
ซÉึงพลังงานทÉีคายออกมาอยู่ในรูปพลังงานแสง หรือคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า 
เมืÉอส่องผ่านปริซึมหรือสเปกโทรสโคป จะแยกแสงออกมา 
เป็นเส้นสเปกตรัม 
การทีÉธาตุแต่ละชนิดให้เส้นสเปกตรัมหลายเส้น 
แสดงว่าอิเล็กตรอน(รอบนิวเคลียส) มีหลายระดับพลังงาน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15 
ระดับพลังงานใกล้นิวเคลียสมีพลังงานตํÉา ระดับพลังงานห่างนิวเคลียสมีพลังงานตํÉา 
(E2) 
(E1) 
= E2 - E1
 การศึกษาสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน 
 นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาสเปกตรัมของแก๊ส เพราะว่ามีอะตอมอยู่ห่างกัน 
 และเลือกใช้อะตอมไฮโดรเจนเนืÉองจากมี ř อิเล็กตรอน 
 พบว่า มีเส้นสเปกตรัมทีÉปรากฏในช่วงความยาวคลืÉนทีÉมองเห็นได้โดยมีความยาวคลืÉน ŜřŘ , ŜśŜ , ŜŠŞ และ ŞŝŞ nm 
 จากการทดลองหลายครัÊง พบว่า อะตอมของไฮโดรเจนให้เส้นสเปกตรัมได้หลายเส้นทÉีมีลักษณะเหมือนกันทุกครัÊง 
 จึงสรุปได้ว่า อิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนขึÊนไปอยใู่นสถานะกระตุ้นทÉีมีพลังงานแตกต่างกันได้หลายระดับ 
 ค่าพลังงานของเส้นสเปกตรัมแสดงให้เห็นถึงการเปลีÉยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมจากระดับพลังงานสูง 
มายังระดับพลังงานตํÉา 
ตารางแสดงความยาวคลืÉนและพลังงานของเส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน 
เส้นสเปกตรัม ความยาวคลÉืน พลังงาน (KJ) ผลต่างพลังงานของเส้นสเปกตรัมทÉีอยู่ถัดกัน 
สีม่วง ŜřŘ Ŝ.ŠŜ x 10–22 (ห่างนิวเคลียส) 
Ś.ş x 10–23 
สีนํÊาเงิน ŜśŜ Ŝ.ŝş x 10–22 
Ŝ.š x 10–23 
สีนํÊาทะเล ŜŠŞ Ŝ.ŘŠ x 10–22 
řŘ.Ş x 10–23 
สีแดง ŞŝŞ ś.ŘŚ x 10–22 (ใกล้นิวเคลียส) 
 จากข้อมูลในตาราง แสดงว่าอะตอมของไฮโดรเจนมีพลังงานหลายระดับ 
 และความแตกต่างระหว่างพลังงานของแต่ละระดับทีÉอยู่ถัดไปก็ไม่เท่ากัน ความแตกต่างของพลังงานจะมีค่าน้อยลง 
เมÉือระดับพลังงานสูงขึÊน จากเหตุผลทÉีอธิบายมานÊีช่วยให้สรุปได้ว่า 
1) 
2) 
3) 
เมืÉออิเล็กตรอนได้รับพลังงานในปริมาณทีÉเหมาะสม 
อิเล็กตรอนจะขึÊนไปอยใู่นระดับพลังงานทÉีสูงกว่าระดับพลังงานเดิม 
แต่จะอยใู่นระดับใดขึÊนกับปริมาณพลังงานทÉีได้รับ 
การทÉีอิเล็กตรอนขึÊนไปอยใู่นระดับพลังงานใหม่ทำให้อะตอมไม่เสถียร 
อิเล็กตรอนจะกลับมาอยใู่นระดับพลังงานทÉีตํÉากว่า 
ซึÉงในการเปลÉียนตำแหน่งนีÊอิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมา 
การเปลีÉยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนไม่จำเป็นต้องเปลีÉยน 
ไปยังระดับพลังงานทÉีอยตูิ่ดกันอาจมีการเปลÉียนข้ามระดับได้ 
แต่เมÉืออิเล็กตรอนรับพลังงานแล้วจะขึÊนไปอยรู่ะหว่างระดับพลังงานไม่ได้ 
จะต้องขึÊนไปอยใู่นระดับใดระดับหนึÉงเสมอ 
ผลต่างของพลังงานระหว่างระดับพลังงานตํÉาจะ มีค่ามากกว่า 
ผลต่างของพลังงานระหว่างระดับพลังงานทÉีสูงขึÊนไป 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
1.4 แบบจำลองอะตอมของโบร์ 
(นีลล์ โบร์ ได้ศึกษาและปรับปรุงแบบจำลองของรัทเทอร์ฟอร์ด โดยศึกษาสเปกตรัมของไฮโดรเจน) 
 จากความรู้เรืÉองการเปลีÉยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน และการเกิดสเปกตรัม 
 ช่วยให้ นีลส์ โบร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก สร้างแบบจำลองอะตอมเพืÉอใช้อธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอน 
ในอะตอมได้ โดยกล่าวว่า 
1) อิเล็กตรอนจะเคลืÉอนทีÉรอบนิวเคลียสเป็นวง (คล้ายวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์) 
2) แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนทีÉอยใู่กล้นิวเคลียสทÉีสุดซึÉงมีพลังงานตํÉาทÉีสุด 
เรียกว่าระดับ K และระดับพลังงานทÉีอยถูั่ดออกมาเรียกเป็น L , M , N , … ตามลำดับ 
3) ต่อมาได้มีการใช้ตัวเลขแสดงถึงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน คือ n = 1 หมายถึงระดับพลังงานทÉี ř ซึÉงอยใู่กล้ 
กับนิวเคลียสทÉีสุด และชัÊนถัดมาเป็น n = 2 หมายถึงระดับพลังงานทÉี Ś ต่อจากนัÊน n = 3 , 4 , . . . หมายถึงระดับ 
พลังงานทÉี ś , Ŝ และสูงขึÊนไปตามลำดับ 
แบบจำลองอะตอมของโบร์ 
 แบบจำลองอะตอมของโบร์ พัฒนามาจากการค้นพบสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ซึÉงเป็นอะตอมทÉีมี ř อิเล็กตรอน 
แต่ไม่สามารถใช้อธิบายอะตอมทีÉมีหลายอิเล็กตรอนได้ นักวิทยาศาสตร์จึงจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าเพิÉมเติมเพืÉอเสนอ 
แบบจำลองอะตอมใหม่ 
1.5 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 
 เนืÉองจากแบบจำลองอะตอมของโบร์ (Niels Bohr) มีข้อจำกัดทีÉไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมทีÉมีหลาย 
อิเล็กตรอน ได้ 
 จึงมีการศึกษาเพิÉมเติมจนได้ข้อมูลทÉีเชÉือว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทัÊงอนุภาคและคลÉืน โดยเคลÉือนทÉีรอบนิวเคลียสใน 
ลักษณะของคลืÉนนิÉง บริเวณทีÉพบอิเล็กตรอนได้พบได้หลายลักษณะเป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน 
 จากการใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการขึÊนเพÉือคำนวณหาโอกาสทÉีจะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ 
พบว่า แบบจำลองนีÊอธิบายเส้นสเปกตรัมได้ดีกว่าแบบจำลองอะตอมของโบร์ มีลักษณะ ดังนีÊ 
1) อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลÉือนทÉีอย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทัวÉทัÊงอะตอม จึงไม่สามารถบอกตำแหน่งทÉี 
แน่นอนของอะตอมได้ 
2) มีโอกาสทÉีจะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านัÊน ทำให้สร้างมโนภาพได้ว่าอะตอมประกอบด้วยกลุ่ม 
หมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส 
3) บริเวณทีÉกลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสทีÉจะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณทีÉมีกลุ่มหมอกจาง” 
แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18 
1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม (Electronic configuration) 
 จากแบบจำลองอะตอม พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนอยู่รอบ ๆ โดยอยู่ในระดับ 
พลังงานต่าง ๆ กัน 
 สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานได้ ดังนีÊ 
1. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก (shell) 
 จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานหลักมีจำนวนไม่เกิน 2n2 เมืÉอ n คือระดับพลังงานหลักทีÉ ř , Ś , ś , . . . 
ระดับพลังงานหลัก n=1 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน Ś อิเล็กตรอน 
ระดับพลังงานหลัก n=2 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน Š อิเล็กตรอน 
ระดับพลังงานหลัก n=3 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน řŠ อิเล็กตรอน 
ระดับพลังงานหลัก n=4 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน śŚ อิเล็กตรอน 
 พลังงานชัÊนนอกสุด และมีพลังงานสูงสุด เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (เวเลนซ์อิเล็กตรอน จะไม่เกิน 8) 
 ดังนัÊน ระดับพลังงานหลักชัÊนสุดท้าย จะไม่เกิน 8 เสมอ 
ต้องจำ เวเลนซ์อิเล็กตรอน บอกให้รู้ว่า ธาตุอยหู่มู่ใด 
จำนวนระดับพลังงาน บอกให้รู้ว่า ธาตุอยู่คาบใด 
ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 
ธาตุ เลขอะตอม จำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน แสดงการจัดในระดับ 
n=1 n=2 n=3 n=4 พลังงานหลัก 
H 1 1 ř 
He 2 2 Ś 
Li 3 2 1 Ś , ř 
Be 4 2 2 Ś , Ś 
B 5 2 3 Ś , ś 
C 6 2 4 Ś , Ŝ 
N 7 2 5 Ś , ŝ 
O 8 2 6 Ś , Ş 
F 9 2 7 Ś , ş 
Ne 10 2 8 Ś , Š 
Na 11 2 8 1 Ś , Š , ř 
Mg 12 2 8 2 Ś , Š , Ś 
Al 13 2 8 3 Ś , Š , ś 
Si 14 2 8 4 Ś , Š , Ŝ 
P 15 2 8 5 Ś , Š , ŝ 
S 16 2 8 6 Ś , Š , Ş 
Cl 17 2 8 7 Ś , Š , ş 
Ar 18 2 8 8 Ś , Š , Š 
K 19 2 8 8 1 Ś , Š , Š , ř 
Ca 20 2 8 8 2 Ś , Š , Š , Ś
เทคนิคทÉีควรรู้ในการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 
 นักเรียนสามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของอะตอม โดยใช้สามเหลÉียมมหัศจรรย์ ดังนีÊ 
เลขอะตอม 
2 2 
2 2 4 
2 8 2 12 
2 8 8 2 20 
2 8 18 8 2 38 
2 8 18 18 8 2 56 
2 8 18 32 18 8 2 88 
2 8 18 32 32 18 8 2 120 
หมายเหตุ จากสามเหลÉียมมหัศจรรย์นีÊ นักเรียนอาจไม่จำเป็นต้องจำ แต่ต้องเข้าใจหลักในการเขียน 
ตัวอย่างทีÉ 1 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Ca 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Ca (เท่ากับ 20) 
ดังนัÊน Ca สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 8 2 
จะเห็นว่า Ca มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 จึงอยู่ในหมู่ 2 
และ Ca มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากับ 4 จึงอยู่ในคาบ 4 
ตัวอย่างทีÉ 2 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ B 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม B (เท่ากับ 5) 
ดังนัÊน B สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 3 
จะเห็นว่า B มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3 จึงอยู่ในหมู่ 3 
และ B มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากับ 2 จึงอยู่ในคาบ 2 
ตัวอย่างทีÉ 3 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Cl 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Cl (เท่ากับ 17) 
ดังนัÊน Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 7 
จะเห็นว่า Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 จึงอยู่ในหมู่ 7 
และ Cl มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากับ 3 จึงอยู่ในคาบ 3 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19
ตัวอย่างทีÉ 4 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Fe 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Fe (เท่ากับ 26) 
ดังนัÊน Fe สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 14 2 
ตัวอย่างทีÉ 5 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Br 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Br (เท่ากับ 35) 
ดังนัÊน Br สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 18 7 
ตัวอย่างทีÉ 6 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุทีÉมีเลขอะตอมเท่ากับ 23 
วิธีทำ ธาตุนีÊสามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 11 2 
ตัวอย่างทีÉ 7 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Pt (แพลตทินัม) 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Pt (เท่ากับ 78) 
ดังนัÊน Pt สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 18 32 16 2 
ตัวอย่างทีÉ 8 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Po (โพโลเนียม) 
วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Pt (เท่ากับ 84) 
ดังนัÊน Po สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 18 32 18 6 
แบบฝึกหัด เรืÉอง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 
1. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ของธาตุ S 
2. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ของธาตุ Mn 
3. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ As 
4. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Tc 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20
2. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย (sub-shell) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21 
 จากการศึกษาสมบัติทีÉเป็นคลืÉนของอิเล็กตรอน พบว่าอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานหรือวง (shell) ต่าง ๆ กัน 
ซึÉงเรียกว่าระดับพลังงานหลัก และในระดับพลังงานเดียวกันยังมีระดับพลังงานย่อย (sub shell) ต่าง ๆ อีก 
คือระดับพลังงานย่อย s , p , d และ f โดยในแต่ละระดับพลังงานย่อยมีอิเล็กตรอนดังนีÊ 
ระดับพลังงานหลักทีÉ ř (n=1) มี ř ระดับพลังงานย่อยคือ s 
ระดับพลังงานหลักทีÉ Ś (n=2) มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ s , p 
ระดับพลังงานหลักทีÉ ś (n=3) มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ s , p , d 
ระดับพลังงานหลักทีÉ Ŝ (n=4) มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ s , p , d , f 
ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในระดับพลังงานย่อย และในแต่ละระดับพลังงาน 
ระดับ 
ระดับ 
จำนวนออร์บิทัล จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุด 
พลังงานหลัก 
พลังงานย่อย 
ในแต่ละระดับพลังงานย่อย 
จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุด 
ในแต่ละระดับพลังงาน 
n = ř s 2 2 
n = 2 
s 2 
p 8 6 
n = 3 
s 2 
p 6 18 
d 10 
n = 4 
s 2 
32 
p 6 
d 10 
f 14 
ตารางแสดงจำนวนออร์บิทัล และจำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในแต่ละออร์บิทัล 
ระดับพลังงานย่อย จำนวนออร์บิทัล จำนวนอิเล็กตรอน 
แต่ละออร์บิทัล 
จำนวนอิเล็กตรอนรวม 
s 1 Ś Ś 
p 3 Ś Ş 
d 5 Ś řŘ 
f 7 Ś řŜ 
 อิเล็กตรอนมีการเคลÉือนทÉีอยตู่ลอดเวลา ความหนาแน่นของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนซึÉงวัดออกมาในรูปของโอกาสทÉีจะพบ 
อิเล็กตรอน ซึÉงเคลÉือนทÉีรอบนิวเคลียส จะมีรูปร่างเป็น ś มิติทÉีแตกต่างกันซึÉงเรียกว่า ออร์บิทัล (orbital)
ออร์บิทัล (orbital) 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 22 
 หมายถึงบริเวณทีÉมีโอกาสสูงทีÉจะพบอิเล็กตรอน หรือบริเวณทÉีอยขู่องอิเล็กตรอน ซึÉงมีรูปร่างเป็น ś มิติแตกต่างกัน ดังนีÊ 
1) S ออร์บิทัล มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสเท่ากันทุกทิศทาง 
ทำให้มองเห็นว่าออร์บิทัลนีÊมีรูปร่างเป็นทรงกลมรอบนิวเคลียส (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 2e-) ดังรูป 
2) P ออร์บิทัล มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยู่ในบริเวณแกน x , y , z มี 3 แบบ ได้แก่ 
px–orbital , Pz–orbital ,Py–orbital โดยออร์บิทัลทัÊงสามมีรูปร่างคล้ายดรัมเบลล์ มีพลังงานเท่ากัน 
แต่มีทิศทางแตกต่างกัน (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 6 e- ) ดังรูป 
orbital orbital orbital 
3) d ออร์บิทัล มีความซับซ้อนมากกว่า s-orbital และ p-orbital มี 5 แบบ ได้แก่ , , , 
และ (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 10 e- ) ดังรูป 
4) f ออร์บิทัล มี 7 แบบ (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 14 e- ) ในระดับนีÊอาจไม่จำเป็นต้องศึกษารายละเอียด f ออร์บิทัล 
มากนักก็ได้
หลักการจัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงานย่อย (ออร์บิทัล) 
1) ให้ แทนออร์บิทัล อิเล็กตรอนเขียนด้วยลูกศร 
อิเล็กตรอนในออร์บิทัล จึงเขียนแทนได้เป็น หรือ 
ในกรณีทีÉมีอิเล็กตรอนเต็มออร์บิทัล สามารถเขียนเป็น ถ้าเขียนเป็น หรือ จะไม่สอดคล้องตามหลักการ 
2) ต้องบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลทÉีมีพลังงานตํÉาสุด และ ว่างก่อนเสมอ คือ 1s 2s 2p 3s . . . ตามลำดับ 
เพราะจะทำให้พลังงานรวมทัÊงหมดมีค่าตํÉาสุดและมีความเสถียรทÉีสุด 
3) อะตอมของธาตุทีÉมีการบรรจุอิเล็กตรอนเต็มในทุก ๆ ออร์บิทัลทีÉมีพลังงานเท่ากัน เรียกว่า การบรรจุเต็ม (full filled) 
ถ้ามีอิเล็กตรอนบรรจุอยเู่พียงครึÉงเดียวเรียกว่า การบรรจุครึÉง (half filled) 
การบรรจุเต็มหรือบรรจุครึÉงจะทำให้อะตอมมีความเสถียรมากกว่าการบรรจุแบบอÉืน ๆ 
1s 2s 2p 
การบรรจุเต็ม 
การบรรจุครึÉง 
4) ในกรณีทÉีมีหลายอิเล็กตรอน การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลต่าง ๆ ตามลำดับพลังงานจากตํÉาไปสูงจะเป็นดังนีÊ 
ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนเข้าในระดับพลังงานตามลำดับ 
ระดับ 
พลังงาน 
จำนวนระดับพลังงานย่อยหรือออร์บิทัลทอÉียู่ในแต่ละระดับพลังงาน 
n = 1 
n = 2 
n = 3 
n = 4 
n = 5 
n = 6 
n = 7 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 23
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 24 
ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในระดับพลังงานย่อย 
และในแต่ละระดับพลังงาน ของ ŚŘ ธาตุแรก 
เลข 
อะตอม ธาตุ 
แผนภาพการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทัล 
ระดับพลังงานย่อย 
1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 
1 H 1s1 
2 He 1s2 
3 Li 1s22s1 
4 Be 1s22s2 
5 B 1s22s22p1 
6 C 1s22s22p2 
7 N 1s22s22p3 
8 O 1s22s22p4 
9 F 1s22s22p5 
10 Ne 1s22s22p6 
11 Na 1s22s22p6 3s1 หรือ [Ne] 3s1 
12 Mg 1s22s22p6 3s2 หรือ [Ne] 3s2 
13 Al 1s22s22p63s23p1 
14 Si 1s22s22p63s23p2
ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในระดับพลังงานย่อย 
และในแต่ละระดับพลังงาน ของ ŚŘ ธาตุแรก (ต่อ) 
เลข 
อะตอม ธาตุ 
แผนภาพการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทัล 
ระดับพลังงานย่อย 
1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 
15 P 1s22s22p63s23p3 
16 S 1s22s22p63s23p4 
17 Cl 1s22s22p63s23p5 
18 Ar 1s22s22p63s23p6 
19 K 1s22s22p63s23p64s13d0 
20 Ca 1s22s22p63s23p64s23d0 
 อิเล็กตรอนทีÉอยู่ในระดับพลังงานสูงสุดหรือชัÊนนอกสุดของอะตอม เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) 
ตัวอย่างทีÉ 1 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ Cl 
วิธีทำ Cl มีเลขอะตอม 17 
Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 7 
จะได้ว่า 
ระดับพลังงานหลัก n = 1 
2 
n = 2 
8 
n = 3 
7 
ระดับพลังงานย่อย 1s 
2s 2p 
3s 3p 3d 
ดังนัÊน Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยได้ ดังนีÊ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p5 
ตัวอย่างทีÉ 2 จงจัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ C (เลขอะตอม 6) 
ระดับพลังงานหลัก n = 1 
2 
n = 2 
4 
ระดับพลังงานย่อย 1s 
2s 2p 
ดังนัÊน C สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ได้ดังนีÊ 1s2 2s2 2p2 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 25
ตัวอย่างทีÉ 3 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ P (เลขอะตอม 15) 
วิธีทำ 
ระดับพลังงานหลัก n = 1 
2 
n = 2 
8 
n = 3 
5 
ระดับพลังงานย่อย 1s 
2s 2p 
3s 3p 3d 
ดังนัÊน P สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานได้ ดังนีÊ 1s22s22p63s23p3 
ตัวอย่างทีÉ 4 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ Ca (เลขอะตอม 20) 
ระดับ 
พลังงานหลัก 
n = 1 
2 
n = 2 
8 
n = 3 
8 
n = 4 
2 
ระดับ 
พลังงานย่อย 
1s 
2s 2p 
3s 3p 3d 
4s 4p 4d 4f 
แบบฝึกหัด เรืÉอง การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย 
1) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ N 
2) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ K 
3) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ Mg 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 26
4) ธาตุ A B C D มีการจัดอิเล็กตรอน ดังนีÊ 
ธาตุ A 1s22s22p6 
ธาตุ B 1s22s22p63s23p4 
ธาตุ C 1s22s22p63s23p64s13d0 
ธาตุ D 1s22s22p63s23p1 
4.1) ธาตุ A B C D มีเลขอะตอมเท่าใด 
วิธีคิด จาก ธาตุ A 1s22s22p6 
เลขอะตอมธาตุ A เท่ากับ 2 + 2 + 6 = 10 
ธาตุ B C D ให้นักเรียนทำด้วยตัวเอง 
ธาตุ B 
ธาตุ C 
ธาตุ D 
4.2) ธาตุ A B C มีอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานใดบ้าง จำนวนเท่าใด 
วิธีคิด จากธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 10 
มีอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 2 8 
ธาตุ B C D ให้นักเรียนทำด้วยตัวเอง 
ธาตุ B 
ธาตุ C 
ธาตุ D 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 27
2. ตารางธาตุ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 28 
 ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบธาตุเป็นจำนวนมาก ธาตุเหล่านัÊนอาจมีสมบัติบางประการคล้ายกัน แต่ก็มีสมบัติบางประการ 
แตกต่างกัน จึงยากต่อการจดจำสมบัติต่าง ๆ ของแต่ละธาตุได้ทัÊงหมด 
 นักวิทยาศาสตร์จึงหากฎเกณฑ์ในการจัดธาตุทีÉมีสมบัติคล้ายกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพืÉอง่ายต่อการศึกษา โดยใช้ ตารางธาตุ 
 ตารางธาตุ หมายถึง ตารางทÉีนักวิทยาศาสตร์สร้างขึÊนมา เพÉือแบ่งธาตุทÉีมีสมบัติเหมือนกันออกเป็นหมวดหมู่ เพÉือให้ง่ายแก่ 
การศึกษา โดยแบ่งธาตุทัÊงหมดออกเป็นหมู่และคาบ ดังนีÊ 
 ธาตุทÉีอยใู่นแนวดิÉงเดียวกัน เรียกว่า อยใู่น หมู่ เดียวกัน 
 ธาตุทีÉอยู่ในแนวนอนเดียวกัน เรียกว่า อยู่ใน คาบ เดียวกัน 
2.1 วิวัฒนาการของตารางธาตุ 
1) ตารางธาตุของเดอเบอไรเนอร์ (ชุดสาม) 
 การจัดตารางธาตุนัÊนเริÉมขึÊนตัÊงแต่ปี พ.ศ. 2360 (ค.ศ. 1817) โดย โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ (Johaun Dobereiner) 
นักเคมีชาวเยอรมัน ได้นำธาตุต่าง ๆ ทÉีพบในขณะนัÊนมาจัดเรียงเป็นตารางธาตุ 
 โดยนำธาตุต่าง ๆ ทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียกว่า ชุดสาม 
 เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากในแต่ละหมู่ 
 ธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลีÉยของมวลอะตอมของธาตุทีÉเหลืออีก 2 อะตอม เรียกว่า กฎชุดสาม (law of 
triads) 
 เช่น Na เป็นธาตุกลางระหว่าง Li กับ K มีมวลอะตอม 23 (เป็นค่าเฉลÉียของมวลอะตอม Li ซึÉงมีมวลอะตอม 7 
กับธาตุ K มีมวลอะตอม 39) 
ตารางทÉี 1 มวลอะตอมเฉลÉียของธาตุบางกลุ่มตามกฎชุดสาม 
หมู่ 1 มวลอะตอม หมู่ 2 มวลอะตอม 
Li 7 Be 9 
Na 23 เฉลีÉย = 7 + 39 
Mg 24 
2 
K 39 Ca 40 
เฉลีÉย = 9 + 40 = 24.5 
2 
 เมืÉอนำกฎดังกล่าวไปใช้กับธาตุกลุ่มอืÉนทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกัน ปรากฏว่าบางธาตุ มวลอะตอมของธาตุกลางไม่ 
เท่ากับค่าเฉลีÉยของมวลอะตอมของธาตุทีÉเหลือ กฎชุดสามของเดอเบอไรเนอร์จึงไม่เป็นทีÉยอมรับกันในเวลาต่อมา
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 29 
2) ตารางธาตุของนิวแลนด์ 
 ในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands) นักเคมีชาวอังกฤษได้พบว่าเมืÉอนำธาตุต่าง ๆ มา 
เรียงลำดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก ให้เป็นแถวตามแนวนอน สมบัติของธาตุจะมีลักษณะคล้ายกันเป็น 
ช่วง ๆ ซึÉงลักษณะดังกล่าวเกิดขึÊนทุก ๆ ของธาตุทÉี 8 (ธาตุทÉี 8 มีสมบัติคล้ายธาตุทÉี 1 
 เช่น ถ้าเริÉมต้นจากธาตุ Li แล้วเรียงลำดับมวลอะตอมไปถึงธาตุทÉี 8 จะตรงกับ Na ซึÉง Li และ Na มีสมบัติต่าง ๆ 
คล้ายคลึงกัน ดังตัวอย่างการจัดต่อไปนีÊ 
Li Be B C N O F 
Na Mg Al Si P S Cl 
K Ca 
 การจัดเรียงธาตุตามแนวคิดของนิวแลนด์ ใช้ได้ถึงธาตุแคลเซียมเท่านัÊน กฎนีÊจึงไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใด 
มวลอะตอมจึงเกÉียวข้องกับสมบัติทÉีคล้ายคลึงกันของธาตุ ทำให้ไม่เป็นทÉียอมรับในเวลาต่อมา 
John Alexander Reina Newlands 
3) ตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ 
 ในระหว่างปี พ.ศ. 2412 - 2413 (ค.ศ. 1269 - 1270) ยูลิอุส ไมเออร์ (Julius Meyer) นักวิทยาศาสตร์ชาว 
เยอรมัน และดิมิทรี เมนเดเลเยฟ (Dimitri Mendelejev) ได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง ๆ มากขึÊน ทำให้มี 
ข้อสังเกตเช่นเดียวกันว่า 
ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ (นักเคมีชาวเยอรมัน) Dmitri Ivanovich Mendeleev 
 ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่า ธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง ๆ 
 การค้นพบสมบัตินีÊ เมเดเลเอฟจึงตัÊงเป็นกฎเรียกว่า “กฎพีริออดิก” โดยได้เสนอความคิดนีÊในปี พ.ศ. 
2412 ก่อนทÉีไมเออร์จะเสนอผลงานเพียงหนึÉงปี 
 เพÉือเป็นเกียรติแก่เมเดเลเอฟ จึงเรียกตารางนีÊว่า ตารางพีริออดิกของเมเดเลเอฟ
 เกณฑ์ทีÉสำคัญทีÉเมนเดเลเอฟใช้คือ 
 จัดธาตุทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกันทÉีปรากฏซÊำกันเป็นช่วง ๆ ให้อยใู่นหมู่หรือในแนวตัÊงเดียวกัน 
 และพยายามเรียงลำดับมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก 
 ในกรณีทีÉเรียงตามมวลอะตอมแล้วสมบัติของธาตุไม่สอดคล้องกัน ก็พยายามจัดให้เข้าหมู่โดยปล่อยให้ช่อง 
ว่างเว้นไว้ในตาราง 
 เมนเดเลเอฟคิดว่า ช่องว่างเหล่านัÊนน่าจะเป็นตำแหน่งของธาตุซึÉงยังไม่มีการค้นพบในขณะนัÊน 
จึงได้ทำนายสมบัติของธาตุทÉียังไม่มีการค้นพบไว้ 3 ธาตุ โดยให้ชÉือว่า เอคา–โบรอน , เอคา–อะลูมินัม , เอ 
คา–ซิลิคอน ซึÉงในเวลาต่อมาได้มีผู้ค้นพบธาตุทÉีเมเดเลเอฟได้ทำนายไว้ ซึÉงก็คือธาตุสแกนเดียม 
(Sc) แกลเลียม (Ga) และเจอร์มเเนียม (Ge) ตามลำดับ 
ตารางเปรียบเทียบสมบัติของเอทา-ซิลิคอน กับ เจอร์เมเนียม 
สมบัติ เอคา-ซิลิคิน 
ทำนายเมืÉอ พ.ศ. ŚŜřŜ 
เจอร์เมเนียม 
ทำนายเมืÉอ พ.ศ. ŚŜŚš 
มวลอะตอม 72 72.6 
ความหนาแน่น (g/cm3) 5.5 5.47 
สี เทาเข้ม เทาขาว 
ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm3) EsO2 = 4.7 GeO2 = 4.7 
ความหนาแน่นของคลอไรด์(g/cm3) EsCl4 = 1.9 GeCl4 = 1.89 
จุดเดือดสารประกอบของคลอไรด์ < 100 oC 86 oC 
 ในการจัดตารางธาตุนอกจากจะใช้มวลอะตอมแล้ว ยังใช้สมบัติทางเคมีและทางกายภาพของสารประกอบ 
อืÉน ๆ นอกเหนือจากสารประกอบคลอไรด์ และออกไซด์มาประกอบการพิจารณาด้วย 
 อย่างไรก็ตามเมนเดเลเอฟไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดจึงต้องจัดเรียงธาตุตามมวลอะตอม เนืÉองจากสมัย 
นัÊนนักวิทยาศาสตร์ยังศึกษาโครงสร้างของอะตอมและไอโซโทปได้ไม่ ชัดเจน 
รูปแสดง ตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 30
 นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาเกิดแนวความคิดว่า ตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุไม่น่าจะขึÊนอยกูั่บมวลอะตอมของ 
ธาตุ แต่น่าจะขึÊนอยกูั่บสมบัติอÉืนทÉีมีความสัมพันธ์กับมวลอะตอม 
 เฮนรี โมสลีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอให้จัดธาตุเรียงตามเลขอะตอม เนÉืองจากสมบัติต่างๆ ของธาตุ 
มีความสัมพันธ์กับประจุบวกในนิวเคลียสหรือเลขอะตอมมากกว่ามวลอะตอม 
 ตารางธาตุในปัจจุบันจึงได้จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปมากซึÉงสอดคล้อง กับกฎพิริออดิกทÉีได้กล่าว 
มาแล้ว 
4) ตารางธาตุของเฮนรี โมสลีย์ 
 เฮนรี โมสลีย์ (Henry Moseley) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้แก้ไขตารางธาตุของเมนเดเลเอฟให้ถูกต้องขึÊน 
โดยพบว่าเลขอะตอม หรือจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุ มีความสัมพันธ์กับสมบัติของธาตุมากกว่ามวล 
อะตอม 
 ทำให้สอดคล้องกับกฎพีริออดิกมากกว่า จึงสามารถสร้างตารางธาตุได้โดยไม่ต้องสลับทÉีธาตุบางธาตุเหมือนกรณี 
การจัดเรียงตามมวลอะตอม 
 ประมาณปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) โมสลีย์จึงเสนอตารางธาตุใหม่ 
 โดยเรียงตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก 
 และจัดธาตุทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกันให้อยู่ในหมู่เดียวกัน 
 และกำหนดกฎตารางธาตุขึÊนใหม่เป็น “สมบัติต่าง ๆ ของธาตุในตารางธาตุขึÊนอยกูั่บเลขอะตอมของธาตุ” 
5) ตารางธาตุในปัจจุบัน 
 เนืÉองจากปัจจุบันนักเคมีพบว่า การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุมีส่วนสัมพันธ์กับสมบัติต่าง ๆ ของ 
ธาตุ 
 กล่าวคือ ถ้าเรียงลำดับธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก จะพบว่าธาตุทÉีมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ตาม 
ลักษณะของการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุนัÊน 
 ดังนัÊนในปัจจุบันจึงจัดตารางธาตุโดยเรียงตามเลขอะตอมจากน้อยไปมาก ดังรูป 
รูปแสดงตารางธาตุในปัจจุบัน 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 31
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
SunanthaIamprasert
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 

Viewers also liked

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
oraneehussem
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
Ajchariya Sitthikaew
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
Coco Tan
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 

Similar to บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ

บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
nn ning
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมsripa16
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ดแบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ดkrupatcharee
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
Chakkrawut Mueangkhon
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemThanapol Sudha
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemAnan Malawan
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 

Similar to บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ (20)

บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ดแบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 
P19
P19P19
P19
 

More from oraneehussem

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
oraneehussem
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
oraneehussem
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
oraneehussem
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
oraneehussem
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
oraneehussem
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2
oraneehussem
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
oraneehussem
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
oraneehussem
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3
oraneehussem
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4
oraneehussem
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3
oraneehussem
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3
oraneehussem
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
oraneehussem
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1
oraneehussem
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
oraneehussem
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
oraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
oraneehussem
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
oraneehussem
 

More from oraneehussem (20)

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ

  • 1. เนืÊอหาทีÉจะต้องเรียนในบททีÉ 1 อะตอมและตารางธาตุ บททีÉ ř อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจำลองอะตอม 1.1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 1.1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 1.1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 1.1.4 แบบจำลองอะตอมของโบร์ 1.1.5 แบบจำลองอะตอมของกลุ่มหมอก 1.1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม 1.2 ตารางธาตุ 1.2.1 วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ 1.2.2 สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ 1) ขนาดอะตอม 2) รัศมีไอออน 3) พลังงานไอออไนเซชัน 4) อิเล็กโทรเนกาติวิตี 5) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 6) จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 7) เลขออกซิเดชัน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
  • 2. บททีÉ ř อะตอมและตารางธาตุ 1. แบบจำลองอะตอม โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2  ในสมัยโบราณมีนักปราชญ์ชาวกรีก ชÉือ ดิโมคริตุส (Democritus) เชÉือว่า เมÉือย่อยสารลงเรÉือย ๆ จะได้ส่วนทÉีเล็ก ทÉีสุดซึÉงไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และเรียกอนุภาคขนาดเล็กทÉีสุดว่า อะตอม ซึÉงคำว่า "อะตอม" (atom) เป็นคำซึÉงมาจากภาษากรีกว่า (atomas) แปลว่า แบ่งแยกอีกไม่ได้  สสารทัÊงหลายประกอบด้วยอนุภาค ทÉีเล็กทÉีสุด (สสารเกิดจากอะตอมรวมตัวกันขึÊนนันÉเอง)  ในสมัยนัÊนก็ยังไม่มีเครÉืองมือทÉีสามารถพิสูจน์และสนับสนุนแนวความคิดทÉีแน่นอนได้ จึงทำให้ไม่ทราบว่า อะตอมมีโครงสร้างเป็นอย่างไร จึงมีการเสนอให้มีแบบจำลองอะตอมขึÊน  แบบจำลองอะตอม (Atomic model) คือ ภาพทางความคิดทีÉแสดงให้เห็น รายละเอียดของโครงสร้างอะตอม ทีÉ สอดคล้องกับผลการทดลองต่าง ๆ ซึÉงได้แก่ 1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน โดย จอห์น ดอลตัน สาระสำคัญ  ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค อนุภาคเล็ก ๆ นีÊ เรียกว่า อะตอม ซึÉงแบ่งแยกไม่ได้ และทำให้ สูญหายไม่ได้  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน เช่น มีมวลเท่ากัน แต่มีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอÉืน  สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึÉงชนิด ทำปฏิกิริยาเคมีในอัตราส่วนทÉีเป็นลงตัวน้อย ๆ ลักษณะของแบบจำลองอะตอมของดอลตัน  อะตอมมีขนาดเล็กมาก เป็น ทรงกลมตัน ซึÉงเขียนเป็นรูปได้ ดังนีÊ แบบจำลองอะตอมของดอลตัน  แต่ต่อมา มีการศึกษาเกÉียวกับอะตอมเพิÉมขึÊน และค้นพบข้อมูลบางประการทÉีไม่สนับสนุนแนวคิดของ จอหน์ ดอลตัน เช่น อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน อาจมีมวลไม่เท่ากันก็ได้ และอะตอมสามารถแบ่งแยกได้ เป็นต้น  นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมา ได้ศึกษาเพิÉมเติม และสร้างแบบจำลองอะตอมขึÊนใหม่ คือ เซอร์โซเซฟ จอห์น ทอมสัน
  • 3. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3 1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน โดย เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ศึกษาการนำไฟฟ้าของแก๊ส การนำไฟฟ้าของแก๊ส  ปกติแก๊สเป็นตัวนำไฟฟ้าทีÉไม่ดี แต่ก็นำไฟฟ้าได้ ปรากฏการณ์ทÉียืนยันได้ว่าแก๊สนำไฟฟ้าได้ก็คือ การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าผ่า  แก๊สนำไฟฟ้าได้ดีขึÊน เมÉือแก๊สมีความดันตํÉา ๆ และมีความต่างศักย์ของขัÊวไฟฟ้าสูง ๆ  แก๊สนำไฟฟ้าได้ เพราะแก๊สสามารถแตกตัวเป็นไอออนบวก (โปรตอน) และไอออนลบ (อิเล็กตรอน) เมืÉออยู่ใน สนามไฟฟ้าศักย์สูง ๆ  เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้สนใจปรากฏการณ์ทÉีเกิดขึÊนใน หลอดรังสีแคโทด (มีลักษณะ ดังรูป)  ซึÉงได้ทำการทดลองเกÉียวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สขึÊนในปี พ.ศ. ŚŜŜŘ (ค.ศ. řŠšş) ซึÉงทำการทดลอง 3 การทดลอง สรุปผลได้ดังต่อไปนีÊ การทดลองทีÉ ř ทดลองการนำไฟฟ้าของแก๊ส (โดยใช้หลอดรังสีแคโทด) (ขัÊวลบ ) (ขัÊวบวก) วิธีทดลอง  บรรจุแก๊ส (แก๊ส ประกอบด้วยอะตอมของธาตุ) ในหลอดรังสีแคโทด ทีÉสูบอากาศออกจนหมด (เป็นสุญญากาศ)  เจาะรูทÉีขัÊวบวก (แอโนด) และ นำฉากเรืองแสงวางขวางหลอด จากนัÊนต่อขัÊวไฟฟ้าเข้าเครÉืองกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ดังรูป ผลทีÉเกิดขึÊน เห็นจุดสว่างบนฉากเรืองแสง สรุปผลการทดลอง  รังสีเดินทางเป็นเส้นตรงจากขัÊวแคโทด (ขัÊวบวก) ไปยังขัÊวแอโนด (ขัÊวลบ)  รังสีมีการทะลุผ่านอนุภาคของแก๊ส (ทะลุอะตอมของแก๊สนัÉนเอง) ไปปรากฏทีÉฉากเรืองแสง ดังนัÊน แก๊สสามารถนำไฟฟ้าได้ทÉีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง  แสดงว่า อะตอมไม่ได้มีลักษณะเป็นทรงกลมตันอย่างทีÉ จอห์น ดอลตัน เสนอแนวคิดไว้ ข้อสังเกต รังสีทÉีเกิดขึÊน เกิดจากโลหะทÉีทำแคโทด และจากแก๊สทÉีบรรจุในหลอดรังสีแคโทด
  • 4.  การทดลองทีÉ Ś การค้นพบอิเล็กตรอน (ประจุลบ) + - (ขัÊวลบ ) (ขัÊวบวก) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4 วิธีทดลอง  เตรียมหลอดรังสีแคโทดเหมือนการทดลองทีÉ 1  เจาะรูทÉีขัÊวบวก (แอโนด) และ นำฉากเรืองแสงวางขวางหลอด แต่การทดลองนีÊจะ นำสนามไฟฟ้า วางในแนวตัÊง ระหว่าง ขัÊวแอโนดกับฉากเรืองแสง จากนัÊนต่อขัÊวไฟฟ้าเข้าเครÉืองกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ดังรูป ผลทÉีเกิดขÊึน เกิดจุดสว่างบนฉากเรืองแสงในทิศเข้าหาขัÊวบวก ของสนามไฟฟ้า สรุปผลการทดลอง  รังสีเดินทางเป็นเส้นตรงจากขัÊวแคโทด (ขัÊวบวก) ไปยังขัÊวแอโนด (ขัÊวลบ) และเบนเข้าหาขัÊวบวกของสนามไฟฟ้า ไปปรากฏบนฉากเรืองแสง ดังรูป  แสดงว่า รังสีทÉีเกิดขึÊน ประกอบด้วยอนุภาคลบ เรียกรังสีนีÊว่า รังสีแคโทด  ดังนัÊน อะตอมทุกชนิดจะมีประจุลบ เป็นองค์ประกอบ และเรียกอนุภาคนีÊว่า อิเล็กตรอน  และยังได้หาค่าอัตราส่วนประจุต่อมวล (e/m) ของอิเล็กตรอนโดยใช้สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าช่วยในการ หา ซึÉงได้ค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ ř.şŞ x 108 คูลอมบ์ ต่อ กรัม  การทดลองทีÉ ś การค้นพบโปรตอน (ประจุบวก) วิธีทดลอง  เตรียมหลอดรังสีแคโทดเหมือนการทดลองทÉี 1 และ 2 แต่เจาะรูทัÊงขัÊวแคโทด และ แอโนด  จากนัÊนนำฉากเรืองแสงวางขวางหลอดทัÊงสองด้าน และต่อขัÊวไฟฟ้าเข้าเครÉืองกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูง ดังรูป ผลทÉีเกิดขÊึน เกิดจุดสว่างบนฉากเรืองแสงทัÊงสองด้าน สรุปผลการทดลอง  เมÉือผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดรังสีแคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึÉงเคลÉือนทÉีเป็นเส้นตรงไปในทิศทางตรงกันข้าม กับการเคลÉือนทÉีของรังสีแคโทดผ่านรูของ ขัÊวแคโทด และทำให้ฉากด้านหลังขัÊวแคโทดเรืองแสงได้  แสดงว่า รังสีทÉีเกิดขึÊน ประกอบด้วยอนุภาคบวก  ดังนัÊน อะตอมทุกชนิดจะมีประจุบวก เป็นองค์ประกอบ และเรียกอนุภาคนีÊว่า โปรตอน
  • 5. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5  จากการทดลอง 3 การทดลองของทอมสัน สามารถสรุป แบบจำลองอะตอมของทอมสัน ดังนีÊ 1. อะตอมมีลักษณะกลวง (ไม่ได้ ตัน เหมือนทีÉดอลตันบอก) 2. อะตอมประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน (ประจุบวก) และอนุภาคลบ (ประจุลบ) กระจายอยทูั่วÉไปอย่างสมํÉาเสมอ และอะตอมทีÉเป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีจำนวนประจุบวก กับประจุลบเท่ากัน ดังรูป แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด โดย เซอร์ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด  ศึกษาแบบจำลองอะตอมของทอมสัน และเกิดความสงสัยว่าอะตอมจะมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริง หรือไม่ โดยตัÊงสมมติฐานว่า “ถ้าอะตอมมีโครงสร้างตามแบบจำลองของทอมสันจริง ดังนัÊน เมืÉอยิงอนุภาคแอลฟาซึÉงมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เข้าไปในอะตอม แอลฟาทุกอนุภาคจะทะลุผ่านเป็นเส้นตรงทัÊงหมด เนืÉองจากอะตอมมีความหนาแน่นของประจุบวก และประจุลบสมํÉาเสมอเหมือนกันหมดทัÊงอะตอม”  เพÉือพิสูจน์สมมติฐานนีÊ รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ โดยมีความหนาไม่เกิน řŘ–Ŝ cm โดยมีฉากสารเรืองแสงรองรับ ดังรูป  ปรากฏผลการทดลอง ดังนีÊ 1. อนุภาคส่วนมากเคลÉือนทÉีทะลุผ่านแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง 2. อนุภาคส่วนน้อยเบีÉยงเบนไปจากเส้นตรง 3. อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคำ  ถ้าแบบจำลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง เมÉือยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ นีÊ อนุภาคแอลฟาควรพุ่งทะลุผ่าน เป็นเส้นตรงทัÊงหมดหรือเบÉียงเบนเพียงเล็กน้อย เพราะอนุภาคแอลฟามีประจุบวกจะเบÉียงเบนเมÉือกระทบกับประจุบวกทÉี กระจายอยู่ในอะตอม  แต่แบบจำลองอะตอมของทอมสันอธิบายผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดไม่ได้ รัทเทอร์ฟอร์ดจึงเสนอแบบจำลอง อะตอมขึÊนมาใหม่
  • 6.  สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนีÊ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6 “อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสทีÉมีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก และมีประจุ บวก ส่วนอิเล็กตรอนซึÉงมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิÉงอยรู่อบ ๆ นิวเคลียส” เกิดเป็นแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนีÊ แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด  ในการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดสรุปว่าอะตอมมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบ ดังนัÊน การคิดมวลอะตอมควรคิด จากมวลโปรตอนรวมกับมวลของอิเล็กตรอน แต่มวลของอิเล็กตรอนน้อยมาก การคิดมวลอะตอมจึงคิดจากมวลโปรตอน  พบว่ามวลโปรตอน ř โปรตอนเท่ากับ ř.ş x 10–24 กรัม หรือคิดเป็น ř หน่วยมวลอะตอม (ř amu = 1 atomic mass unit)  ดังนัÊนมวลอะตอมควรมีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับจำนวนโปรตอน  แต่จากการทดลองกลับพบว่ามวลอะตอมจริง ๆ มีค่าเป็น Ś เท่าหรือมากกว่า Ś เท่าของจำนวนโปรตอน  ในปี พ.ศ. ŚŜŞś (หรือค.ศ.řšŚŘ) รัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอความเห็นว่าน่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึÉงทÉีเป็นกลางทางไฟฟ้าซึÉงมีมวล ใกล้เคียงกับมวลโปรตอน  ต่อมาในปี พ.ศ. ŚŜşŝ (ค.ศ. řšśŚ) เจมส์ แชดวิก (James Chadwick) ได้ค้นพบอนุภาคอีกชนิดหนึÉง ไม่มีประจุไฟฟ้า และตัÊงชÉือ ว่า “นิวตรอน” (neutron) นิวตรอนมีมวลน้อยกว่าโปรตอนเล็กน้อย โดยมีมวลเท่ากับ ř.Şşŝ x 10–24 กรัม  และรัทเทอร์ฟอร์ดได้เสนอว่านิวตรอนเป็นอนุภาคทีÉอยู่ในนิวเคลียสของอะตอม  ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอัดกันแน่นอยใู่นนิวเคลียสยึดเหนÉียวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ (nuclear force) และอนุภาคทีÉประกอบเป็นนิวเคลียสเรียกว่า “นิวคลีออน” (nucleon)
  • 7.  อนุภาคมูลฐานของอะตอม ประกอบด้วย 1. ประจุลบ (อิเล็กตรอน , e- ) 2. ประจุบวก (โปรตอน , p) 3. ประจุทีÉเป็นกลาง (นิวตรอน , n )  มวลของอะตอม = มวลของนิวเคลียส = มวลของโปรตอน (p) + มวลของนิวตรอน (n) เลขอะตอม = จำนวนโปรตอน (p) เลขมวล = จำนวนโปรตอน (p) + จำนวนนิวตรอน (n) จำนวนโปรตอน (p) = จำนวนอิเล็กตรอน (e-) ตารางแสดงรายละเอียดอนุภาคมูลฐานของอะตอม อนุภาค สัญลักษณ์ มวล (กรัม) ประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์) ชนิดประจุไฟฟ้า อิเล็กตรอน e- 9.109 x 10-28 1.602 x 10-19 -1 โปรตอน p 1.673 x 10-24 1.602 x 10-19 +1 นิวตรอน n 1.675 x 10-24 0 0  สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ของธาตุทีÉแสดงรายละเอียดของอนุภาคมูลฐานของอะตอมไว้ โดยแสดงเลขมวลไว้มุมบนซ้าย และแสดงเลขอะตอมไว้มุมล่างซ้าย ดังนีÊ จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ จะทำให้ทราบจำนวนอนุภาคมูลฐานได้ ตัวอย่างทีÉ 1 จงหาจำนวนอนุภาคมูลฐานของ จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ เลขอะตอม = จำนวน p 20 = จำนวน p เลขมวล = จำนวนโปรตอน (p) + จำนวนนิวตรอน (n) 40 = 20 + จำนวนนิวตรอน (n) จำนวนนิวตรอน (n) = 40 - 20 = 20 ดังนัÊน อนุภาคมูลฐานได้แก่ 1) จำนวนโปรตอน เท่ากับ 20 โปรตอน 2) จำนวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 20 อิเล็กตรอน 3) จำนวนนิวตรอน เท่ากับ 20 นิวตรอน อนุภาคมูลฐานของอะตอม จำนะจ้า… เลขอะตอม เลขมวล สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ เลขมวล (p + n) A เลขอะตอม (p) Z X 40Ca 20 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7
  • 8. ตัวอย่างทีÉ 2 จงหาอนุภาคมูลฐานของ ตัวอย่างทีÉ 3 จงหาอนุภาคมูลฐานของ  ไอโซโทป (Isotope) 23Na 11 235U 11 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 8  ธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอม (จำนวน p ) เท่ากัน แต่ เลขมวล (จำนวน p + n) ต่างกัน  เช่น ธาตุ H มี 3 ไอโซโทป ดังนีÊ 12C 6 13C 6 14C 6  บางกรณีจะเขียนธาตุทÉีเป็นไอโซโทปกัน ดังนีÊ C-12 , C-13 และ C -14  ไอโซโทน (Isotone)  ธาตุต่างชนิดกัน มีเลขอะตอม (จำนวน p) และเลขมวล (จำนวน p+ n) ต่างกัน แต่มีจำนวนนิวตรอน (n) เท่ากัน  เช่น เป็นไอโซโทนกับ 13C 6 14N 7 จำนวน n = 7 จำนวน n = 7  ไอโซบาร์ (Isobar)  ธาตุต่างชนิดกัน มีเลขมวล (จำนวน p + n) เท่ากัน แต่ เลขเลขอะตอม (จำนวน p) ต่างกัน  เช่น เป็นไอโซบาร์กับ 13N 7 แบบฝึกหัด 13C 6 จงจับคู่คำตอบต่อไปนÊีให้ถูกต้อง 18A 9 19A 9 19B 10 20B 10 20C 11 21C 11 21D 12 23D 12 1) ไอโซโทป ………………………………………………………………………………………………….( 4 คู่) 2) ไอโซโทน……………………………………………………………………………………………………..(9 คู่) ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 3) ไอโซบาร์………………………………………………………………………………………………………(3คู่)
  • 9. แบบทดสอบชุดทีÉ 1 เรืÉอง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และรัทเทอร์ฟอร์ด คำชีÊแจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบทÉีถูกต้องทÉีสุด 1. แก๊สนำไฟฟ้าได้ดีในสภาวะใด ก. ความดันสูง ความต่างศักย์ตํÉา ข. ความดันสูง ความต่างศักย์สูง ค. ความดันตํÉา ความต่างศักย์สูง ง. ความดันตํÉา ความต่างศักย์ตํÉา 2. ข้อใดไม่ใช่แบบจำลองอะตอมของดอลตัน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 9 ก. อะตอมมีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ ข. อะตอมของธาตุต่างชนิดมีมวลนิวตรอนเท่ากันได้ ค. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน ง. ธาตุทำปฏิกิริยาด้วยอัตราส่วนเลขลงตัวน้อย ๆ 3. รังสีแคโทดเกิดจากส่วนใด ก. ขัÊวแคโทด ค. ขัÊวแคโทดและแก๊สทÉีบรรจุภายใน ค. แก๊สทÉีบรรจุภายใน ง. ทัÊงขัÊวแคโทด ขัÊวแอโนด และแก๊สทÉีบรรจุภายใน 4. ในการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ ได้ผลดังนีÊ A. อนุภาคส่วนใหญ่ทะลุผ่านแผ่นทองคำไปในแนวเดิม โดยไม่เปลÉียนทิศทาง B. อนุภาคส่วนน้อยทะลุผ่านแผ่นทองคำและเบÉียงเบน จากแนวเดิมเล็กน้อย C. อนุภาคส่วนน้อยทÉีสุดสะท้อนกลับมาทาง แหล่งกำเนิดอนุภาค ถ้าเรียงลำดับอนุภาคแอลฟาทีÉวิÉงเข้าใกล้นิวเคลียสมากทีÉสุดไปห่างนิวเคลียสทีÉสุดจะเป็นไปตามข้อใด ก. A , B, C ข. C , A , B ค. B , C , A ง. C , B , A 5. แบบจำลองอะตอมของทอมสันและแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดต่างกันอย่างไร ก. ชนิดของอนุภาคในอะตอม ข. ตำแหน่งของอนุภาคในอะตอม ค. จำนวนอนุภาคในอะตอม ง. ขนาดอนุภาคในอะตอม 6. อนุภาคมูลฐานของอะตอม ได้แก่ ก. โปรตอน และ อิเล็กตรอน ข. โปรตอน และ นิวตรอน ค. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ง. นิวตรอน และ อิเล็กตรอน 7. อิเล็กตรอนมี e/m เท่าใด ก. 1.6 x 10–19 e/g ข. ř.şŞ x 108 e/g ค. 9.11 x 10–28 e/g ง. 1.675 x 109 e/g 8. A และ B เป็นไอโซโทปซึÉงกันและกัน ถ้า A มีจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียสเท่ากับ x และธาตุ B มีจำนวนอิเล็กตรอน เท่ากับ y และมีเลขมวลเท่ากับ z เลขมวลของธาตุ A และจำนวนนิวตรอนของธาตุ B มีค่าเท่าใด ตามลำดับ ก. x + y และ z – y ข. x + y และ y –z ค. x + y และ z + y ง. x – y และ y – z 9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง ก. แบบจำลองอะตอมคือ มโนภาพทÉีสร้างขึÊนโดยอาศัยข้อมูลจากการทดลอง ซึÉงอาจถูกหรือผิดก็ได้ ข. นักวิทยาศาสตร์ทÉีเสนอแนวความคิดว่าอะตอมไม่เล็กทÉีสุด แต่ยังมีอิเล็กตรอนเล็กกว่า คือ ดอลตัน ค. แนวคิดของดอลตันทÉีว่าอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีสมบัติเหมือนกันปัจจุบันยังถูกต้อง ง. เมÉือดูอะตอมด้วยกล้องจุลทรรศน์สนามไอออน กำลังขยาย 750,000 เท่าจะมองเห็นอะตอมได้ชัดเจน 10. รัทเทอร์ฟอร์ดเสนอแบบจำลองอะตอมโดยศึกษาจากอะไร ก. หลอดรังสีแคโทด ข. กลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน ค. การเผาสารเพÉือดูสเปกตรัม ง. การยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ
  • 10. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 10  จากแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดทำให้ทราบถึงการจัดโครงสร้างของอนุภาคต่าง ๆ ในนิวเคลียส แต่ไม่ได้อธิบายว่าอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยู่ในลักษณะใด  นักวิทยาศาสตร์ในลำดับต่อมาได้หาวิธีทดลองเพÉือรวบรวมข้อมูลเกÉียวกับตำแหน่งของอิเล็กตรอนทÉีอยรู่อบนิวเคลียส วิธีหนึÉงก็คือ การศึกษาสมบัติและปรากฏการณ์ของคลÉืนและแสง แล้วนำมาสร้างเป็นแบบจำลอง นักวิทยาศาสตร์ผู้นัÊน คือ นีลล์ โบร์  ดังนัÊนก่อนจะศึกษาแบบจำลองอะตอมของโบร์ นักเรียนควรเรียนรู้เกÉียวกับคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานของคลÉืน แม่เหล็กไฟฟ้า คลนÉืแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานของคลนÉืแม่เหล็กไฟฟ้า  แสงเป็นคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า มีการเคลÉือนทÉีแบบคลÉืน ดังนัÊน คลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า จึงมีสิÉงต่อไปนีÊ 1) ความยาวคลืÉน ( ) หมายถึง ระยะทางทีÉคลืÉนเคลืÉอนทีÉครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็นเมตร (m) หรือนาโนเมตร (nm) ความยาวคลืÉน คลืÉน 1 รอบ 2) ความถÉีของคลนÉื (v) หมายถึง จำนวนรอบของคลÉืนทÉีผ่านจุดใดจุดหนึÉงในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (s-1) หรือ เฮิรตซ์ (Hz) คลืÉนแสงเป็นคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าทีÉมีความถีÉและความยาวคลืÉนต่าง ๆ กัน ดังรูปต่อไปนีÊ ม่วง แดง  แสงทÉีประสาทตาคนรับได้เรียกว่า “แสงทÉีมองเห็นได้” (visible light) ซึÉงมีความยาวคลÉืนอยใู่นช่วง ŜŘŘ – şŘŘ nm  แสงในช่วงคลÉืนนีÊประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ กัน ตามปกติประสาทตาของคนสามารถสัมผัสแสงบางช่วงคลÉืนทÉีส่องมาจาก ดวงอาทิตย์ได้ แต่ไม่สามารถแยกเป็นสีต่าง ๆ จึงมองเห็นเป็นสีรวมกันซึÉงเรียกว่า “แสงขาว”  เรียงลำดับความยาวคลืÉน (มากไปน้อย) คือ คลืÉนวิทยุ > คลืÉนไมโครเวฟ > แสงอินฟราเรด > แสงขาว > แสง UV > รังสีเอกซ์ > รังสีแกมมา
  • 11. สเปกตรัม (spectrum) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 11 คือ แถบสีหรือเส้นสีทีÉได้จากการผ่านคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านตัวแยกความยาวคลืÉน เช่น เกรตติง อุปกรณ์ทีÉใช้ศึกษาเกีÉยวกับสเปกตรัม เรียกว่า สเปกโทรมิเตอร์ (spectrometer)  ถ้าให้แสงอาทิตย์ซึÉงเป็นแสงขาวส่องผ่านปริซึม แสงขาวจากดวงอาทิตย์จะแยกออกเป็นแสงสีรุ้งต่อเนÉืองกัน เรียกว่า “สเปกตรัมของแสงขาว” แดง ม่วง  สเปกตรัมของแสงขาวเกิดจากการทÉีเมÉือแสงซึÉงมีความยาวคลÉืนต่าง ๆ กันผ่านไปยังปริซึม แสงจะหักเหได้ไม่เท่ากัน เกิด เป็นแถบสีรุ้งต่อเนÉืองกัน โดยมีความยาวคลÉืนในช่วงต่าง ๆ ดังนีÊ ตารางแสดงสีต่าง ๆ ในแถบสเปกตรัมของแสงขาว สเปกตรัม ความยาวคลืÉน (nm) แสงสีม่วง ŜŘŘ – ŜŚŘ แสงสีคราม–นÊำเงิน ŜŚŘ – ŜšŘ แสงสีเขียว ŜšŘ – ŝŠŘ แสงสีเหลือง ŝŠŘ – ŝšŘ แสงสีแสด (ส้ม) ŝšŘ –ŞŝŘ แสงสีแดง ŞŝŘ – şŘŘ  คลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าทีÉมีความยาวคลืÉนในช่วงอืÉน ก็เกิดการหักเหได้ แต่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า  มักซ์ พลังค์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ศึกษาพลังงานของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า และได้ข้อสรุปเกีÉยวกับสัมพันธ์ระหว่าง พลังงานของคลÉืนกับความถÉีของคลÉืน ดังนีÊ E = hV E คือ พลังงาน (หน่วยจูล, J) h คือ ค่าคงทีÉของพลังค์ มีค่า 6.626 x 10-34 จูลวินาที v คือ ความถีÉของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า (หน่วยเฮิรตซ์, Hz) v = c c คือ ความเร็วของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ เท่ากับ 2.997 x 108เมตร/วินาที (อาจใช้ 3.0 x 108เมตร/วินาที) คือ ความยาวคลืÉน v คือ ความถีÉของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า (หน่วยเฮิรตซ์, Hz) ดังนัÊน ค่าพลังงานของคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า จึงสามารถคำนวณได้จากความสัมพันธ์ ดังนÊี E = hV = hc
  • 12. แบบฝึกหัดการคำนวณค่าพลังงานของคลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้า 1. เส้นสเปกตรัมสีแดงของโพแทสเซียมมีความถีÉ 3.91 x 1014 Hz จะมีความยาวคลืÉนเป็นเท่าใด 2. เส้นสเปกตรัมเส้นหนึÉงของธาตุซีเซียมมีความยาวคลÉืน 456 nm ความถÉีของสเปกตรัมเส้นนีÊมีค่าเท่าใด และปรากฏเป็นสีใด 3. คลืÉนแม่เหล็กไฟฟ้าทีÉมีความถีÉ 8.5 x 104 Hz จะมีพลังงานและความยาวคลืÉนเท่าใด โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 12
  • 13. สเปกตรัมของธาตุ บท โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 13  โรเบิร์ต บุนเซน และ กุสตาฟ คีร์ชฮอฟฟ์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์สเปกโทรสโคปซึÉงเป็นอุปกรณ์ทÉีใช้ใน การศึกษาสเปกตรัม ทีÉได้จากการเผาสารประกอบทีÉมีธาตุเป็นองค์ประกอบ  เพÉือนำสเปกตรัมทÉีได้มาระบุว่าสารประกอบนัÊนมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบ สเปกตรัมของธาตุโลหะ เผา สารประกอบทÉีมีโลหะเป็นองค์ประกอบ จะเห็นเปลวไฟทÉีมีสีเฉพาะตัวของโลหะนัÊน ๆ ทีÉเป็นองค์ประกอบของสารประกอบ  สรุป สารประกอบของโลหะชนิดเดียวกันจะให้สีเปลวไฟสีเดียวกัน และได้เส้นสเปกตรัมซึÉงเป็นแบบเฉพาะ นันÉคือ มีสีและตำแหน่งของเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน ดังตัวอย่างในตารางต่อไปนีÊ ตารางแสดงสีของเปลวทีÉเกิดจากการเผาสารประกอบ สารประกอบ สีของเปลวไฟ ลิเทียม (Li) สีแดง โซเดียม (Na) สีเหลือง โพแทสเซียม (K) สีม่วง ซีเซียม (Cs) สีฟ้า แคลเซียม (Ca) สีแดงอิฐ แบเรียม (Ba) สีเขียวแกมเหลือง ทองแดง (Cu) สีเขียว  สารประกอบต่างชนิดกัน แต่มีโลหะชนิดเดียวกันเป็นองค์ประกอบ จะให้สีเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมเหมือนกัน เช่น NaCl CuCl2 จะได้เปลวไฟสีเหลือง จะได้เปลวไฟสีเขียว Na2SO4 CuSO4  การทÉีสารประกอบของโลหะต่างชนิดกัน มีสีของสเปกตรัม และตำแหน่งของเส้นสเปกตรัมต่างกันเป็นแถบเฉพาะของ โลหะนัÊน ๆ  ดังนัÊน จึงสามารถใช้สีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมในการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารได้  โดยนำสารประกอบนัÊนไปเผา แล้วนำสีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมทÉีได้เปรียบเทียบกับผลการทดลองทÉี นักวิทยาศาสตร์ได้สรุปไว้แล้ว การวิเคราะห์สารวิธีนีÊเรียกว่า “Flame test” สเปกตรัมของธาตุอโลหะ  ในการเผาสารประกอบทีÉเป็นอโลหะจะให้สเปกตรัมในช่วงทีÉตาเรารับไม่ได้ จึงมองไม่เห็นเส้นสเปกตรัม สเปกตรัมของแก๊ส  ในการศึกษาสเปกตรัมของธาตุทÉีเป็นแก๊ส จะนำแก๊สไปบรรจุหลอดแก้วทÉีมีความดันตํÉา และผ่านกระแสไฟฟ้าศักย์สูงเข้า ไปแทนการเผาด้วยความร้อน เมÉือแก๊สได้รับพลังงานไฟฟ้าจะปล่อยแสงเป็นสเปกตรัมลักษณะเฉพาะของธาตุนัÊน ๆ และธาตุอโลหะบางชนิดก็ให้แสงทีÉตารับได้ เช่น He , Ne , Ar เป็นต้น
  • 15. การเกิดสเปกตรัมของธาตุ  สเปกตรัมเกิดได้อย่างไร สถานะพืÊน (ground state) หมายถึงอะตอมทÉีอิเล็กตรอนซึÉงเคลÉือนทÉีอยรู่อบ นิวเคลียสมีพลังงานเฉพาะตัวอยใู่นระดับพลังงานตํÉา อะตอม ในสถานะพืÊนจะมีความเสถียรเนÉืองจากมีพลังงานตํÉา สถานะกระตุ้น (excited state) หมายถึงอะตอมทÉีได้รับพลังงานเพิÉมขึÊน ทำให้ อิเล็กตรอนถูกกระตุ้นให้อยใู่นระดับพลังงานสูงขึÊน ทÉีสถานะ กระตุ้นอะตอมจะไม่เสถียร เนืÉองจากมีพลังงานสูง  การเกิดสเปกตรัมของธาตุสามารถอธิบายได้ ดังนีÊ เมืÉออะตอมได้รับพลังงาน เช่น จากการเผา หรือ จากกระแสไฟฟ้า อิเล็กตรอน (รอบนิวเคลียส) จะเปลÉียนจาก สถานะพืÊน ไปสู่สถานะกระตุ้น ทีÉสถานะกระตุ้น อะตอมไม่เสถียร จึงต้องคายพลังงานออกมา ซÉึงพลังงานทÉีคายออกมาอยู่ในรูปพลังงานแสง หรือคลÉืนแม่เหล็กไฟฟ้า เมืÉอส่องผ่านปริซึมหรือสเปกโทรสโคป จะแยกแสงออกมา เป็นเส้นสเปกตรัม การทีÉธาตุแต่ละชนิดให้เส้นสเปกตรัมหลายเส้น แสดงว่าอิเล็กตรอน(รอบนิวเคลียส) มีหลายระดับพลังงาน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 15 ระดับพลังงานใกล้นิวเคลียสมีพลังงานตํÉา ระดับพลังงานห่างนิวเคลียสมีพลังงานตํÉา (E2) (E1) = E2 - E1
  • 16.  การศึกษาสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน  นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาสเปกตรัมของแก๊ส เพราะว่ามีอะตอมอยู่ห่างกัน  และเลือกใช้อะตอมไฮโดรเจนเนืÉองจากมี ř อิเล็กตรอน  พบว่า มีเส้นสเปกตรัมทีÉปรากฏในช่วงความยาวคลืÉนทีÉมองเห็นได้โดยมีความยาวคลืÉน ŜřŘ , ŜśŜ , ŜŠŞ และ ŞŝŞ nm  จากการทดลองหลายครัÊง พบว่า อะตอมของไฮโดรเจนให้เส้นสเปกตรัมได้หลายเส้นทÉีมีลักษณะเหมือนกันทุกครัÊง  จึงสรุปได้ว่า อิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนขึÊนไปอยใู่นสถานะกระตุ้นทÉีมีพลังงานแตกต่างกันได้หลายระดับ  ค่าพลังงานของเส้นสเปกตรัมแสดงให้เห็นถึงการเปลีÉยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมจากระดับพลังงานสูง มายังระดับพลังงานตํÉา ตารางแสดงความยาวคลืÉนและพลังงานของเส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน เส้นสเปกตรัม ความยาวคลÉืน พลังงาน (KJ) ผลต่างพลังงานของเส้นสเปกตรัมทÉีอยู่ถัดกัน สีม่วง ŜřŘ Ŝ.ŠŜ x 10–22 (ห่างนิวเคลียส) Ś.ş x 10–23 สีนํÊาเงิน ŜśŜ Ŝ.ŝş x 10–22 Ŝ.š x 10–23 สีนํÊาทะเล ŜŠŞ Ŝ.ŘŠ x 10–22 řŘ.Ş x 10–23 สีแดง ŞŝŞ ś.ŘŚ x 10–22 (ใกล้นิวเคลียส)  จากข้อมูลในตาราง แสดงว่าอะตอมของไฮโดรเจนมีพลังงานหลายระดับ  และความแตกต่างระหว่างพลังงานของแต่ละระดับทีÉอยู่ถัดไปก็ไม่เท่ากัน ความแตกต่างของพลังงานจะมีค่าน้อยลง เมÉือระดับพลังงานสูงขึÊน จากเหตุผลทÉีอธิบายมานÊีช่วยให้สรุปได้ว่า 1) 2) 3) เมืÉออิเล็กตรอนได้รับพลังงานในปริมาณทีÉเหมาะสม อิเล็กตรอนจะขึÊนไปอยใู่นระดับพลังงานทÉีสูงกว่าระดับพลังงานเดิม แต่จะอยใู่นระดับใดขึÊนกับปริมาณพลังงานทÉีได้รับ การทÉีอิเล็กตรอนขึÊนไปอยใู่นระดับพลังงานใหม่ทำให้อะตอมไม่เสถียร อิเล็กตรอนจะกลับมาอยใู่นระดับพลังงานทÉีตํÉากว่า ซึÉงในการเปลÉียนตำแหน่งนีÊอิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมา การเปลีÉยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนไม่จำเป็นต้องเปลีÉยน ไปยังระดับพลังงานทÉีอยตูิ่ดกันอาจมีการเปลÉียนข้ามระดับได้ แต่เมÉืออิเล็กตรอนรับพลังงานแล้วจะขึÊนไปอยรู่ะหว่างระดับพลังงานไม่ได้ จะต้องขึÊนไปอยใู่นระดับใดระดับหนึÉงเสมอ ผลต่างของพลังงานระหว่างระดับพลังงานตํÉาจะ มีค่ามากกว่า ผลต่างของพลังงานระหว่างระดับพลังงานทÉีสูงขึÊนไป โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 16
  • 17. 1.4 แบบจำลองอะตอมของโบร์ (นีลล์ โบร์ ได้ศึกษาและปรับปรุงแบบจำลองของรัทเทอร์ฟอร์ด โดยศึกษาสเปกตรัมของไฮโดรเจน)  จากความรู้เรืÉองการเปลีÉยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน และการเกิดสเปกตรัม  ช่วยให้ นีลส์ โบร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก สร้างแบบจำลองอะตอมเพืÉอใช้อธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอน ในอะตอมได้ โดยกล่าวว่า 1) อิเล็กตรอนจะเคลืÉอนทีÉรอบนิวเคลียสเป็นวง (คล้ายวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์) 2) แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนทีÉอยใู่กล้นิวเคลียสทÉีสุดซึÉงมีพลังงานตํÉาทÉีสุด เรียกว่าระดับ K และระดับพลังงานทÉีอยถูั่ดออกมาเรียกเป็น L , M , N , … ตามลำดับ 3) ต่อมาได้มีการใช้ตัวเลขแสดงถึงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน คือ n = 1 หมายถึงระดับพลังงานทÉี ř ซึÉงอยใู่กล้ กับนิวเคลียสทÉีสุด และชัÊนถัดมาเป็น n = 2 หมายถึงระดับพลังงานทÉี Ś ต่อจากนัÊน n = 3 , 4 , . . . หมายถึงระดับ พลังงานทÉี ś , Ŝ และสูงขึÊนไปตามลำดับ แบบจำลองอะตอมของโบร์  แบบจำลองอะตอมของโบร์ พัฒนามาจากการค้นพบสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ซึÉงเป็นอะตอมทÉีมี ř อิเล็กตรอน แต่ไม่สามารถใช้อธิบายอะตอมทีÉมีหลายอิเล็กตรอนได้ นักวิทยาศาสตร์จึงจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าเพิÉมเติมเพืÉอเสนอ แบบจำลองอะตอมใหม่ 1.5 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก  เนืÉองจากแบบจำลองอะตอมของโบร์ (Niels Bohr) มีข้อจำกัดทีÉไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมทีÉมีหลาย อิเล็กตรอน ได้  จึงมีการศึกษาเพิÉมเติมจนได้ข้อมูลทÉีเชÉือว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทัÊงอนุภาคและคลÉืน โดยเคลÉือนทÉีรอบนิวเคลียสใน ลักษณะของคลืÉนนิÉง บริเวณทีÉพบอิเล็กตรอนได้พบได้หลายลักษณะเป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน  จากการใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการขึÊนเพÉือคำนวณหาโอกาสทÉีจะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ พบว่า แบบจำลองนีÊอธิบายเส้นสเปกตรัมได้ดีกว่าแบบจำลองอะตอมของโบร์ มีลักษณะ ดังนีÊ 1) อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลÉือนทÉีอย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทัวÉทัÊงอะตอม จึงไม่สามารถบอกตำแหน่งทÉี แน่นอนของอะตอมได้ 2) มีโอกาสทÉีจะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านัÊน ทำให้สร้างมโนภาพได้ว่าอะตอมประกอบด้วยกลุ่ม หมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส 3) บริเวณทีÉกลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสทีÉจะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณทีÉมีกลุ่มหมอกจาง” แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 17
  • 18. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 18 1.6 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม (Electronic configuration)  จากแบบจำลองอะตอม พบว่าโปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนอยู่รอบ ๆ โดยอยู่ในระดับ พลังงานต่าง ๆ กัน  สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานได้ ดังนีÊ 1. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก (shell)  จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานหลักมีจำนวนไม่เกิน 2n2 เมืÉอ n คือระดับพลังงานหลักทีÉ ř , Ś , ś , . . . ระดับพลังงานหลัก n=1 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน Ś อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=2 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน Š อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=3 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน řŠ อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=4 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน śŚ อิเล็กตรอน  พลังงานชัÊนนอกสุด และมีพลังงานสูงสุด เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (เวเลนซ์อิเล็กตรอน จะไม่เกิน 8)  ดังนัÊน ระดับพลังงานหลักชัÊนสุดท้าย จะไม่เกิน 8 เสมอ ต้องจำ เวเลนซ์อิเล็กตรอน บอกให้รู้ว่า ธาตุอยหู่มู่ใด จำนวนระดับพลังงาน บอกให้รู้ว่า ธาตุอยู่คาบใด ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ธาตุ เลขอะตอม จำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน แสดงการจัดในระดับ n=1 n=2 n=3 n=4 พลังงานหลัก H 1 1 ř He 2 2 Ś Li 3 2 1 Ś , ř Be 4 2 2 Ś , Ś B 5 2 3 Ś , ś C 6 2 4 Ś , Ŝ N 7 2 5 Ś , ŝ O 8 2 6 Ś , Ş F 9 2 7 Ś , ş Ne 10 2 8 Ś , Š Na 11 2 8 1 Ś , Š , ř Mg 12 2 8 2 Ś , Š , Ś Al 13 2 8 3 Ś , Š , ś Si 14 2 8 4 Ś , Š , Ŝ P 15 2 8 5 Ś , Š , ŝ S 16 2 8 6 Ś , Š , Ş Cl 17 2 8 7 Ś , Š , ş Ar 18 2 8 8 Ś , Š , Š K 19 2 8 8 1 Ś , Š , Š , ř Ca 20 2 8 8 2 Ś , Š , Š , Ś
  • 19. เทคนิคทÉีควรรู้ในการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก  นักเรียนสามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของอะตอม โดยใช้สามเหลÉียมมหัศจรรย์ ดังนีÊ เลขอะตอม 2 2 2 2 4 2 8 2 12 2 8 8 2 20 2 8 18 8 2 38 2 8 18 18 8 2 56 2 8 18 32 18 8 2 88 2 8 18 32 32 18 8 2 120 หมายเหตุ จากสามเหลÉียมมหัศจรรย์นีÊ นักเรียนอาจไม่จำเป็นต้องจำ แต่ต้องเข้าใจหลักในการเขียน ตัวอย่างทีÉ 1 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Ca วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Ca (เท่ากับ 20) ดังนัÊน Ca สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 8 2 จะเห็นว่า Ca มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 จึงอยู่ในหมู่ 2 และ Ca มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากับ 4 จึงอยู่ในคาบ 4 ตัวอย่างทีÉ 2 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ B วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม B (เท่ากับ 5) ดังนัÊน B สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 3 จะเห็นว่า B มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3 จึงอยู่ในหมู่ 3 และ B มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากับ 2 จึงอยู่ในคาบ 2 ตัวอย่างทีÉ 3 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Cl วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Cl (เท่ากับ 17) ดังนัÊน Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 7 จะเห็นว่า Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 จึงอยู่ในหมู่ 7 และ Cl มีจำนวนระดับพลังงานเท่ากับ 3 จึงอยู่ในคาบ 3 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 19
  • 20. ตัวอย่างทีÉ 4 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Fe วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Fe (เท่ากับ 26) ดังนัÊน Fe สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 14 2 ตัวอย่างทีÉ 5 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของ Br วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Br (เท่ากับ 35) ดังนัÊน Br สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 18 7 ตัวอย่างทีÉ 6 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุทีÉมีเลขอะตอมเท่ากับ 23 วิธีทำ ธาตุนีÊสามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 11 2 ตัวอย่างทีÉ 7 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Pt (แพลตทินัม) วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Pt (เท่ากับ 78) ดังนัÊน Pt สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 18 32 16 2 ตัวอย่างทีÉ 8 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Po (โพโลเนียม) วิธีทำ เปิดตารางธาตุดู เลขอะตอม Pt (เท่ากับ 84) ดังนัÊน Po สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 18 32 18 6 แบบฝึกหัด เรืÉอง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 1. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ของธาตุ S 2. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ของธาตุ Mn 3. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ As 4. จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุ Tc โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 20
  • 21. 2. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย (sub-shell) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 21  จากการศึกษาสมบัติทีÉเป็นคลืÉนของอิเล็กตรอน พบว่าอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานหรือวง (shell) ต่าง ๆ กัน ซึÉงเรียกว่าระดับพลังงานหลัก และในระดับพลังงานเดียวกันยังมีระดับพลังงานย่อย (sub shell) ต่าง ๆ อีก คือระดับพลังงานย่อย s , p , d และ f โดยในแต่ละระดับพลังงานย่อยมีอิเล็กตรอนดังนีÊ ระดับพลังงานหลักทีÉ ř (n=1) มี ř ระดับพลังงานย่อยคือ s ระดับพลังงานหลักทีÉ Ś (n=2) มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ s , p ระดับพลังงานหลักทีÉ ś (n=3) มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ s , p , d ระดับพลังงานหลักทีÉ Ŝ (n=4) มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ s , p , d , f ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในระดับพลังงานย่อย และในแต่ละระดับพลังงาน ระดับ ระดับ จำนวนออร์บิทัล จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุด พลังงานหลัก พลังงานย่อย ในแต่ละระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุด ในแต่ละระดับพลังงาน n = ř s 2 2 n = 2 s 2 p 8 6 n = 3 s 2 p 6 18 d 10 n = 4 s 2 32 p 6 d 10 f 14 ตารางแสดงจำนวนออร์บิทัล และจำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในแต่ละออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อย จำนวนออร์บิทัล จำนวนอิเล็กตรอน แต่ละออร์บิทัล จำนวนอิเล็กตรอนรวม s 1 Ś Ś p 3 Ś Ş d 5 Ś řŘ f 7 Ś řŜ  อิเล็กตรอนมีการเคลÉือนทÉีอยตู่ลอดเวลา ความหนาแน่นของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนซึÉงวัดออกมาในรูปของโอกาสทÉีจะพบ อิเล็กตรอน ซึÉงเคลÉือนทÉีรอบนิวเคลียส จะมีรูปร่างเป็น ś มิติทÉีแตกต่างกันซึÉงเรียกว่า ออร์บิทัล (orbital)
  • 22. ออร์บิทัล (orbital) โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 22  หมายถึงบริเวณทีÉมีโอกาสสูงทีÉจะพบอิเล็กตรอน หรือบริเวณทÉีอยขู่องอิเล็กตรอน ซึÉงมีรูปร่างเป็น ś มิติแตกต่างกัน ดังนีÊ 1) S ออร์บิทัล มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสเท่ากันทุกทิศทาง ทำให้มองเห็นว่าออร์บิทัลนีÊมีรูปร่างเป็นทรงกลมรอบนิวเคลียส (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 2e-) ดังรูป 2) P ออร์บิทัล มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอยู่ในบริเวณแกน x , y , z มี 3 แบบ ได้แก่ px–orbital , Pz–orbital ,Py–orbital โดยออร์บิทัลทัÊงสามมีรูปร่างคล้ายดรัมเบลล์ มีพลังงานเท่ากัน แต่มีทิศทางแตกต่างกัน (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 6 e- ) ดังรูป orbital orbital orbital 3) d ออร์บิทัล มีความซับซ้อนมากกว่า s-orbital และ p-orbital มี 5 แบบ ได้แก่ , , , และ (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 10 e- ) ดังรูป 4) f ออร์บิทัล มี 7 แบบ (อิเล็กตรอนบรรจุได้มากสุด 14 e- ) ในระดับนีÊอาจไม่จำเป็นต้องศึกษารายละเอียด f ออร์บิทัล มากนักก็ได้
  • 23. หลักการจัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงานย่อย (ออร์บิทัล) 1) ให้ แทนออร์บิทัล อิเล็กตรอนเขียนด้วยลูกศร อิเล็กตรอนในออร์บิทัล จึงเขียนแทนได้เป็น หรือ ในกรณีทีÉมีอิเล็กตรอนเต็มออร์บิทัล สามารถเขียนเป็น ถ้าเขียนเป็น หรือ จะไม่สอดคล้องตามหลักการ 2) ต้องบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลทÉีมีพลังงานตํÉาสุด และ ว่างก่อนเสมอ คือ 1s 2s 2p 3s . . . ตามลำดับ เพราะจะทำให้พลังงานรวมทัÊงหมดมีค่าตํÉาสุดและมีความเสถียรทÉีสุด 3) อะตอมของธาตุทีÉมีการบรรจุอิเล็กตรอนเต็มในทุก ๆ ออร์บิทัลทีÉมีพลังงานเท่ากัน เรียกว่า การบรรจุเต็ม (full filled) ถ้ามีอิเล็กตรอนบรรจุอยเู่พียงครึÉงเดียวเรียกว่า การบรรจุครึÉง (half filled) การบรรจุเต็มหรือบรรจุครึÉงจะทำให้อะตอมมีความเสถียรมากกว่าการบรรจุแบบอÉืน ๆ 1s 2s 2p การบรรจุเต็ม การบรรจุครึÉง 4) ในกรณีทÉีมีหลายอิเล็กตรอน การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลต่าง ๆ ตามลำดับพลังงานจากตํÉาไปสูงจะเป็นดังนีÊ ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนเข้าในระดับพลังงานตามลำดับ ระดับ พลังงาน จำนวนระดับพลังงานย่อยหรือออร์บิทัลทอÉียู่ในแต่ละระดับพลังงาน n = 1 n = 2 n = 3 n = 4 n = 5 n = 6 n = 7 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 23
  • 24. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 24 ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในระดับพลังงานย่อย และในแต่ละระดับพลังงาน ของ ŚŘ ธาตุแรก เลข อะตอม ธาตุ แผนภาพการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อย 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 1 H 1s1 2 He 1s2 3 Li 1s22s1 4 Be 1s22s2 5 B 1s22s22p1 6 C 1s22s22p2 7 N 1s22s22p3 8 O 1s22s22p4 9 F 1s22s22p5 10 Ne 1s22s22p6 11 Na 1s22s22p6 3s1 หรือ [Ne] 3s1 12 Mg 1s22s22p6 3s2 หรือ [Ne] 3s2 13 Al 1s22s22p63s23p1 14 Si 1s22s22p63s23p2
  • 25. ตารางแสดงระดับพลังงานย่อย จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดในระดับพลังงานย่อย และในแต่ละระดับพลังงาน ของ ŚŘ ธาตุแรก (ต่อ) เลข อะตอม ธาตุ แผนภาพการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อย 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 15 P 1s22s22p63s23p3 16 S 1s22s22p63s23p4 17 Cl 1s22s22p63s23p5 18 Ar 1s22s22p63s23p6 19 K 1s22s22p63s23p64s13d0 20 Ca 1s22s22p63s23p64s23d0  อิเล็กตรอนทีÉอยู่ในระดับพลังงานสูงสุดหรือชัÊนนอกสุดของอะตอม เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) ตัวอย่างทีÉ 1 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ Cl วิธีทำ Cl มีเลขอะตอม 17 Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ดังนีÊ 2 8 7 จะได้ว่า ระดับพลังงานหลัก n = 1 2 n = 2 8 n = 3 7 ระดับพลังงานย่อย 1s 2s 2p 3s 3p 3d ดังนัÊน Cl สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยได้ ดังนีÊ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p5 ตัวอย่างทีÉ 2 จงจัดอิเล็กตรอนลงในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ C (เลขอะตอม 6) ระดับพลังงานหลัก n = 1 2 n = 2 4 ระดับพลังงานย่อย 1s 2s 2p ดังนัÊน C สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ได้ดังนีÊ 1s2 2s2 2p2 โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 25
  • 26. ตัวอย่างทีÉ 3 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย ของธาตุ P (เลขอะตอม 15) วิธีทำ ระดับพลังงานหลัก n = 1 2 n = 2 8 n = 3 5 ระดับพลังงานย่อย 1s 2s 2p 3s 3p 3d ดังนัÊน P สามารถจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานได้ ดังนีÊ 1s22s22p63s23p3 ตัวอย่างทีÉ 4 จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ Ca (เลขอะตอม 20) ระดับ พลังงานหลัก n = 1 2 n = 2 8 n = 3 8 n = 4 2 ระดับ พลังงานย่อย 1s 2s 2p 3s 3p 3d 4s 4p 4d 4f แบบฝึกหัด เรืÉอง การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย 1) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ N 2) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ K 3) จงจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุ Mg โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 26
  • 27. 4) ธาตุ A B C D มีการจัดอิเล็กตรอน ดังนีÊ ธาตุ A 1s22s22p6 ธาตุ B 1s22s22p63s23p4 ธาตุ C 1s22s22p63s23p64s13d0 ธาตุ D 1s22s22p63s23p1 4.1) ธาตุ A B C D มีเลขอะตอมเท่าใด วิธีคิด จาก ธาตุ A 1s22s22p6 เลขอะตอมธาตุ A เท่ากับ 2 + 2 + 6 = 10 ธาตุ B C D ให้นักเรียนทำด้วยตัวเอง ธาตุ B ธาตุ C ธาตุ D 4.2) ธาตุ A B C มีอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานใดบ้าง จำนวนเท่าใด วิธีคิด จากธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 10 มีอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 2 8 ธาตุ B C D ให้นักเรียนทำด้วยตัวเอง ธาตุ B ธาตุ C ธาตุ D โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 27
  • 28. 2. ตารางธาตุ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 28  ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบธาตุเป็นจำนวนมาก ธาตุเหล่านัÊนอาจมีสมบัติบางประการคล้ายกัน แต่ก็มีสมบัติบางประการ แตกต่างกัน จึงยากต่อการจดจำสมบัติต่าง ๆ ของแต่ละธาตุได้ทัÊงหมด  นักวิทยาศาสตร์จึงหากฎเกณฑ์ในการจัดธาตุทีÉมีสมบัติคล้ายกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพืÉอง่ายต่อการศึกษา โดยใช้ ตารางธาตุ  ตารางธาตุ หมายถึง ตารางทÉีนักวิทยาศาสตร์สร้างขึÊนมา เพÉือแบ่งธาตุทÉีมีสมบัติเหมือนกันออกเป็นหมวดหมู่ เพÉือให้ง่ายแก่ การศึกษา โดยแบ่งธาตุทัÊงหมดออกเป็นหมู่และคาบ ดังนีÊ  ธาตุทÉีอยใู่นแนวดิÉงเดียวกัน เรียกว่า อยใู่น หมู่ เดียวกัน  ธาตุทีÉอยู่ในแนวนอนเดียวกัน เรียกว่า อยู่ใน คาบ เดียวกัน 2.1 วิวัฒนาการของตารางธาตุ 1) ตารางธาตุของเดอเบอไรเนอร์ (ชุดสาม)  การจัดตารางธาตุนัÊนเริÉมขึÊนตัÊงแต่ปี พ.ศ. 2360 (ค.ศ. 1817) โดย โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ (Johaun Dobereiner) นักเคมีชาวเยอรมัน ได้นำธาตุต่าง ๆ ทÉีพบในขณะนัÊนมาจัดเรียงเป็นตารางธาตุ  โดยนำธาตุต่าง ๆ ทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียกว่า ชุดสาม  เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากในแต่ละหมู่  ธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลีÉยของมวลอะตอมของธาตุทีÉเหลืออีก 2 อะตอม เรียกว่า กฎชุดสาม (law of triads)  เช่น Na เป็นธาตุกลางระหว่าง Li กับ K มีมวลอะตอม 23 (เป็นค่าเฉลÉียของมวลอะตอม Li ซึÉงมีมวลอะตอม 7 กับธาตุ K มีมวลอะตอม 39) ตารางทÉี 1 มวลอะตอมเฉลÉียของธาตุบางกลุ่มตามกฎชุดสาม หมู่ 1 มวลอะตอม หมู่ 2 มวลอะตอม Li 7 Be 9 Na 23 เฉลีÉย = 7 + 39 Mg 24 2 K 39 Ca 40 เฉลีÉย = 9 + 40 = 24.5 2  เมืÉอนำกฎดังกล่าวไปใช้กับธาตุกลุ่มอืÉนทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกัน ปรากฏว่าบางธาตุ มวลอะตอมของธาตุกลางไม่ เท่ากับค่าเฉลีÉยของมวลอะตอมของธาตุทีÉเหลือ กฎชุดสามของเดอเบอไรเนอร์จึงไม่เป็นทีÉยอมรับกันในเวลาต่อมา
  • 29. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 29 2) ตารางธาตุของนิวแลนด์  ในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands) นักเคมีชาวอังกฤษได้พบว่าเมืÉอนำธาตุต่าง ๆ มา เรียงลำดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก ให้เป็นแถวตามแนวนอน สมบัติของธาตุจะมีลักษณะคล้ายกันเป็น ช่วง ๆ ซึÉงลักษณะดังกล่าวเกิดขึÊนทุก ๆ ของธาตุทÉี 8 (ธาตุทÉี 8 มีสมบัติคล้ายธาตุทÉี 1  เช่น ถ้าเริÉมต้นจากธาตุ Li แล้วเรียงลำดับมวลอะตอมไปถึงธาตุทÉี 8 จะตรงกับ Na ซึÉง Li และ Na มีสมบัติต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน ดังตัวอย่างการจัดต่อไปนีÊ Li Be B C N O F Na Mg Al Si P S Cl K Ca  การจัดเรียงธาตุตามแนวคิดของนิวแลนด์ ใช้ได้ถึงธาตุแคลเซียมเท่านัÊน กฎนีÊจึงไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใด มวลอะตอมจึงเกÉียวข้องกับสมบัติทÉีคล้ายคลึงกันของธาตุ ทำให้ไม่เป็นทÉียอมรับในเวลาต่อมา John Alexander Reina Newlands 3) ตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ  ในระหว่างปี พ.ศ. 2412 - 2413 (ค.ศ. 1269 - 1270) ยูลิอุส ไมเออร์ (Julius Meyer) นักวิทยาศาสตร์ชาว เยอรมัน และดิมิทรี เมนเดเลเยฟ (Dimitri Mendelejev) ได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง ๆ มากขึÊน ทำให้มี ข้อสังเกตเช่นเดียวกันว่า ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ (นักเคมีชาวเยอรมัน) Dmitri Ivanovich Mendeleev  ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่า ธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง ๆ  การค้นพบสมบัตินีÊ เมเดเลเอฟจึงตัÊงเป็นกฎเรียกว่า “กฎพีริออดิก” โดยได้เสนอความคิดนีÊในปี พ.ศ. 2412 ก่อนทÉีไมเออร์จะเสนอผลงานเพียงหนึÉงปี  เพÉือเป็นเกียรติแก่เมเดเลเอฟ จึงเรียกตารางนีÊว่า ตารางพีริออดิกของเมเดเลเอฟ
  • 30.  เกณฑ์ทีÉสำคัญทีÉเมนเดเลเอฟใช้คือ  จัดธาตุทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกันทÉีปรากฏซÊำกันเป็นช่วง ๆ ให้อยใู่นหมู่หรือในแนวตัÊงเดียวกัน  และพยายามเรียงลำดับมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก  ในกรณีทีÉเรียงตามมวลอะตอมแล้วสมบัติของธาตุไม่สอดคล้องกัน ก็พยายามจัดให้เข้าหมู่โดยปล่อยให้ช่อง ว่างเว้นไว้ในตาราง  เมนเดเลเอฟคิดว่า ช่องว่างเหล่านัÊนน่าจะเป็นตำแหน่งของธาตุซึÉงยังไม่มีการค้นพบในขณะนัÊน จึงได้ทำนายสมบัติของธาตุทÉียังไม่มีการค้นพบไว้ 3 ธาตุ โดยให้ชÉือว่า เอคา–โบรอน , เอคา–อะลูมินัม , เอ คา–ซิลิคอน ซึÉงในเวลาต่อมาได้มีผู้ค้นพบธาตุทÉีเมเดเลเอฟได้ทำนายไว้ ซึÉงก็คือธาตุสแกนเดียม (Sc) แกลเลียม (Ga) และเจอร์มเเนียม (Ge) ตามลำดับ ตารางเปรียบเทียบสมบัติของเอทา-ซิลิคอน กับ เจอร์เมเนียม สมบัติ เอคา-ซิลิคิน ทำนายเมืÉอ พ.ศ. ŚŜřŜ เจอร์เมเนียม ทำนายเมืÉอ พ.ศ. ŚŜŚš มวลอะตอม 72 72.6 ความหนาแน่น (g/cm3) 5.5 5.47 สี เทาเข้ม เทาขาว ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm3) EsO2 = 4.7 GeO2 = 4.7 ความหนาแน่นของคลอไรด์(g/cm3) EsCl4 = 1.9 GeCl4 = 1.89 จุดเดือดสารประกอบของคลอไรด์ < 100 oC 86 oC  ในการจัดตารางธาตุนอกจากจะใช้มวลอะตอมแล้ว ยังใช้สมบัติทางเคมีและทางกายภาพของสารประกอบ อืÉน ๆ นอกเหนือจากสารประกอบคลอไรด์ และออกไซด์มาประกอบการพิจารณาด้วย  อย่างไรก็ตามเมนเดเลเอฟไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดจึงต้องจัดเรียงธาตุตามมวลอะตอม เนืÉองจากสมัย นัÊนนักวิทยาศาสตร์ยังศึกษาโครงสร้างของอะตอมและไอโซโทปได้ไม่ ชัดเจน รูปแสดง ตารางธาตุของเมนเดเลเยฟ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 30
  • 31.  นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาเกิดแนวความคิดว่า ตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุไม่น่าจะขึÊนอยกูั่บมวลอะตอมของ ธาตุ แต่น่าจะขึÊนอยกูั่บสมบัติอÉืนทÉีมีความสัมพันธ์กับมวลอะตอม  เฮนรี โมสลีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอให้จัดธาตุเรียงตามเลขอะตอม เนÉืองจากสมบัติต่างๆ ของธาตุ มีความสัมพันธ์กับประจุบวกในนิวเคลียสหรือเลขอะตอมมากกว่ามวลอะตอม  ตารางธาตุในปัจจุบันจึงได้จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปมากซึÉงสอดคล้อง กับกฎพิริออดิกทÉีได้กล่าว มาแล้ว 4) ตารางธาตุของเฮนรี โมสลีย์  เฮนรี โมสลีย์ (Henry Moseley) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้แก้ไขตารางธาตุของเมนเดเลเอฟให้ถูกต้องขึÊน โดยพบว่าเลขอะตอม หรือจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุ มีความสัมพันธ์กับสมบัติของธาตุมากกว่ามวล อะตอม  ทำให้สอดคล้องกับกฎพีริออดิกมากกว่า จึงสามารถสร้างตารางธาตุได้โดยไม่ต้องสลับทÉีธาตุบางธาตุเหมือนกรณี การจัดเรียงตามมวลอะตอม  ประมาณปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) โมสลีย์จึงเสนอตารางธาตุใหม่  โดยเรียงตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก  และจัดธาตุทีÉมีสมบัติคล้ายคลึงกันให้อยู่ในหมู่เดียวกัน  และกำหนดกฎตารางธาตุขึÊนใหม่เป็น “สมบัติต่าง ๆ ของธาตุในตารางธาตุขึÊนอยกูั่บเลขอะตอมของธาตุ” 5) ตารางธาตุในปัจจุบัน  เนืÉองจากปัจจุบันนักเคมีพบว่า การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุมีส่วนสัมพันธ์กับสมบัติต่าง ๆ ของ ธาตุ  กล่าวคือ ถ้าเรียงลำดับธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก จะพบว่าธาตุทÉีมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ตาม ลักษณะของการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุนัÊน  ดังนัÊนในปัจจุบันจึงจัดตารางธาตุโดยเรียงตามเลขอะตอมจากน้อยไปมาก ดังรูป รูปแสดงตารางธาตุในปัจจุบัน โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 31