SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
เรือง : ศาสนาเชน
ความทุกข์เกิดขึนมาอย่างไรในศาสนาเชน
          สอบถามเรือง: จากคุณ สมชาย IP : 202.12.73.10
                   เมือวันที 12 มกราคม 2547 เวลา 19:35:28

ศาสนาเชน ศาสดา มหาวีระ หรือวรธมานะ แนวหลักการเกิด
ทุกข์อันทีจริงคล ้ายพุทธ แต่วธดับทุกข์ของเขานันต่างกัน เขา
                               ิ ี
เน ้นไปทางด ้านทรมานตนตามแบบฉบับ อินเดียเลย นุ่งลมห่ม
ฟ้ า
แถมให ้อีกนิดน่ะ
ในพุทธประวัตนันผมได ้อ่านเรืองพระเทวทัตทําให ้รู ้ว่าเขาคล ้าย
                ิ                         ิ
กับพระมหาวีระเป็ นอย่างมาก และเชนก็เกิดในสมัยเดียวกับพุทธ
พระเทวทัตเป็ นเชือking เช่นเดียวกับมหาวีระ และพยามปฏิบัต ิ
             ิ
ให ้เคร่งกว่าพุทธเจ ้า เทวทัตจงมีสาวกมากมาย แต่หลังจากที
                             ิ ึ
ตายพุทธประวัตก็ไม่ได ้กล่าวถึงสาวกเทวทัตเลย ผมจึงคิดว่า
                  ิ                         ิ
มหาวีระ กับเทวทัตอาจเป็ นคนเดียวกัน
                     ิ

หากสนใจเรืองศาสนาเปรียบเทียบ วิถของเชน ให ้หาหนังสือ
                                     ี
ของศ.เสถียร พันธรังษี อ่านครับผมรู ้สึกว่าดีกว่าหลายๆท่าน
               คําตอบ: จากคุณ st.carlos IP : 203.113.81.9
                   เมือวันที 12 มกราคม 2547 เวลา 23:49:27

ในฐานะทีเคยเรียนเกียวกับพระพุทธศาสนามา ขอแสดงความ
คิดเห็นว่าตามหลักฐานทีปรากฏ
เทวทัตต์ กับ ศาสดามหาวีระ เป็ นคนละคนกัน เทวทัตต์นันตาม
ประวัต ิ เป็ นเชือสายกษั ตริยในวงศ์ "โกลิยะ" เป็ นพระภาดา
                             ์
(พีชาย) ของยโสธรา ตายก่อนพระพุทธเจ ้าปรินพพาน     ิ
ศาสนาเชน ซึงมีศาสดามหาวีระเป็ นผู ้ให ้กําเนิด ถือหลักเดียวกัน
กับ "อัตตกิลมถานุโยค" หรือการทรมานตนให ้ได ้รับความ
ลําบาก โดยวิธตาง ๆ กัน ไม่มเครืองปกปิ ด หรือเครืองนุ่งหุม ซึง
                  ี ่          ี                          ่
ในพระพุทธศาสนาสอนว่า หลักการทรมานตน (อัตตกิลมถานุ
โยค) และ"กามสุขัลลิกายุโยค" (การประกอบตนให ้มัวเมาอยู่
กับกาม หรือเสพกามมีประการต่าง ๆ) เป็ นหนทางทีควร
หลีกเลียง เพราะตึงและหย่อนเกินไป ควรใช ้หลักปฏิบัตแห่ง   ิ
ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) นันก็คอ มรรคมีองค์ 8 มี
                                          ื
สั มมาทิฏฐิ (ความเห็นทีถูกต ้อง/ความเห็นชอบ) เป็ นต ้น และมี
สั มมาสมาธิ (ความตังใจมัน) เป็ นทีสุด
ส่วนคําถามทีว่า "ความทุกข์เกิดขึนมาอย่างไรในศาสนาเชน"
ขอแสดงความคิดเห็นว่า เพราะคําสอนของศาสนาเชน เน ้นเรือง
ของการยึดมันถือมัน (อุปาทาน) เคร่งครัดเกินไป ซึงคําสอน
แตกต่างจากศาสนาพุทธทีว่า ศาสนาพุทธให ้ใช ้หลักปฏิบัตของ     ิ
ทางสายกลาง
... เหมือนกับสายพิณทีตึงเกินไป ... มันก็ขาด
... หย่อยเกินไป ... ก็ฟังแล ้วไม่ไพเราะ
... สายทีตังให ้พอดี ... ฟั งแล ้วก็รนโสตประสาท ฟั งกีครัง ๆ ก็
                                     ื
ไพเราะ
ถูกไม่ถก ขอท่านผู ้รู ้อธิบายให ้ความกระจ่างด ้วยครับผม
        ู
                        คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.10
                          เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 1:06:44

ขอถามสั กนิดนะคะ คือถ ้าทํากรรม หรือทําชัว เพียงแค่สํ านึกผิด
ก็สามารถลบล ้างความผิด และได ้บรรลุเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้า
เลยหรือคะ และอีกข ้อหนึง คือเท่าทีอ่านหนังสือมา เซน เป็ น
การเน ้นด ้านจิตใจไม่ใช่หรือ ช่วยตอบข ้อสงสั ยให ้กับคนไม่คอยรู ้
                                                           ่
เรืองด ้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ
                    คําตอบ: จากคุณ pong IP : 202.183.222.7
                      เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 10:26:43

ขอตอบ คุณ pong IP : 202.183.222.7

**
ขอถามสั กนิดนะคะ คือถ ้าทํากรรม หรือทําชัว เพียงแค่สํ านึกผิด
ก็สามารถลบล ้างความผิด และได ้บรรลุเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้า
เลยหรือคะ


---พระเทวทัต เขาได ้บําเพ็ญบารมีมามาก มีทังดีและชัว หลาย
ชาติผานมาแล ้ว และก่อนทีจะได ้บรรลุเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้า
       ่
ก็ต ้องเกิดอีกหลายชาติ (ซึงขณะนีอยูในนรก 2,500 กว่าปี ลวง
                                   ่                   ่
มาแล ้ว ตังแต่ธรณีสบสมัยพุทธกาล)
                   ู

และอีกข ้อหนึง คือเท่าทีอ่านหนังสือมา เซน เป็ นการเน ้นด ้าน
จิตใจไม่ใช่หรือ ช่วยตอบข ้อสงสั ยให ้กับคนไม่คอยรู ้เรืองด ้วยนะ
                                              ่
คะ ขอบคุณค่ะ



--เรืองศาสนาเชน (ความจริง เราเรียกว่าศาสนากันเกล่อ ก็ไม่
ผิดเพราะไม่มใครให ้นิยามคําว่าศาสนาเอาไว ้)
              ี
เชน เขาว่าอย่างไร ต ้องไปดูในสมัยพุทธกาล สาวก รุนหลัง
                                                  ่
ต่างก็คดค ้นอะไรใหม่ ๆ เพิมขึนมากมาย
          ิ
ไม่มใครบอกได ้ แม ้สาวกก็เถียงกันมานานแล ้ว ว่าศาสดาของ
      ี
ตนสอนอย่างไร
บางอย่างก็เอาจากศาสนาพุทธ หลักธรรมของศาสนาพุทธ มี
ศาสนาอืนเอาไปเป็ นของตนเอง
คนทีเรียนจบเปรียญ 9 ถูกซือตัวไปแปลพระไตรปิ ฎกให ้ศาสนา
อืน
ผมก็ยนดี แม ้ว่าจะพุทธแบบครึง ๆ กลาง ๆ มันก็เสือมลง ๆ ๆ ๆ
        ิ
ไปเรือย ๆ ๆ ๆ
ศาสนาพุทธอยูได ้ 5,000 ปี
                ่
****
                  คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133
                     เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 11:52:28
ความชัวของพระเทวทัตทีได ้กระทํา มีหลายอย่างเท่าทีจําได ้
บ ้าง
(เฉพาะทีมุงจะปลงพระชนม์พระพุทธเจ ้า) เช่น
             ่
1. ปล่อยช ้างตกมัน (จําชือไม่ได ้ ว่า ชือ ฮาฬาคีร ี หรือเปล่าไม่
แน่ใจ)
ทุกคนคงเคยเห็นรูปตามผนังโบสถ์ พระพุทธเจ ้าโปรดช ้างที
หมอบกราบ อย่างช ้าง
2. กลิงหินตกจากภูเขา หมายให ้หล่นใส่พระพุทธองค์ จนทําให ้
พระพุทธเจ ้า ถึง ห ้อพระโลหิต (เป็ นกรรมหนักอย่างหนึง ทีทํา
ได ้เพียงคนเดียว ไม่มใครทําได ้อีกแล ้ว)
                       ี
3.ในสมัยพุทธกาล เมือครังพระเทวทัตยังมีชวตอยู่ พระเทวทัตมี
                                             ี ิ
ความคิดทีจะลอบสั งหารพระพุทธองค์เพือทีตนจะได ้สถาปนา
ตัวเองเป็ นพระพุทธเจ ้าแทน ด ้วยการวางแผนทีแยบยลมาก คือ
ทําการคัดเลือกนายขมังธนูฝีมอเยียมจํานวน 31 คน (จากนาย
                                ื
ขมังธนู 500 คน)โดยได ้เลือกคนทียิงแม่นทีสุด และ ใจ
โหดเหียมทีสุด ให ้เป็ นผู ้ลงมือสั งหารพระพุทธองค์ ใน
ขณะเดียวกันก็แอบสั งให ้นายขมังธนูอก 2 คนคอยดักสั งหาร
                                         ี
นายขมังธนูคนแรกเมือลงมือสํ าเร็จ จากนันก็ไปแอบสั งให ้นาย
ขมังธนูอก 4 คนให ้คอยดักสั งหารนายขมังธนูทัง 2 คนอีกทอด
          ี
หนึง ทอดต่อไปก็สั งให ้นายขมังธนูอก 8 คนคอยดักสั งหารนาย
                                       ี
ขมังธนู 4 คน มีการฆ่าตัดตอนเช่นนีเป็ นทอด ๆ จนถึงขัน
สุดท ้าย คือสั งให ้นายขมังธนูถง 16 คน คอยดักสั งหารนายขมัง
                                  ึ
ธนู 8 คน สรุป คือมีการสั งฆ่าตัดตอนถึง 4 ชัน ทังนีเพือพระ
เทวทัตต ้องการจะปกปิ ดความชัวของตน มิให ้ใครรู ้เห็นนันเอง
เดชะบุญด ้วยพระพุทธานุภาพ นายขมังธนูคนแรก ขณะทีลงมือ
สั งหารเกิดอาการชะงักงัน ไม่สามารถยิงศรทําร ้ายพระพุทธองค์
ได ้ ทําให ้นายขมังธนูเกิดความหวาดกลัวเป็ นอันมาก แต่ด ้วย
พระมหากรุณาพระพุทธองค์ได ้ทรงสนทนาแนะนํ าให ้ข ้อคิดแก่
นายขมังธนูผู ้นันด ้วยวาจาอันไพเราะ จนทําให ้นายขมังธนูผู ้นัน
เกิดความสํ านึก และ ซาบซึงใจจนนํ าตาคลอ ทิงอาวุธ ก ้มลง
กราบกล่าวคําขอขมาพระพุทธองค์ถง 3 ครัง พระพุทธองค์ทรง
                                     ึ
ให ้อภัยด ้วยนํ าพระทัยทีเมตตา และเมือพระพุทธองค์ทรงเห็นว่า
นายขมังธนูผู ้นันมีจตใจดีงาม พร ้อมทีจะรับฟั งธรรมอันลึกซึง
                        ิ
แล ้ว พระพุทธองค์จงทรงแสดงธรรมแก่นายขมังธนูจนได ้บรรลุ
                          ึ
โสดาบัน (อริยบุคคลชันต ้น ผู ้ควรแก่การกราบไหว ้บูชา) และ
ก่อนทีนายขมังธนจะ◌ูทลลากลับ พระพุทธองค์ทรงรับสั งมิให ้
                            ู
นายขมังธนูเดินทางกลับตามเส ้นทางทีพระเทวทัตสั ง (เพราะมี
มือสั งหารรออยู) แต่ให ้กลับไปเส ้นทางอืน นายขมังธนู 2 คนที
                  ่
รอฆ่าตัดตอน รอเหยือเป็ นเวลานาน ไม่เห็นมาสั กที จึงได ้เดิน
สวนทางมาดู และ ได ้พบกับพระพุทธองค์ พระศาสดาได ้ทรง
แสดงธรรมจนทังคูได ้บรรลุโสดาบัน และ ก่อนทีทังคูจะทูลลา
                      ่                             ่
กลับพระพุทธองค์ได ้ทรงแนะให ้ทังคูเดินทางกลับไปเส ้นทาง
                                       ่
อืนเช่นเดียวกัน (เพือจะได ้ไม่ถกฆ่าตัดตอนจากนายขมังธนู 4
                                ู
คน ) ในทีสุดแผนการณ์อันเลวร ้ายของพระเทวทัตได ้ล ้มเหลว
ลงอย่างสินเชิง บรรดานายขมังธนูทกคนทีทราบข่าว ต่างดีใจที
                                   ุ
ตนรอดตายจากแผนการณ์อันโหดเหียมนี ด ้วยความซาบซึงใน
พระมหากรุณาธิคณ จึงพร ้อมใจพากันออกบวชเป็ นพระภิกษุ
                    ุ
และบรรลุเป็ นพระอรหันต์กันทุกรูป สรุป คือ พระพุทธเจ ้าของ
เราสามารถช่วยให ้คนชัว 31 คน ให ้กลายเป็ นคนดี และ รอด
ตายหมดทุกคน เอวัง ก็มด ้วยประการะฉะนีแล.....
                              ี

ผมนํ ามาจาก
http://www.thaijustice.com/webboard.asp?sub=0&id=86383
                  คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133
                     เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 16:20:40

ผมแค่เปรียบเทียบ ผมก็ไม่ยนยันน่ะแต่ทแสดงให ้เห็นนันเป็ น
                           ื          ี
เพียงความคิดผมคนเดียว ว่าเป็ นคนเดียวดับเทวทัต ิ แต่คณรอง
                                                     ุ
คิดดูเชนเกิดเวลาเดียวกับพุทธ แต่ทําไมไม่กล่าวถึงในไตรปิ ฏก
                คําตอบ: จากคุณ st.carlos IP : 203.113.81.9
                     เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 3:20:14
คุณ อริน กลับมาแล ้วหรือคะ ขอต ้อนรับค ้วยความยินดี และดีใจ
       มากด ้วยค่ะ
                        คําตอบ: จากคุณ วรรณ IP : 203.113.81.9
                            เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 5:58:16

เรืองนีเคยพูดกันแล ้วในกระทู ้

คุณ สมชาย IP : 202.12.73.10 ก็ถามในกระทู ้ด ้วย
เป็ นคนแปลก ๆ อยูนะ
                 ่

http://www.stou.ac.th/Thai/Schools/Slw/Webboard/Question.asp?GID=4231



มีคนเคยแสดงความเห็นในกระทู ้ทีนีแหละว่า ศาสนาเชน เป็ นนิกายหนึงของ
ศาสนาพุทธ ทีจริงไม่ใช่นกายหนึงของพุทธแน่นอนผมมันใจตังแต่ตอนนันแล ้ว
                        ิ
ตอนนันผมไม่มหลักฐาน
                ี
แต่ตอนนีมีแล ้ว เพราะในพระไตรปิ ฎกเขียนไว ้ชัดเจนว่า
ศาสดาของศาสนาเชน คือท่านนิครนถนาฏบุตร
ได ้ดับขันธ์(คงไม่ปรินพพาน) แล ้วบรรดาลูกศิษย์มปัญหาถกเถียงกันเรืองคํา
                      ิ                         ี
สอนว่าศาสดาของตนสอนว่าอย่างไรแน่ เพราะไม่ได ้รวบรวมเอาไว ้ พระสารี
บุตรจึงกราบทูลพระพุทธเจ ้า ................
อยูใน (ที.ปว.11/108/139)
   ่
***อยากถามคุณอรินว่า (ที.ปว.11/108/139) คือพระไตรปิ ฎก
เล่มใด จะไปหาอ่านมา เพราะในเน็ ตเขาลบทิงหมดแล ้ว
สอบถามเรือง: จากคุณ ณั ฐ IP : 203.154.169.133
เมือวันที 5 กันยายน 2546 เวลา 11:37:51
ชือย่อของนิกาย (ที.ปว.) ทีคุณณัฐถามถึงนี หมายถึงในส่วนของพระสูตร (ทีฆ
นิกาย = สูตรทียาว ซึงทังหมดมีอยู่ 5 คือ ที, ม, สํ, อํ, ขุ = ทัง 5 นีเป็ นชือย่อ)
อยูในพระไตรปิ ฎกเล่มที 11 พระสุตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ครับ
   ่
(11/108/139) 11 ก็หมายถึงเล่มที 11 หน ้า 108 และหน ้า 139) ส่วนรายละเอียด
ดูได ้ที http://www.geocities.com/Athens/Thebes/3654/sut.html
                                  คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133
                                     เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 9:28:15

       ข ้อมูล ขอยืนยันว่า เทวทัตต์ กับ ศาสดามหาวีระ เป็ นคนละคน
       กัน และไม่มข ้อมูลทีไหนกล่าวไว ้ว่า "เทวทัตต์ปฎิบัตสดโต่ง"
                    ี                                       ิ ุ
       หรือเคร่งอย่างศาสนาของศาสนามหาวีระ (เชน) เทวทัตต์ได ้
       ปฏิบัตได ้แค่ อภิญญา 6 แสดงอิทธิฤทธิได ้ เทวทัตต์อยากเป็ น
              ิ
       ใหญ่ มักใหญ่ใฝ่ สูง อยากปกครองสงฆ์แทนพระพุทธเจ ้า แต่ใน
       ทีสุด อภิญญา 6 อย่าง ทีเทวท ้ตต์สํ าเร็จ ก็เสือมไป แต่คณ ุ
       ความดีทเทวทัตต์ทําไว ้ก็คอ ก่อนตาย ได ้สํ านึกผิดต่อ
                 ี                  ื
       พระพุทธเจ ้า และได ้ถวายกระดูกคางเป็ นพุทธบูชา (บูชาแก่
       พระพุทธเจ ้า) พระพุทธเจ ้าทํานายว่า ในศาสนาของพระศรีอริย
       เมตไตร เทวทัตต์จักเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้ามีพระนามว่า ...
       (ขออภัยจําชือไม่ได ้) หากมีคําถามว่า ทําไม เทวทัตต์ทําชัวไว ้
       กับพระพุทธเจ ้ามากมายนานานับประการ ถึงจะได ้บรรลุเป็ นพระ
       ปั จเจกพุทธเจ ้า นันก็เพราะความสํ านึกผิดในโทษทีทําไว ้กับ
       พระพุทธเจ ้า ส่วนท่านทีสงสั ยว่า เทวทัตต์ทํากรรม ทําชัวอะไร
       ไว ้กับพระพุทธเจ ้าบ ้าง? ก็สอบถาม หรือหาข ้อมูลได ้จาก
       ตํารับตําราทีวัดใกล ้บ ้านท่านนะครับ
                              คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.76
                                เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 9:31:50

       จากข ้อความของคุณณั ฐ "1. ปล่อยช ้างตกมัน (จําชือไม่ได ้ ว่า
       ชือ ฮาฬาคีร ี หรือเปล่าไม่แน่ใจ)" ชือช ้างออกจะมีชอเหมือน
                                                         ื
       ภาษาญีปุ่ นนะครับ (คุณณั ฐมีอารมณ์ขันเหมือนกันนะครับ) ชือ
ช ้าง "นาฬาคีร" ครับผม พระพุทธเจ ้าทรงเอาชนะช ้างได ้
              ี
"เมตตาบารมี"
                     คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.8
                     เมือวันที 14 มกราคม 2547 เวลา 23:29:39
                  เรือง : มีเรืองอยากถาม คุณอริน
มีคนเคยแสดงความเห็นในกระทู ้ทีนีแหละว่า ศาสนาเชน เป็ น
นิกายหนึงของศาสนาพุทธ ทีจริงไม่ใช่นกายหนึงของพุทธ
                                             ิ
แน่นอนผมมันใจตังแต่ตอนนันแล ้ว ตอนนันผมไม่มหลักฐาน      ี
แต่ตอนนีมีแล ้ว เพราะในพระไตรปิ ฎกเขียนไว ้ชัดเจนว่า
ศาสดาของศาสนาเชน คือท่านนิครนถนาฏบุตร
ได ้ดับขันธ์(คงไม่ปรินพพาน) แล ้วบรรดาลูกศิษย์มปัญหา
                          ิ                           ี
ถกเถียงกันเรืองคําสอนว่าศาสดาของตนสอนว่าอย่างไรแน่
เพราะไม่ได ้รวบรวมเอาไว ้ พระสารีบตรจึงกราบทูลพระพุทธเจ ้า
                                           ุ
................
อยูใน (ที.ปว.11/108/139)
     ่
***อยากถามคุณอรินว่า (ที.ปว.11/108/139) คือพระไตรปิ ฎก
เล่มใด จะไปหาอ่านมา เพราะในเน็ ตเขาลบทิงหมดแล ้ว
                 สอบถามเรือง: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133
                            เมือวันที 5 กันยายน 2546 เวลา 11:37:51

ขอบคุณ คุณอรินมากครับ ผู ้รู ้ตัวจริง
               คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133
                  เมือวันที 10 กันยายน 2546 เวลา 8:05:10

คววมทุกข์เกิดมาอย่างไรในศาสนาเชน
                คําตอบ: จากคุณ สมชาย IP : 202.12.73.10
                   เมือวันที 12 มกราคม 2547 เวลา 19:32:50

ชือย่อของนิกาย (ที.ปว.) ทีคุณณั ฐถามถึงนี หมายถึงในส่วน
ของพระสูตร (ทีฆนิกาย = สูตรทียาว ซึงทังหมดมีอยู่ 5 คือ ที,
ม, สํ, อํ, ขุ = ทัง 5 นีเป็ นชือย่อ) อยูในพระไตรปิ ฎกเล่มที 11
                                        ่
พระสุตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ครับ (11/108/139) 11 ก็
หมายถึงเล่มที 11 หน ้า 108 และหน ้า 139) ส่วนรายละเอียดดู
ได ้ที http://www.geocities.com/Athens/Thebes/3654/sut.html
                       คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.14
                            เมือวันที 6 กันยายน 2546 เวลา 0:21:40

ศาสนาเชน เป็ นลัทธิหนึง ซึงมีถอกําเนิดเกิดในยุคสมัยเดียวกัน
                              ื
กับศาสนาพุทธ นักบวชในลัทธิเป็ นพวกเปลือยกาย (อเจลกะ)
หรือทรมานตนด ้วยวิธการต่าง ๆ ดูพระสูตรทีกล่าวถึง
                    ี
                  คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.14
                      เมือวันที 6 กันยายน 2546 เวลา 0:31:57

หาก link ดูพระสูตรทีกล่าวถึง เสีย หรือ link ไม่ได ้ ก็ให ้คลิก
ขวาตรง link เลือก properties แล ้วก็ทําการ copy ที address
(URL) แล ้วไปวางตรงช่อง address ข ้างบน คลิก Go หรือ Enter
ก็เจอครับ (ไม่รู ้ว่าผมสอนหนังสือสังฆราชหรือเปล่านี ?) คุณณั ฐ
search เก่งอยูแล ้ว คงไม่เกินความสามารถหรอกครับ
              ่
                           "อาจารย์ ชุนเรียวนัน
                            ใจไม่ ได้ ขนหินด้ วย
                       เพราะปล่ อยวาง "หิน" ทุกชนิด
                                ใจถึงพักผ่ อน
                      สามารถช่ วยกายให้ ทํางานได้ ทังวัน"



                           เว้นวรรคชีวต
                                      ิ


                                                 พระไพศาล วิสาโล
การปลีกตัวมาอยู่ทนี (วัดป่ า)ถือว่าเป็ นการเว้นวรรคให้ แก่ ชีวต ชีวตต้องมี
                                ี                                          ิ ิ
การเว้นวรรคบ้ าง เช่ นเดียวกับลมหายใจของเรา มีหายใจเข้ าแล้ วก็ต้องมีหายใจออก เรา
ไม่ สามารถทีจะหายใจเข้ าได้ ตลอด ต้องเว้นจังหวะแล้ วจึงหายใจออก เราไม่ สามารถ
หายใจออกหายใจเข้ าอย่ างใดอย่ างหนึงไปได้ ตลอด จะต้องมีการเปลียนสลับกันไป การ
ทํางานก็เช่ นเดียวกัน ทํางานแล้ วก็ต้องรู้จกหยุดบ้ าง ธรรมชาติให้ เวลากลางวันคู่กับ
                                           ั
กลางคืน กลางวันทํางานเต็มที พอถึงตอนกลางคืนก็ต้องพักผ่อน

               ขอให้ สังเกตดู อะไรก็ตามเป็ นไปได้ ดีก็เพราะมีการเว้นจังหวะหรือมีช่องว่าง
ทีเหมาะสม หนังสื อทีอ่ านง่าย ก็เพราะแต่ละประโยคมีการเว้นวรรคอย่ างถูกจังหวะ ถ้ า
ตัวหนังสื อติดกันเป็ นพรืด ไม่ มีเว้นวรรคเลย จะน่ าอ่ านไหม ใครอ่ านก็ต้องรู้สึกงงงวย
ไม่ อยากอ่ าน ศิลปะอย่ างหนึงของเขียนหนังสื อให้ น่าอ่ านก็คอรู้จกเว้นช่ องว่างระหว่าง
                                                              ื ั
คํา ระหว่างประโยค และระหว่างย่ อหน้ า ทํานองเดียวกันดนตรีทไพเราะ ไม่ ใช่ เพราะมี
                                                                     ี
เสี ยงดังเท่ านัน แต่เพราะมีช่วงทีเงียบแฝงอยู่ด้วย ถ้ ากลอง กีต้าร์ ไวโอลินส่ งเสี ยงไม่ หยุด
ไม่ รู้จกเว้นจังหวะเสี ยบ้ าง เพลงนันก็คงไม่ เพราะ
        ั

              สํ าหรับคนเรา การเว้นวรรคหรือเติมช่ องว่างให้ กับชีวตอย่ างการมาปฏิบัติ
                                                                    ิ
ธรรมนีจะเรียกว่าเป็ นการพักผ่อนก็ได้ หรือจะถือว่าเป็ น การชาร์ จแบตเตอรีก็ได้ ชาร์ จ
แบตเตอรีเพือจะได้ มีพลังสํ าหรับการทํางานในโอกาสต่อไป ทีจริงมันไม่สามารถแยกกัน
ได้ ระหว่างการหลีกเร้ นเพือพักผ่อน กับการทํางาน สองอย่ างนีเสริมกันทํางานอย่ างเดียว
โดยไม่ ได้ พกเลย ก็ทําไปได้ ไม่ ตลอด หรือว่าเอาแต่ใช้ ชีวตอย่ างเดียว โดยไม่ ได้ เติมอะไร
            ั                                            ิ
ให้ กับชีวตเลย ในทีสุ ดก็หมดแรง มีคนจํานวนไม่น้อยเลยทีไม่ ค่อยเห็นความสํ าคัญของ
          ิ
การพักหรือการหยุดเท่ าไหร่ หยุดเมือไหร่ ก็รู้สึกว่ากําลังถอยหลัง ปล่ อยให้ คนอืนแซงขึน
หน้ า หรือไม่ ก็กลัวว่าดอกเบียจะโตเอา ๆ พักเมือไหร่ ก็รู้สึกว่าชีวตมันว่างเกินไป ถือว่า
                                                                  ิ
เป็ นความฟุ่ มเฟื อยของชีวต คนเหล่ านีเห็นว่า จะต้องใช้ ชีวตแข่ งกับเวลาถ้ ามีเวลา
                           ิ                                ิ
เหลืออยู่น้อยนิดก็อยากจะเอาไปใช้ ทํางานทําการ หรือหาเงินหาทองให้ ได้มาก ๆ
พูดมาถึงตรงนีทําให้ นึกถึงเรืองของชายคนหนึงทีเลือยไม้ อย่ างเอาเป็ นเอา
ตาย มีเพือนคนหนึงมาเห็นเข้ าก็เลยถามว่าเลือยมานานหรือยัง เขาบอกว่าเลือยมาตังแต่
เช้ าจนนีก็คาแล้ ว เพือนถามว่าเหนือยไหม เขาตอบว่ าเหนือยสิ เพือนถามต่อไปว่าทําไม
            ํ
ไม่ พกล่ ะ เขาก็บอกว่ากําลงวุ่นอยู่กับการเลือยไม้ เพือนเป็ นห่ วง ก็เลยพูดว่าไม่ ลองหยุด
      ั
พักซักหน่ อยเหรอ หายเหนือยแล้ วค่อยมาทํางานต่อ อย่ างน้ อยก็จะได้ เอาตะไบมาลับคม
เลือยให้ มนคมขึน จะช่ วยให้ เลือยได้ เร็วขึน ชายคนนันก็ตอบว่า ไม่ เห็นหรือไงว่า กําลัง
          ั
วุ่นอยู่ ตอนนียังทําอย่ างอืนไม่ได้ ทังนัน ว่าแล้ วก็เลือยหน้ าดําครําเครียดต่อไป

               บางครังคนเราก็เหมือนกับชายคนนี คือเอาแต่เลือยอย่ างเดียวไม่ ยอมหยุด
ทัง ๆ ทีการหยุดพักจะทําให้ มีกลังดีขึน และถ้ ารู้จกหยุดเพือลับคมเลือยให้ คมขึน ก็จะทํา
                                                    ั
ให้ เลือยได้ เร็วขึน ทุ่นทังแรงทุ่นทังเวลา แต่เขาก็ยังไม่ ยอมเลย เหตุผลทีเขาให้ ก็คอกําลัง
                                                                                   ื
วุ่นอยู่กับการเลือย เลยไม่สนใจอะไรทังนัน ไม่ สนใจแม้ กระทังการทําให้ เลือยคมขึน เขา
หาได้ เฉลียวใจไม่ ว่า เพียงแค่เสี ยเวลานิดหน่ อยก็จะทําให้ การเลือยนันเร็วขึนดีขึนและ
เหนือยน้ อยลง เขาไม่ ยอมหยุดเพราะคิดว่าจะทําให้ เสี ยเวลา ลึก ๆ ก็เพราะคิดว่าทําอะไร
มาก แล้ วมันจะดี แต่ทีจริงแล้ วทําน้ อยลง แต่อาจได้ผลดีกว่าก็ได้ ในประสบการณ์ ของ
เรา เราพบบ่ อยไปว่าการทําอะไรให้ ช้าลงกลับทําให้ ได้ ผลดีขึน นักเรียนทีทําข้ อสอบ
ตอบทุกข้ อโดยไม่ ทนคิดถีถ้ วนเพราะกลัวหมดเวลาก่อน บ่ อยครังกลับได้ คะแนนน้ อย
                      ั
กว่าคนทีทําเพียงไม่กีข้ อ แต่คดถีถ้ วนทุกข้ อ และตอบทุกข้ อ
                                ิ

             การทีเรามาปลีกวิเวกอย่ างนีจะเรียกว่าเป็ นการมาลับคมเลือยก็ได้ เราวาง
เลือยเอาไว้ก่อน แล้ วมาลับคมเลือย ก่ อนทีจะเลือยต่อไป การพักผ่อนในตัวมันเองก็เป็ น
การลับคมเลือยอยู่แล้ ว แค่พกผ่อนร่ างกายก็สําคัญไม่ น้อย เพราะว่าร่ างกายชองเราก็คอ
                              ั                                                          ื
ตัวเลือยนันเอง แต่ตอนนีมันบินแล้ ว ทํางานมากมันก็บิน มันไม่ คมแล้ ว เพียงแค่การมา
พักร่ างกายอย่ างเดียวก็จะช่ วยให้ เลือยคมขึน แต่ทีนีเราไม่ ได้ มาพักเพียงแค่กาย เรามา
พักใจด้ วยการฝึ กจิตให้ สงบมีสติมีความมันคง และทําให้ ชีวตมีสมดุล ก็เท่ ากับว่าเลือยถูก
                                                             ิ
ลับให้ คมขึนกว่าเดิม ถ้ าเรากลับไปเลือยต่อเมือไหร่ ก็แน่ ใจได้ ว่าจะเลือยได้ ดีขึนเร็วขึน
แต่ถ้าเราไม่ พกเสี ยเลย อย่ างชายคนนันไม่ พกเสียเลยแทนทีจะทําได้ เร็วก็กลับทําได้ ช้า
              ั                              ั
หรืออาจจะทําไม่ เสร็จเลยก็ได้ เพราะว่าล้ มพับเสี ยก่ อน แทนทีจะเสร็จในตอนคําก็มา
เสร็จวันรุ่งขึนช้ าไปอีกตังหลายชัวโมง เพราะว่าป่ วยเสี ยก่ อน หรือไม่ มือไม้ ก็พองทําต่อ
ไม่ ได้ ยิงอยากจะให้ เสร็จไว ๆ กลับเสร็จช้ า แต่ถ้าเว้ นวรรคให้ ร่างกายและจิตใจได้
พักผ่อนบ้ าง ก็จะทํางานได้ ดี การหยุดพักนันดูเผิน ๆ เหมือนจะทําให้ เสร็จช้ าลง แต่ที
จริงทําให้ เสร็จไวขึน

             คนเรามักไปเน้ นเรืองผลหรือความสํ าเร็จมากไป แต่ลืมต้นทุนทีจะเอาลงไป
ในงานนัน ๆ ผลสํ าเร็จหรือผลงานก็เหมือนกับผลไม้ ผลไม้ ออกมาดีหรือไม่ ต้องอาศัย
ต้นทุนคือต้นไม้ ถ้ าต้นไม้นันเราเอาใจใส่ ดูแล รักษา รดนําพรวนดิน ใส่ ปุ๋ย ต้นไม้ เติบโต
แข็งแรง ก็ย่อมให้ ผลดี ทังดก และหอมหวาน ทํานองเดียวกันกับดอกเบียเงินฝาก จะมาก
หรือน้ อยก็ขึนอยู่กับต้นทุนทีฝาก ถ้ าเงินต้นก้ อนนิดเดียวดอกเบียก็น้อยตามไปด้ วย ถ้ า
สนใจแต่ดอกเบีย อยากได้ ดอกเบียเยอะ ๆแต่ไม่ สนใจต้นทุน ความอยากนันก็เป็ นแค่
ความฝันลม ๆ แล้ ง ๆ แต่ว่าคนจํานวนมากก็ทําอย่ างนันจริง ๆ ก็คอว่าอยากจะให้ งาน
                                                                     ื
ออกมาดี ประสบความสํ าเร็จเต็มที แต่ว่าไม่ ได้ เอาใจใส่ ต้นทุนคือร่ างกายและจิตใจ
ร่ างกายและจิตใจเป็ นต้นทุนสํ าคัญหรือปัจจัยพืนฐานทีจํานําไปสู่ งานทีดีได้ ถ้ าร่ างกาย
อ่ อนแอ จิตใจห่ อเหียว ท้ อแท้ อารมณ์ไม่ ดี ความสํ าเร็จก็เกิดขึนได้ ยาก

               นิทานสอนเด็กบางครังก็มคติเตือนใจเราได้ มาก ถ้ าเราจะลองพิจารณาดู
                                         ี
อย่ างเรืองห่ านออกไข่ เป็ นทองคํา เราเรียน และฟังมาตังแต่เล็ก เรืองมีว่าชายคนหนึงโชค
ดีได้ ห่านมา ห่ านตัวนีออกไข่ มาเป็ นทองคําทุกวัน ๆ เจ้าของดีใจมาก แต่ตอนหลังรู้สึกว่า
ได้ วนละฟองมันน้ อยไป ยากจะได้ มากกว่านัน และก็เชือว่าในตัวห่ านน่ าจะมีไข่ ทีเป็ น
     ั
ทองคําอีกตังเยอะแยะ ถ้ าจะรอให้ มันออกมาวันละฟอง ๆ มันช้ าไป อย่ ากระนันเลยคว้าน
ท้ องเอาไข่ ออกมาดีกว่า ก็เลยฆ่าห่ านตัวนัน ปรากฏว่าไม่ ได้ ไข่ ทองคําแม่แต่ฟองเดียว
ชายคนนันลืมไปว่าถ้ าอยากจะได้ ไข่ ทองคํามาก ๆ ก็ต้องดูแลรักษาตัวห่ านให้ ดี แต่นีกลับ
ไม่ สนใจ มิหนําซําไปฆ่ามันเสี ย ก็เท่ ากับว่าไปฆ่าต้นทุนเสีย จะมีผลงอกงามได้ อย่ างไร

             นิทานเรืองนีนอกจากจะสอนว่า "โลภมากลาภมักหาย" อย่ างทีเราได้ ยินครู
สอนตอนเด็ก ๆ แล้ ว ยังสอนผู้ใหญ่ ด้วยว่า อยากได้ ผล ก็ต้องสนใจทีต้นทุนหรือเหตุ
ปัจจัย ถ้ าอยากได้ ไข่ เยอะ ๆ ก็อย่ าไปใช้ ทางลัด เช่ น คว้านท้ องห่ าน วิธีทีถูกต้องก็คอ ดูแล
                                                                                        ื
ห่ านให้ ดีให้ มนกินอิม นอนนุ่ม มีสุขภาพดี ปลอดจากโรคภัยไข้ เจ็บ แต่ทังนีทังนันก็ต้อง
                ั
ตระหนักด้ วยว่าห่ านก็มีขีดจํากัดในการให้ ไข่ ไม่ ใช่ ว่าวันหนึง ๆ จะให้ กีฟองก็ได้ ตามใจ
เรา

              นีก็เหมือนกับชีวตของเราซึงมีขอบเขตจํากัดในการทํางานวันหนึงร่ างกาย
                               ิ
ของเราทํางานได้ อย่ างมากก็ ๑๘ ชัวโมง ถ้ าไปเร่ งหรือบังคับทํางานมากกว่านัน เช่ น กิน
กาแฟหรือยาบ้ าจะได้ ไม่ ต้องหลับ ไม่ นานก็ต้องล้ มพับ โรครุมเร้ า เท่ ากับเป็ นการทําร้ าย
ร่ างกายของเรา ไม่ ต่างจากชายทีฆ่าห่ านเพือจะได้ ไข่ เยอะ ๆ สุ ดท้ ายก็ไม้ได้ อะไรเลย ผลก็
ไม่ ได้ ต้นทุนทีเคยมีก็เสี ยไป

            มีครูบาอาจารย์ หลายท่ านซึงน่ าเสี ยดายว่า หากท่ านได้ พกผ่อนไม่ เร่ งงาน
                                                                    ั
เยอะไป ท่ านก็อาจมีชีวตยืนยาว ครูบาอาจารย์ บางทาน นอกจากจะสอนธรรมแล้ ว ท่ าน
                      ิ
ยังต้องคุมงานด้ านการก่ อสร้ าง คุมรถทีมาทําทาง คุมคนงาตนทีมาสร้ างกุฏิวหาร ท่ าน
                                                                          ิ
อยากให้ งานเสร็จไว ๆ ทันใช้ งาน แต่เนืองจากไม่ คอยได้ พกผ่อน จึงล้ มป่ วยตอนหลังก็
                                                        ั
ลุกลามถึงขึนเป็ นอัมพาต

             อันนีก็เป็ นอุทาหรณ์ ว่าถ้ าหากว่าท่ านไม่ เร่ งงาน ไม่ หักโหมเกินไป ก็ยัง
สามารถทีจะทําอะไรได้ เยอะได้มากกว่าทีท่ านเป็ น นีก็เป็ น ข้ อคิดบทเรียนทีสํ าคัญว่า
คนเราจําเป็ นทีจะต้องดูแลต้นทุนสุ ขภาพดีทังกายและใจ ขณะเดียวกันก็ให้ โอกาส
ร่ างกายกับจิตใจได้ พกผ่อนด้ วย
                       ั

               การพักผ่อนของจิตใจนันอาจจะแตกต่างจากร่ างกายอยู่บ้างร่ างกายนัน
พักผ่อนด้ วยการไม่ ใช้ งานเบา ๆ แต่ จตใจนันสามารถพกผ่อนด้ วยการใช้ งาน เป็ นแต่ว่า
                                         ิ
ไม่ ได้ ใช้ งานด้ วยการคิด ๆๆ อย่ างทีใช้ ในเวลาทํางาน เราผ่อนคลายจิตด้ วยการทําสมาธิ
ภาวนา คือฝึ กจิตให้ มีสติ สมาธิสัมผัสกับความสงบและความสว่างไสวภายในการฝึ กจิต
อย่ านีเรียกว่าเป็ นการใช้ งานจิตได้ อย่ างหนึง แต่ไม่ ทาให้ จตเหนือย ตรงกันข้ ามจิตมีแต่
                                                        ํ ิ
จะเข้ มแข็งขึน เพราะสติ สมาธิ และปัญญานันเป็ นสิ งบํารุงเลียงจิต จิตทีมีสติ สมาธิ
และปัญญาเป็ นจิตทีมีสุขภาพพลานามัยดี
ร่ างกายคนเรานันมีข้อจํากัด นานวันร่ างกายก็เสื อมโทรมหากพ้นจุดหนึงไป
แล้ ว ก็ไม่ มีทางทีจุทําให้ ดีขึนได้ ทําได้ อย่ างมากเพียงแค่ประคับประคองเอาไว้ ไม่ ให้ มัน
ทรุดเร็วเกินไป กล้ ามเนือมีแต่จะเสื อมลงไป ๆ ส่ วนเซลต่างๆ ก็มีแต่จะตายลง ไม่ สร้ าง
ขึนใหม่ ก็ไม่ เท่ าของเก่ า แต่ว่าจิตใจนันถ้ าใช้ เป็ นใช้ ถูก ยิงใช้ ก็ยิงดีขึน โดยเฉพาะสติและ
สมาธิ ถ้ าเราใช้ อยู่บ่อย ๆ สติและสมาธิก็จะว่องไว และเข้ มแข็งมันคงขึน การมาปฏิบัติ
ของเราจะว่ าไปมันจึงไม่ ได้ เป็ นแค่การพักใจ แต่ยังเป็ นการพัฒนาคุณภาพและความสาม
รถของจิตอีกด้ วย เป็ นการพัฒนาโดยไม่ทําให้ เหนือยจิต ผิดกับการพัฒนาร่ างกาย มักทํา
ให้ เหนือยกาย เพราะต้องออกแรงใช้ กล้ ามเนือ อย่ างการเล่ นกีฬา หรือเต้นแอโรบิค ทํา
แล้ วร่ างกายเหนือยทังนัน แต่ก็เป็ นของดี แม้ กระนันก็ผดกับการพัฒนาจิตซึงไม่ ทําให้
                                                                 ิ
เหนือยอ่ อน ถ้ าพัฒนาหรือใช้ จตให้ เป็ น
                                    ิ

              แต่ถ้าใช้ จตไม่ เป็ น อาจทําให้ เราเหนือยอ่ อนยิงกว่าเวลาออกกําลังกายหรือ
                         ิ
ออกแรงหนัก ๆ ด้ วยซํา อย่ างทํางานแบกหามทังวัน เช่ น ย้ ายบ้ าน ทําส่ วน หากได้นอน
เต็มที ตืนขึนมาก็สดใส แต่เวลาทํางานทีต้องใช้ ความคิดมาก หรือว่าต้องเกียวข้ องกับ
ผู้คน ต้องกระทบกระทังกับใครต่อใครมากมาย แม้ จะไม่ ได้ ใช้ แรงกายเลย แต่เวลาทํา
อย่ างนันตลอดวัน นอนหลับตืนขึนมาก็ไม่ รู้สึกสดใสหรือสดชืนเท่ าไหร่ เหมือนกับว่า
ร่ างกายไม่ ได้ พกเท่ าไหร่ ทีจริงร่ างกายอาจจะได้ พกแต่ทีไม่ ได้ พกหรือยังพักไม่ เต็มมีคือ
                 ั                                    ั             ั
จิตใจ เพราะตลอดวันทีผ่านมา จิตใจเจอเรืองกระทบกระทังต่าง ๆ มากมาย อีกทังยังถูก
อารมณ์ ต่าง ๆ มากดทับบันทอน รวมถึงความเครียดจากการใช้ ความคิด สิ งเหล่ านีทําให้
จิตเหนือยอ่ อน และความเหนือยอ่อนทางจิตมักจะก่ อผลกระทบรุนแรงกว่าความเหนือย
อ่ อนทางร่ างกายเสี ยอีก การทีอารมณ์ ของคนเราแปรปรวนแค่ชัวโมงเดียว เช่ นเศร้ าโศก
เสี ยใจ อิจฉา เคียดแค้น ก็บันทอนจิตไปมาก

           อย่ าว่าแต่อารมณ์ ฝ่ายลบเลย แม้ แต่อารมณ์ ฝ่ายบวก เช่ น ความดีใจลิวโลดใจ
จากการได้ สนุกสุ ดเหวียง ก็ทําให้ เหนือยใจได้ เหมือนกัน เวลาดูหนังทีตืนเต้นเร้ าใจหรือ
สยองขวัญ ดูจบจะรู้สึกว่าเหนือย เช่ นเดียวกับดูฟุตบอลที ต้องลุ้นกันอย่ างสุ ดขีด เวลา
แค่ชัวโมงครึงก็สามารถทําให้ เราเหนือยได้ แต่เป็ นความเหนือยทีไม่ รู้ตวเพราะความ
                                                                     ั
ตืนเต้นมาบดบัง แต่พอดูจบความตืนเต้นหายไป ก็อาจรู้สึกเหนือย โดยเฉพาะคนที
ผิดหวังกับผลการแข่ งขัน หรือคนทีเชียร์ ฝ่ายแพ้ ส่ วนฝ่ ายชนะ ความดีใจอาจกลบ
ความรู้สึกเหนือยเอาไว้ แต่พอกลับถึงบ้ าน คามดีใจคลายลงไป ทีนีจะเริมรู้สึกเหนือย
เพลียขึนมา

             การเทียวหรือการพักผ่อนของคนสมัยนี ลองสั งเกตดู ไม่ ได้ ช่วยให้ สบายขึน
เลย กลับทําให้ เหนือย เพราะว่ามันเร้ าจิตกระตุ้นใจมากเกินไป เช่ น ใช้ แสงสี วูบวาบ ๆ
และสี ยงสนันในดิสโก้ เธคแม้แต่เทียวป่ า ก็ต้องหาอะไรมาทําให้ สนุกเพือกระตุ้นจิตให้
ลิงโลดไปเทียวแค่เสาร์ อาทิตย์ พอกลับถึงบ้ านก็เพลีย หมดเรียวหมดแรงยิง พอนึกถึง
วันจันทร์ ต้องไปทํางานหรือไปโรงเรียน ก็ยิงละเหียใจเข้ าไปใหญ่ เฝ้ าภาวนาให้ เสร็จ
อาทิตย์ มาถึงเร็ว จะได้ ไป "พักผ่อน" อีก

            จิตใจทีถูกกระตุ้นเร้ าขึนลงตลอดเวลาไม่ เพียงจะเป็ นจิตเหนือยอ่ อนเท่ านัน
หากยังฉุดกายให้ เหนือยอ่อนตามไปด้ วย เพราะอารมณ์ ขึนลงไม่ ว่าบวกหรือลบ ล้ วน
ส่ งผลกระตุ้นการทํางานของหัวใจกล้ ามเนือ และอวัยวะส่ วนอืน ๆ ในทางตรงกันข้ าม
หากเรารู้จกรักษาจิตประคองใจให้ สงบ มันคง เป็ นปกติ โดยมีสติเป็ นเครืองกํากับ จิต
          ั
ของเราจะมีพลัง ใช่ แต่เท่ านัน ยังส่ งผลต่อร่ างกายของเรา อย่ างน้ อย ก็ไม่ ทําให้ ร่างกาย
ของเราเหนือยอ่ อนไปง่าย ๆ

              การมีสติประคองจิตให้ เป็ นปกติและสงบนัน ไม่ จาเป็ นว่าต้องหลีกเร้ นไปอยู่
                                                                 ํ
ทีเงียบ ๆ ห่ างไกลผู้คน หรือไกลจากงานการ ถ้ ารู้จกใช้ สติประคองใจ แม้ อยู่ในทีอึกทึก
                                                   ั
พบปะผู้คนมากมาย หรือทํางานการ จิตใจก็ยังสงบอยู่ได้ เพราะสติช่วยให้ เรารู้จกปล่ อย   ั
วางอารมณ์ ต่าง ๆ ทีมากระทบ ทันทีทีรู้ว่าโกรธ หงุดหงิด ฉุนเฉียว ก็ละวางจากอารมณ์
เหล่ านัน ทันทีทีรู้ว่าใจกําลังกังวลอยู่กับการนัดหมายข้ างหน้ า หรือหมกมุ่นกับความ
ผิดพลาดในอดีต สติก็ดึงจิตกลับมาสู่ การงานทีกําลังทําอยู่ในปัจจุบัน การมีสติจดจ่อยู่
กับงานทีทําล้ วน ไม่ สนใจว่าจะเสร็จเมือไหร่ ใครจะว่าอย่ างไร ก็ไม่ คานึงหรือยิงกว่านัน
                                                                       ํ
คือมีสติจนปล่ อยว่างจากความยึดถือในตัวตน ไม่ ยึดถือว่างานนัน เป็ นงานของฉัน มีแต่
งาน แต่ไม่ มี "ฉัน" ผู้ทํางาน ก็ยิงจะทําให้ ทํางานได้ อย่ างมีความสุ ข อีกทังยังช่ วยให้
ทํางานได้ ดี และต่อเนืองด้ วย

               ชุนเรียว ซูซูกิ เป็ นอาจารย์ เซนผู้หนึงทีมีบทบาทสํ าคัญในการวางรากฐาน
พุทธศาสนาแบบเซนในสหรัฐอเมริกา เพือนของอาตมาเล่ าว่า ตอนทีเริมสร้ างวัดเซนใน
ซานฟรานซิสโกนัน อาจารย์ ซุนเรียวต้องลงมือขนหินด้ วยตัวเอง หินทังใหญ่ และหนัก
แถมต้องขนหินวันละหลาย ๆ ก้ อน ลูกศิษย์ ชาวอเมริกันเห็นก็สงสารอาจารย์ เพราะ
อาจารย์ ตอนนันก็อายุ ๖๐ กว่าแล้ ว แถมยังตัวเล็ก ลูกศิษย์ จงอาสาช่ วยอาจารย์ ขนหิน แต่
                                                             ึ
ขนไปได้ แค่ครึงวันก็หมดแรง ตรงข้ ามกับอาจารย์ กลับขนได้ ทังวัน ลูกศิษย์ จงสงสั ยมา
                                                                             ึ
กว่าทําได้ อย่ างไร ขนาดคนอเมริกันซึงร่ างใหญ่ กว่าแถมหนุ่มกว่ายังทําได้ แค่ครึงวัน พอ
ลูกศิษย์ ไปถามอาจารย์ ก็ได้ คาตอบว่า "ก็ผมพักผ่อนตลอดเวลานี"
                                ํ

               อาจารย์ ชุนเรียวขนหินไป ก็พกผ่อนไปด้ วย มีแต่กายเท่ านันทีขนหิน แต่ใจ
                                              ั
ไม่ ได้ ขนด้ วย ใจนันปล่ อยวางจากงาน ไม่ คาดหวังความสํ าเร็จ และไม่ เร่ งรัดให้ เสร็จไว ๆ
แต่คนทัวไปนัน เวลาขนหินไม่ ได้ ขนด้ วยกายเท่ านัน แต่ใจก็ขนไปกับเขาด้ วย เวลา
เหนือยก็ไม่ ได้ เหนือยแค่กาย แต่ใจก็เหนือยไปด้ วย เพราะคอยเร่ งว่าเมือไหร่ จะเสร็จ ๆ ยิง
เร่ งให้ เสร็จไว ๆ ก็ยิงเสร็จช้ า ก็เลยยิงหงุดหงิดลึกลงไปกว่านัน เวลากายเหนือย ก็ไม่ ได้
คิดว่ากายเท่ านันทีเหนือยแต่ใจยังปรุงแต่งไปอีกว่า "ฉันเหนือย" ใจก็เลยเหนือยตามไป
ด้ วย อาจารย์ ซุนเรียวนัน ใจไม่ ได้ ขนหินด้ วย เพราะปล่อยวาง "หิน" ทุกชนิด ใจจึง
พักผ่อน สามารถช่ วยกายให้ ทํางานได้ ทังวัน

            จิตทีมีคุณภาพระดับนีได้ ต้องมีทังสติและปัญญา ซึงต้องอาศัยการฝึ กปรือ
จิตฝึ กปรือแบบนีได้ ต้องรู้จกเว้นวรรคชีวตปล่ อยวางจากกงานการและภารกิจใน
                            ั           ิ
ชีวตประจําวันบ้ าง หาเวลาให้ แก่ ตวเองมาฝึ กปฏิบัติ
   ิ                              ั

            อาจจะต้องยอมเสี ยเวลาไป ๑ วัน ๑ อาทิตย์ หรือ ๑ เดือนโดยทีไม่ได้ ทํางาน
เลย แต่ว่าเวลาทีเสี ยไปก็ไม่ ได้ เสียเหล่ า เพราะเป็ นการพักผ่อนและพัฒนาจิตไปด้ วยใน
ตัว เมือเอาจิตทีพักผ่อนและพัฒนาแล้ วไปทํางานก็จะทําให้ งานนันดีขึน มีคุณภาพมาก
ขึนและบางครังก็มีปริมาณมากขึนด้ วยอย่ างกรณีอาจารย์ ซุนเรียว อีกทังยังเสร็จได้ เร็ว
ขึนกว่าตอนทีไม่ ได้ พก
                     ั

              ฉะนันเวลาทีเราโหมงานหรือทํางานอย่ างเป็ นบ้ าเป็ นหลังก็ขอให้ นึกถึงคน
เลือยไม้ทีตะบีตะบันเลือยโดยไม่ ยอมหยุดพัก ไม่ ยอมแม้ กระทังหยุดพักลับคมเลือย เรา
อยากจะเป็ นอย่ างนันไหม ถ้ าเราเป็ นอย่ างนันมันก็ไม่ เกิดผลดีทังแก่ ตวเลือย ตัวงานและ
                                                                        ั
ตัวเราเอง ขอให้ ระลึกว่า คนทีเอาแต่เดินจําเอา ๆ เพราะอยากถึงไว ๆ นัน มักจะถึงช้ ากว่า
เพราะเหนือยเสี ยก่ อนหรือขาแพลงเสี ยก่ อน แต่คนทีค่อย ๆ เดิน เดินไปเรือย ๆ ใจไม่ เร่ ง
รีบ ถือว่าพักทุกก้ าวทีเดิน หรือถ้ าเหนือยก็รู้จกพักเอาแรงในทีสุ ดกลับถึงทีหมายได้ เร็ว
                                                ั
กว่า อย่ างทีเขาว่าไปช้ ากลับถึงเร็ว ดีกว่าไปเร็วกลับถึงช้ า ขอให้ เรามาเรียนรู้วธีไปช้ า แต่
                                                                                 ิ
ถึงเร็วกันดีกว่า นีไม่ ใช่ แค่ศิลปะของการเดินทางเท่ านัน แต่เป็ นศิลปะของการดําเนิน
ชีวตเลยทีเดียว.
    ิ

                                                                 จากหนังสือ ชีวิตทีจตใฝ่ หา
                                                                                    ิ
                                                                        พระไพศาล วิสาโล

พุทธศาสนาก็สอนเรืองกรรม ฮินดู นิครนถ์ ก็สอนเรืองกรรม
ทังนัน ก็เข ้าใจว่าคําสอนใน
 ศาสนาเหล่านีเหมือนกัน ทีจริงไม่เหมือนในศาสนาฮินดู
เขามีหลักกรรมเหมือนกัน ทีว่าในตัว
 คนแต่ละคนมีอาตมัน บุคคคลแต่ละคนกระทํากรรม กรรม
เป็ นเครืองปิ ดบังอาตมัน ด ้วยอํานาจ
 กรรมนี บุคคลจึงต ้องเวียนว่ายตายเกิด ไปจนกว่าจะ
บริสทธิหลุดพ ้นอันนี ดูเผินๆก็คล ้ายกับของ
      ุ
 พุทธศาสนา แต่ศาสนาฮินดูสอนหลักกรรมเพือเป็ น
ฐานรองรับการแบ่งแยกวรรณะ ส่วนพระ
 พุทธศาสนาสอนหลักกรรมเพือหักล ้างเรืองวรรณะ หลัก
กรรมของศาสนาทังสอง จะเหมือน
 กันได ้อย่างไรตรงกันแต่ชอเท่านัน ส่วนในศาสนานิครนถ์
                            ื
ก็มความเชือในสาระสํ าคัญของกรรม
    ี
คล ้ายกันอย่างนี พระพุทธเจ ้าเคยตรัสเล่าความเชือเรือง
กรรมของนิครนถ์
"พระพุทธองคตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณพวกหนึงมีวาทะมีทิฐิอยางนี้วาสุขก็
                                                            ่
ดี
 ทุกขก็ดี อยางหนึ่งอยางใดที่ไดเสวย ทั้งหมดนั้นเปนเพราะกรรมที่ตัวไดทําไวในปาง
กอนโดย
 นัยดังนี้ เพราะกรรมเกาหมดสิ้นไปดวยตบะ ไมทํากรรมใหมกจะไมถูก บังคับตอไป
                                                                 ็
เพราะไม
 ถูกบังคับตอไปก็สนกรรม เพราะสินกรรมก็สิ้นทุกขเพราะสิ้นทุกข ก็สนเวทนา เพราะ
                     ิ้              ้                                ิ้
สิ้นเวทนา
 ก็เปนอันสลัดทุกขไดหมดสิ้น ภิกษุทงหลาย พวกนิครนถ มีวาทะอยางนี้ อันนีมาใน
                                       ั้                                     ้
เทวทหสูตร
 พระไตรปฎกเลม ๑๔ มัชฌิมนิกายอุปริปณณาสก พุทธพจนทยกมาอางนี้ แสดงลัทธิ
                                                              ี่
นิครนถ
 หรือศาสดามหาวีระ นิครนถนาฏบุตร ที่เขา เรียกกันทั่วไปวา ศาสนาเชน ศาสนาเชน วา
 ปุพเพกตวาท
เมื่อเขาใจหลักกรรม โดยการเปรียบเทียบกับ ๓ ลัทธิที่วามานี้แลว อาตมภาพเห็นวาก็จะ
แก
 ไขขอคลาดเคลือนสับสนขางตนใหหมดเหมือนกัน คือความคลาดเคลื่อนในแง
                  ่
ความหมาย
 ของศัพทอยางทีเ่ ขาใจกันทัวไปก็ตาม หรือความคลาดเคลื่อนในแงทัศนคติก็ตาม อันนี้
                             ่
แกไข
 ไดหมดเพราะฉะนันเราจะตองทําความเขาใจหลักกรรมของเราใหถูกตอง อยาปนกับ
                        ้
นิครนถ
 ในศาสนาของนิครนถ เขาถือลัทธิกรรมเกา สุขทุกขอะไร เราจะไดรับอยางไรก็เพราะ
กรรม
 เกาทั้งสิน เขาจึงสอนใหทํากรรมเกานันใหหมดไปเสีย แลวไมทํากรรมใหม
           ้                              ้

  ทีนี้ กรรมเกาจะหมดไปไดอยางไร ?
กรรมเกาจะหมดไปไดก็ดวยการบําเพ็ญตบะ พวกนี้ก็เลยบําเพ็ญทุกรกิริยา ทําอัตตกิ
ลมถานุ
 โยคที่พระพุทธองคกเ็ คยทรงไปบําเพ็ญเมื่อกอนตรัสรู มาบําเพ็ญอยูถง ๖ ป จนแน
                                                                     ึ
พระทัยแลว
 ก็ทรงประกาศวา เปนขอปฏิบัติที่ผิดไมไดผลอะไรพวกนิครนถไมตองการทํากรรมใหม
กรรม
 เกาก็หมดไปดวยตบะ ขอใหเทียบหลักนี้ กับคําสอนในทางพุทธศาสนา
ในสฬายตนวรรค สังยุต
 ตนิกาย พระไตรปฎก เลม ๑๘ มีพุทธพจน วาดวยเรืองกรรมไวในแงหนึง พระองคตรัส
                                                ่                      ่
วา
 "เราจะแสดงกรรมเกากรรมใหม ความดับกรรม และทางดับกรรม"
 แลวพระพุทธองคก็ตรัสวา
 "กรรมเกาคืออะไร ?"กรรมที่พุทธศาสนาสอนไวในที่ตางๆ แลวจะเห็นวา มุงหมายให
เกิดการกระทํา และที่พระ
 พุทธเจาปฏิเสธหลักรรมในศาสนาเกา ก็เพราะหลักกรรมในศาสนานัน ไมสงเสริมให
                                                                   ้
เกิดฉันทะ
 ความเพียรพยายามในการกระทํา

  เพราะฉะนัน ถาหลักกรรมของเราไดสอนกันไปแลว ทําใหไมเกิดฉันทะความเพียร
           ้
พยายาม

More Related Content

What's hot

ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์Panda Jing
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 

What's hot (20)

ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 

Viewers also liked

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10Tongsamut vorasan
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔Tongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรTongsamut vorasan
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมีสนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมีTongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานสุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะหวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะTongsamut vorasan
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์Tongsamut vorasan
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งTongsamut vorasan
 

Viewers also liked (18)

45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมีสนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมี
 
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานสุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะหวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะ
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่ง
 

Similar to เรื่องศาสนาเชน

ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตTaweedham Dhamtawee
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar to เรื่องศาสนาเชน (20)

ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

เรื่องศาสนาเชน

  • 1. เรือง : ศาสนาเชน ความทุกข์เกิดขึนมาอย่างไรในศาสนาเชน สอบถามเรือง: จากคุณ สมชาย IP : 202.12.73.10 เมือวันที 12 มกราคม 2547 เวลา 19:35:28 ศาสนาเชน ศาสดา มหาวีระ หรือวรธมานะ แนวหลักการเกิด ทุกข์อันทีจริงคล ้ายพุทธ แต่วธดับทุกข์ของเขานันต่างกัน เขา ิ ี เน ้นไปทางด ้านทรมานตนตามแบบฉบับ อินเดียเลย นุ่งลมห่ม ฟ้ า แถมให ้อีกนิดน่ะ ในพุทธประวัตนันผมได ้อ่านเรืองพระเทวทัตทําให ้รู ้ว่าเขาคล ้าย ิ ิ กับพระมหาวีระเป็ นอย่างมาก และเชนก็เกิดในสมัยเดียวกับพุทธ พระเทวทัตเป็ นเชือking เช่นเดียวกับมหาวีระ และพยามปฏิบัต ิ ิ ให ้เคร่งกว่าพุทธเจ ้า เทวทัตจงมีสาวกมากมาย แต่หลังจากที ิ ึ ตายพุทธประวัตก็ไม่ได ้กล่าวถึงสาวกเทวทัตเลย ผมจึงคิดว่า ิ ิ มหาวีระ กับเทวทัตอาจเป็ นคนเดียวกัน ิ หากสนใจเรืองศาสนาเปรียบเทียบ วิถของเชน ให ้หาหนังสือ ี ของศ.เสถียร พันธรังษี อ่านครับผมรู ้สึกว่าดีกว่าหลายๆท่าน คําตอบ: จากคุณ st.carlos IP : 203.113.81.9 เมือวันที 12 มกราคม 2547 เวลา 23:49:27 ในฐานะทีเคยเรียนเกียวกับพระพุทธศาสนามา ขอแสดงความ คิดเห็นว่าตามหลักฐานทีปรากฏ เทวทัตต์ กับ ศาสดามหาวีระ เป็ นคนละคนกัน เทวทัตต์นันตาม ประวัต ิ เป็ นเชือสายกษั ตริยในวงศ์ "โกลิยะ" เป็ นพระภาดา ์ (พีชาย) ของยโสธรา ตายก่อนพระพุทธเจ ้าปรินพพาน ิ ศาสนาเชน ซึงมีศาสดามหาวีระเป็ นผู ้ให ้กําเนิด ถือหลักเดียวกัน กับ "อัตตกิลมถานุโยค" หรือการทรมานตนให ้ได ้รับความ ลําบาก โดยวิธตาง ๆ กัน ไม่มเครืองปกปิ ด หรือเครืองนุ่งหุม ซึง ี ่ ี ่
  • 2. ในพระพุทธศาสนาสอนว่า หลักการทรมานตน (อัตตกิลมถานุ โยค) และ"กามสุขัลลิกายุโยค" (การประกอบตนให ้มัวเมาอยู่ กับกาม หรือเสพกามมีประการต่าง ๆ) เป็ นหนทางทีควร หลีกเลียง เพราะตึงและหย่อนเกินไป ควรใช ้หลักปฏิบัตแห่ง ิ ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) นันก็คอ มรรคมีองค์ 8 มี ื สั มมาทิฏฐิ (ความเห็นทีถูกต ้อง/ความเห็นชอบ) เป็ นต ้น และมี สั มมาสมาธิ (ความตังใจมัน) เป็ นทีสุด ส่วนคําถามทีว่า "ความทุกข์เกิดขึนมาอย่างไรในศาสนาเชน" ขอแสดงความคิดเห็นว่า เพราะคําสอนของศาสนาเชน เน ้นเรือง ของการยึดมันถือมัน (อุปาทาน) เคร่งครัดเกินไป ซึงคําสอน แตกต่างจากศาสนาพุทธทีว่า ศาสนาพุทธให ้ใช ้หลักปฏิบัตของ ิ ทางสายกลาง ... เหมือนกับสายพิณทีตึงเกินไป ... มันก็ขาด ... หย่อยเกินไป ... ก็ฟังแล ้วไม่ไพเราะ ... สายทีตังให ้พอดี ... ฟั งแล ้วก็รนโสตประสาท ฟั งกีครัง ๆ ก็ ื ไพเราะ ถูกไม่ถก ขอท่านผู ้รู ้อธิบายให ้ความกระจ่างด ้วยครับผม ู คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.10 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 1:06:44 ขอถามสั กนิดนะคะ คือถ ้าทํากรรม หรือทําชัว เพียงแค่สํ านึกผิด ก็สามารถลบล ้างความผิด และได ้บรรลุเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้า เลยหรือคะ และอีกข ้อหนึง คือเท่าทีอ่านหนังสือมา เซน เป็ น การเน ้นด ้านจิตใจไม่ใช่หรือ ช่วยตอบข ้อสงสั ยให ้กับคนไม่คอยรู ้ ่ เรืองด ้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ คําตอบ: จากคุณ pong IP : 202.183.222.7 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 10:26:43 ขอตอบ คุณ pong IP : 202.183.222.7 **
  • 3. ขอถามสั กนิดนะคะ คือถ ้าทํากรรม หรือทําชัว เพียงแค่สํ านึกผิด ก็สามารถลบล ้างความผิด และได ้บรรลุเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้า เลยหรือคะ ---พระเทวทัต เขาได ้บําเพ็ญบารมีมามาก มีทังดีและชัว หลาย ชาติผานมาแล ้ว และก่อนทีจะได ้บรรลุเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้า ่ ก็ต ้องเกิดอีกหลายชาติ (ซึงขณะนีอยูในนรก 2,500 กว่าปี ลวง ่ ่ มาแล ้ว ตังแต่ธรณีสบสมัยพุทธกาล) ู และอีกข ้อหนึง คือเท่าทีอ่านหนังสือมา เซน เป็ นการเน ้นด ้าน จิตใจไม่ใช่หรือ ช่วยตอบข ้อสงสั ยให ้กับคนไม่คอยรู ้เรืองด ้วยนะ ่ คะ ขอบคุณค่ะ --เรืองศาสนาเชน (ความจริง เราเรียกว่าศาสนากันเกล่อ ก็ไม่ ผิดเพราะไม่มใครให ้นิยามคําว่าศาสนาเอาไว ้) ี เชน เขาว่าอย่างไร ต ้องไปดูในสมัยพุทธกาล สาวก รุนหลัง ่ ต่างก็คดค ้นอะไรใหม่ ๆ เพิมขึนมากมาย ิ ไม่มใครบอกได ้ แม ้สาวกก็เถียงกันมานานแล ้ว ว่าศาสดาของ ี ตนสอนอย่างไร บางอย่างก็เอาจากศาสนาพุทธ หลักธรรมของศาสนาพุทธ มี ศาสนาอืนเอาไปเป็ นของตนเอง คนทีเรียนจบเปรียญ 9 ถูกซือตัวไปแปลพระไตรปิ ฎกให ้ศาสนา อืน ผมก็ยนดี แม ้ว่าจะพุทธแบบครึง ๆ กลาง ๆ มันก็เสือมลง ๆ ๆ ๆ ิ ไปเรือย ๆ ๆ ๆ ศาสนาพุทธอยูได ้ 5,000 ปี ่ **** คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 11:52:28
  • 4. ความชัวของพระเทวทัตทีได ้กระทํา มีหลายอย่างเท่าทีจําได ้ บ ้าง (เฉพาะทีมุงจะปลงพระชนม์พระพุทธเจ ้า) เช่น ่ 1. ปล่อยช ้างตกมัน (จําชือไม่ได ้ ว่า ชือ ฮาฬาคีร ี หรือเปล่าไม่ แน่ใจ) ทุกคนคงเคยเห็นรูปตามผนังโบสถ์ พระพุทธเจ ้าโปรดช ้างที หมอบกราบ อย่างช ้าง 2. กลิงหินตกจากภูเขา หมายให ้หล่นใส่พระพุทธองค์ จนทําให ้ พระพุทธเจ ้า ถึง ห ้อพระโลหิต (เป็ นกรรมหนักอย่างหนึง ทีทํา ได ้เพียงคนเดียว ไม่มใครทําได ้อีกแล ้ว) ี 3.ในสมัยพุทธกาล เมือครังพระเทวทัตยังมีชวตอยู่ พระเทวทัตมี ี ิ ความคิดทีจะลอบสั งหารพระพุทธองค์เพือทีตนจะได ้สถาปนา ตัวเองเป็ นพระพุทธเจ ้าแทน ด ้วยการวางแผนทีแยบยลมาก คือ ทําการคัดเลือกนายขมังธนูฝีมอเยียมจํานวน 31 คน (จากนาย ื ขมังธนู 500 คน)โดยได ้เลือกคนทียิงแม่นทีสุด และ ใจ โหดเหียมทีสุด ให ้เป็ นผู ้ลงมือสั งหารพระพุทธองค์ ใน ขณะเดียวกันก็แอบสั งให ้นายขมังธนูอก 2 คนคอยดักสั งหาร ี นายขมังธนูคนแรกเมือลงมือสํ าเร็จ จากนันก็ไปแอบสั งให ้นาย ขมังธนูอก 4 คนให ้คอยดักสั งหารนายขมังธนูทัง 2 คนอีกทอด ี หนึง ทอดต่อไปก็สั งให ้นายขมังธนูอก 8 คนคอยดักสั งหารนาย ี ขมังธนู 4 คน มีการฆ่าตัดตอนเช่นนีเป็ นทอด ๆ จนถึงขัน สุดท ้าย คือสั งให ้นายขมังธนูถง 16 คน คอยดักสั งหารนายขมัง ึ ธนู 8 คน สรุป คือมีการสั งฆ่าตัดตอนถึง 4 ชัน ทังนีเพือพระ เทวทัตต ้องการจะปกปิ ดความชัวของตน มิให ้ใครรู ้เห็นนันเอง เดชะบุญด ้วยพระพุทธานุภาพ นายขมังธนูคนแรก ขณะทีลงมือ สั งหารเกิดอาการชะงักงัน ไม่สามารถยิงศรทําร ้ายพระพุทธองค์ ได ้ ทําให ้นายขมังธนูเกิดความหวาดกลัวเป็ นอันมาก แต่ด ้วย พระมหากรุณาพระพุทธองค์ได ้ทรงสนทนาแนะนํ าให ้ข ้อคิดแก่ นายขมังธนูผู ้นันด ้วยวาจาอันไพเราะ จนทําให ้นายขมังธนูผู ้นัน เกิดความสํ านึก และ ซาบซึงใจจนนํ าตาคลอ ทิงอาวุธ ก ้มลง
  • 5. กราบกล่าวคําขอขมาพระพุทธองค์ถง 3 ครัง พระพุทธองค์ทรง ึ ให ้อภัยด ้วยนํ าพระทัยทีเมตตา และเมือพระพุทธองค์ทรงเห็นว่า นายขมังธนูผู ้นันมีจตใจดีงาม พร ้อมทีจะรับฟั งธรรมอันลึกซึง ิ แล ้ว พระพุทธองค์จงทรงแสดงธรรมแก่นายขมังธนูจนได ้บรรลุ ึ โสดาบัน (อริยบุคคลชันต ้น ผู ้ควรแก่การกราบไหว ้บูชา) และ ก่อนทีนายขมังธนจะ◌ูทลลากลับ พระพุทธองค์ทรงรับสั งมิให ้ ู นายขมังธนูเดินทางกลับตามเส ้นทางทีพระเทวทัตสั ง (เพราะมี มือสั งหารรออยู) แต่ให ้กลับไปเส ้นทางอืน นายขมังธนู 2 คนที ่ รอฆ่าตัดตอน รอเหยือเป็ นเวลานาน ไม่เห็นมาสั กที จึงได ้เดิน สวนทางมาดู และ ได ้พบกับพระพุทธองค์ พระศาสดาได ้ทรง แสดงธรรมจนทังคูได ้บรรลุโสดาบัน และ ก่อนทีทังคูจะทูลลา ่ ่ กลับพระพุทธองค์ได ้ทรงแนะให ้ทังคูเดินทางกลับไปเส ้นทาง ่ อืนเช่นเดียวกัน (เพือจะได ้ไม่ถกฆ่าตัดตอนจากนายขมังธนู 4 ู คน ) ในทีสุดแผนการณ์อันเลวร ้ายของพระเทวทัตได ้ล ้มเหลว ลงอย่างสินเชิง บรรดานายขมังธนูทกคนทีทราบข่าว ต่างดีใจที ุ ตนรอดตายจากแผนการณ์อันโหดเหียมนี ด ้วยความซาบซึงใน พระมหากรุณาธิคณ จึงพร ้อมใจพากันออกบวชเป็ นพระภิกษุ ุ และบรรลุเป็ นพระอรหันต์กันทุกรูป สรุป คือ พระพุทธเจ ้าของ เราสามารถช่วยให ้คนชัว 31 คน ให ้กลายเป็ นคนดี และ รอด ตายหมดทุกคน เอวัง ก็มด ้วยประการะฉะนีแล..... ี ผมนํ ามาจาก http://www.thaijustice.com/webboard.asp?sub=0&id=86383 คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 16:20:40 ผมแค่เปรียบเทียบ ผมก็ไม่ยนยันน่ะแต่ทแสดงให ้เห็นนันเป็ น ื ี เพียงความคิดผมคนเดียว ว่าเป็ นคนเดียวดับเทวทัต ิ แต่คณรอง ุ คิดดูเชนเกิดเวลาเดียวกับพุทธ แต่ทําไมไม่กล่าวถึงในไตรปิ ฏก คําตอบ: จากคุณ st.carlos IP : 203.113.81.9 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 3:20:14
  • 6. คุณ อริน กลับมาแล ้วหรือคะ ขอต ้อนรับค ้วยความยินดี และดีใจ มากด ้วยค่ะ คําตอบ: จากคุณ วรรณ IP : 203.113.81.9 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 5:58:16 เรืองนีเคยพูดกันแล ้วในกระทู ้ คุณ สมชาย IP : 202.12.73.10 ก็ถามในกระทู ้ด ้วย เป็ นคนแปลก ๆ อยูนะ ่ http://www.stou.ac.th/Thai/Schools/Slw/Webboard/Question.asp?GID=4231 มีคนเคยแสดงความเห็นในกระทู ้ทีนีแหละว่า ศาสนาเชน เป็ นนิกายหนึงของ ศาสนาพุทธ ทีจริงไม่ใช่นกายหนึงของพุทธแน่นอนผมมันใจตังแต่ตอนนันแล ้ว ิ ตอนนันผมไม่มหลักฐาน ี แต่ตอนนีมีแล ้ว เพราะในพระไตรปิ ฎกเขียนไว ้ชัดเจนว่า ศาสดาของศาสนาเชน คือท่านนิครนถนาฏบุตร ได ้ดับขันธ์(คงไม่ปรินพพาน) แล ้วบรรดาลูกศิษย์มปัญหาถกเถียงกันเรืองคํา ิ ี สอนว่าศาสดาของตนสอนว่าอย่างไรแน่ เพราะไม่ได ้รวบรวมเอาไว ้ พระสารี บุตรจึงกราบทูลพระพุทธเจ ้า ................ อยูใน (ที.ปว.11/108/139) ่ ***อยากถามคุณอรินว่า (ที.ปว.11/108/139) คือพระไตรปิ ฎก เล่มใด จะไปหาอ่านมา เพราะในเน็ ตเขาลบทิงหมดแล ้ว สอบถามเรือง: จากคุณ ณั ฐ IP : 203.154.169.133 เมือวันที 5 กันยายน 2546 เวลา 11:37:51
  • 7. ชือย่อของนิกาย (ที.ปว.) ทีคุณณัฐถามถึงนี หมายถึงในส่วนของพระสูตร (ทีฆ นิกาย = สูตรทียาว ซึงทังหมดมีอยู่ 5 คือ ที, ม, สํ, อํ, ขุ = ทัง 5 นีเป็ นชือย่อ) อยูในพระไตรปิ ฎกเล่มที 11 พระสุตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ครับ ่ (11/108/139) 11 ก็หมายถึงเล่มที 11 หน ้า 108 และหน ้า 139) ส่วนรายละเอียด ดูได ้ที http://www.geocities.com/Athens/Thebes/3654/sut.html คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 9:28:15 ข ้อมูล ขอยืนยันว่า เทวทัตต์ กับ ศาสดามหาวีระ เป็ นคนละคน กัน และไม่มข ้อมูลทีไหนกล่าวไว ้ว่า "เทวทัตต์ปฎิบัตสดโต่ง" ี ิ ุ หรือเคร่งอย่างศาสนาของศาสนามหาวีระ (เชน) เทวทัตต์ได ้ ปฏิบัตได ้แค่ อภิญญา 6 แสดงอิทธิฤทธิได ้ เทวทัตต์อยากเป็ น ิ ใหญ่ มักใหญ่ใฝ่ สูง อยากปกครองสงฆ์แทนพระพุทธเจ ้า แต่ใน ทีสุด อภิญญา 6 อย่าง ทีเทวท ้ตต์สํ าเร็จ ก็เสือมไป แต่คณ ุ ความดีทเทวทัตต์ทําไว ้ก็คอ ก่อนตาย ได ้สํ านึกผิดต่อ ี ื พระพุทธเจ ้า และได ้ถวายกระดูกคางเป็ นพุทธบูชา (บูชาแก่ พระพุทธเจ ้า) พระพุทธเจ ้าทํานายว่า ในศาสนาของพระศรีอริย เมตไตร เทวทัตต์จักเป็ นพระปั จเจกพุทธเจ ้ามีพระนามว่า ... (ขออภัยจําชือไม่ได ้) หากมีคําถามว่า ทําไม เทวทัตต์ทําชัวไว ้ กับพระพุทธเจ ้ามากมายนานานับประการ ถึงจะได ้บรรลุเป็ นพระ ปั จเจกพุทธเจ ้า นันก็เพราะความสํ านึกผิดในโทษทีทําไว ้กับ พระพุทธเจ ้า ส่วนท่านทีสงสั ยว่า เทวทัตต์ทํากรรม ทําชัวอะไร ไว ้กับพระพุทธเจ ้าบ ้าง? ก็สอบถาม หรือหาข ้อมูลได ้จาก ตํารับตําราทีวัดใกล ้บ ้านท่านนะครับ คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.76 เมือวันที 13 มกราคม 2547 เวลา 9:31:50 จากข ้อความของคุณณั ฐ "1. ปล่อยช ้างตกมัน (จําชือไม่ได ้ ว่า ชือ ฮาฬาคีร ี หรือเปล่าไม่แน่ใจ)" ชือช ้างออกจะมีชอเหมือน ื ภาษาญีปุ่ นนะครับ (คุณณั ฐมีอารมณ์ขันเหมือนกันนะครับ) ชือ
  • 8. ช ้าง "นาฬาคีร" ครับผม พระพุทธเจ ้าทรงเอาชนะช ้างได ้ ี "เมตตาบารมี" คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.8 เมือวันที 14 มกราคม 2547 เวลา 23:29:39 เรือง : มีเรืองอยากถาม คุณอริน มีคนเคยแสดงความเห็นในกระทู ้ทีนีแหละว่า ศาสนาเชน เป็ น นิกายหนึงของศาสนาพุทธ ทีจริงไม่ใช่นกายหนึงของพุทธ ิ แน่นอนผมมันใจตังแต่ตอนนันแล ้ว ตอนนันผมไม่มหลักฐาน ี แต่ตอนนีมีแล ้ว เพราะในพระไตรปิ ฎกเขียนไว ้ชัดเจนว่า ศาสดาของศาสนาเชน คือท่านนิครนถนาฏบุตร ได ้ดับขันธ์(คงไม่ปรินพพาน) แล ้วบรรดาลูกศิษย์มปัญหา ิ ี ถกเถียงกันเรืองคําสอนว่าศาสดาของตนสอนว่าอย่างไรแน่ เพราะไม่ได ้รวบรวมเอาไว ้ พระสารีบตรจึงกราบทูลพระพุทธเจ ้า ุ ................ อยูใน (ที.ปว.11/108/139) ่ ***อยากถามคุณอรินว่า (ที.ปว.11/108/139) คือพระไตรปิ ฎก เล่มใด จะไปหาอ่านมา เพราะในเน็ ตเขาลบทิงหมดแล ้ว สอบถามเรือง: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133 เมือวันที 5 กันยายน 2546 เวลา 11:37:51 ขอบคุณ คุณอรินมากครับ ผู ้รู ้ตัวจริง คําตอบ: จากคุณ ณัฐ IP : 203.154.169.133 เมือวันที 10 กันยายน 2546 เวลา 8:05:10 คววมทุกข์เกิดมาอย่างไรในศาสนาเชน คําตอบ: จากคุณ สมชาย IP : 202.12.73.10 เมือวันที 12 มกราคม 2547 เวลา 19:32:50 ชือย่อของนิกาย (ที.ปว.) ทีคุณณั ฐถามถึงนี หมายถึงในส่วน ของพระสูตร (ทีฆนิกาย = สูตรทียาว ซึงทังหมดมีอยู่ 5 คือ ที,
  • 9. ม, สํ, อํ, ขุ = ทัง 5 นีเป็ นชือย่อ) อยูในพระไตรปิ ฎกเล่มที 11 ่ พระสุตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ครับ (11/108/139) 11 ก็ หมายถึงเล่มที 11 หน ้า 108 และหน ้า 139) ส่วนรายละเอียดดู ได ้ที http://www.geocities.com/Athens/Thebes/3654/sut.html คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.14 เมือวันที 6 กันยายน 2546 เวลา 0:21:40 ศาสนาเชน เป็ นลัทธิหนึง ซึงมีถอกําเนิดเกิดในยุคสมัยเดียวกัน ื กับศาสนาพุทธ นักบวชในลัทธิเป็ นพวกเปลือยกาย (อเจลกะ) หรือทรมานตนด ้วยวิธการต่าง ๆ ดูพระสูตรทีกล่าวถึง ี คําตอบ: จากคุณ อริน IP : 203.113.56.14 เมือวันที 6 กันยายน 2546 เวลา 0:31:57 หาก link ดูพระสูตรทีกล่าวถึง เสีย หรือ link ไม่ได ้ ก็ให ้คลิก ขวาตรง link เลือก properties แล ้วก็ทําการ copy ที address (URL) แล ้วไปวางตรงช่อง address ข ้างบน คลิก Go หรือ Enter ก็เจอครับ (ไม่รู ้ว่าผมสอนหนังสือสังฆราชหรือเปล่านี ?) คุณณั ฐ search เก่งอยูแล ้ว คงไม่เกินความสามารถหรอกครับ ่ "อาจารย์ ชุนเรียวนัน ใจไม่ ได้ ขนหินด้ วย เพราะปล่ อยวาง "หิน" ทุกชนิด ใจถึงพักผ่ อน สามารถช่ วยกายให้ ทํางานได้ ทังวัน" เว้นวรรคชีวต ิ พระไพศาล วิสาโล
  • 10. การปลีกตัวมาอยู่ทนี (วัดป่ า)ถือว่าเป็ นการเว้นวรรคให้ แก่ ชีวต ชีวตต้องมี ี ิ ิ การเว้นวรรคบ้ าง เช่ นเดียวกับลมหายใจของเรา มีหายใจเข้ าแล้ วก็ต้องมีหายใจออก เรา ไม่ สามารถทีจะหายใจเข้ าได้ ตลอด ต้องเว้นจังหวะแล้ วจึงหายใจออก เราไม่ สามารถ หายใจออกหายใจเข้ าอย่ างใดอย่ างหนึงไปได้ ตลอด จะต้องมีการเปลียนสลับกันไป การ ทํางานก็เช่ นเดียวกัน ทํางานแล้ วก็ต้องรู้จกหยุดบ้ าง ธรรมชาติให้ เวลากลางวันคู่กับ ั กลางคืน กลางวันทํางานเต็มที พอถึงตอนกลางคืนก็ต้องพักผ่อน ขอให้ สังเกตดู อะไรก็ตามเป็ นไปได้ ดีก็เพราะมีการเว้นจังหวะหรือมีช่องว่าง ทีเหมาะสม หนังสื อทีอ่ านง่าย ก็เพราะแต่ละประโยคมีการเว้นวรรคอย่ างถูกจังหวะ ถ้ า ตัวหนังสื อติดกันเป็ นพรืด ไม่ มีเว้นวรรคเลย จะน่ าอ่ านไหม ใครอ่ านก็ต้องรู้สึกงงงวย ไม่ อยากอ่ าน ศิลปะอย่ างหนึงของเขียนหนังสื อให้ น่าอ่ านก็คอรู้จกเว้นช่ องว่างระหว่าง ื ั คํา ระหว่างประโยค และระหว่างย่ อหน้ า ทํานองเดียวกันดนตรีทไพเราะ ไม่ ใช่ เพราะมี ี เสี ยงดังเท่ านัน แต่เพราะมีช่วงทีเงียบแฝงอยู่ด้วย ถ้ ากลอง กีต้าร์ ไวโอลินส่ งเสี ยงไม่ หยุด ไม่ รู้จกเว้นจังหวะเสี ยบ้ าง เพลงนันก็คงไม่ เพราะ ั สํ าหรับคนเรา การเว้นวรรคหรือเติมช่ องว่างให้ กับชีวตอย่ างการมาปฏิบัติ ิ ธรรมนีจะเรียกว่าเป็ นการพักผ่อนก็ได้ หรือจะถือว่าเป็ น การชาร์ จแบตเตอรีก็ได้ ชาร์ จ แบตเตอรีเพือจะได้ มีพลังสํ าหรับการทํางานในโอกาสต่อไป ทีจริงมันไม่สามารถแยกกัน ได้ ระหว่างการหลีกเร้ นเพือพักผ่อน กับการทํางาน สองอย่ างนีเสริมกันทํางานอย่ างเดียว โดยไม่ ได้ พกเลย ก็ทําไปได้ ไม่ ตลอด หรือว่าเอาแต่ใช้ ชีวตอย่ างเดียว โดยไม่ ได้ เติมอะไร ั ิ ให้ กับชีวตเลย ในทีสุ ดก็หมดแรง มีคนจํานวนไม่น้อยเลยทีไม่ ค่อยเห็นความสํ าคัญของ ิ การพักหรือการหยุดเท่ าไหร่ หยุดเมือไหร่ ก็รู้สึกว่ากําลังถอยหลัง ปล่ อยให้ คนอืนแซงขึน หน้ า หรือไม่ ก็กลัวว่าดอกเบียจะโตเอา ๆ พักเมือไหร่ ก็รู้สึกว่าชีวตมันว่างเกินไป ถือว่า ิ เป็ นความฟุ่ มเฟื อยของชีวต คนเหล่ านีเห็นว่า จะต้องใช้ ชีวตแข่ งกับเวลาถ้ ามีเวลา ิ ิ เหลืออยู่น้อยนิดก็อยากจะเอาไปใช้ ทํางานทําการ หรือหาเงินหาทองให้ ได้มาก ๆ
  • 11. พูดมาถึงตรงนีทําให้ นึกถึงเรืองของชายคนหนึงทีเลือยไม้ อย่ างเอาเป็ นเอา ตาย มีเพือนคนหนึงมาเห็นเข้ าก็เลยถามว่าเลือยมานานหรือยัง เขาบอกว่าเลือยมาตังแต่ เช้ าจนนีก็คาแล้ ว เพือนถามว่าเหนือยไหม เขาตอบว่ าเหนือยสิ เพือนถามต่อไปว่าทําไม ํ ไม่ พกล่ ะ เขาก็บอกว่ากําลงวุ่นอยู่กับการเลือยไม้ เพือนเป็ นห่ วง ก็เลยพูดว่าไม่ ลองหยุด ั พักซักหน่ อยเหรอ หายเหนือยแล้ วค่อยมาทํางานต่อ อย่ างน้ อยก็จะได้ เอาตะไบมาลับคม เลือยให้ มนคมขึน จะช่ วยให้ เลือยได้ เร็วขึน ชายคนนันก็ตอบว่า ไม่ เห็นหรือไงว่า กําลัง ั วุ่นอยู่ ตอนนียังทําอย่ างอืนไม่ได้ ทังนัน ว่าแล้ วก็เลือยหน้ าดําครําเครียดต่อไป บางครังคนเราก็เหมือนกับชายคนนี คือเอาแต่เลือยอย่ างเดียวไม่ ยอมหยุด ทัง ๆ ทีการหยุดพักจะทําให้ มีกลังดีขึน และถ้ ารู้จกหยุดเพือลับคมเลือยให้ คมขึน ก็จะทํา ั ให้ เลือยได้ เร็วขึน ทุ่นทังแรงทุ่นทังเวลา แต่เขาก็ยังไม่ ยอมเลย เหตุผลทีเขาให้ ก็คอกําลัง ื วุ่นอยู่กับการเลือย เลยไม่สนใจอะไรทังนัน ไม่ สนใจแม้ กระทังการทําให้ เลือยคมขึน เขา หาได้ เฉลียวใจไม่ ว่า เพียงแค่เสี ยเวลานิดหน่ อยก็จะทําให้ การเลือยนันเร็วขึนดีขึนและ เหนือยน้ อยลง เขาไม่ ยอมหยุดเพราะคิดว่าจะทําให้ เสี ยเวลา ลึก ๆ ก็เพราะคิดว่าทําอะไร มาก แล้ วมันจะดี แต่ทีจริงแล้ วทําน้ อยลง แต่อาจได้ผลดีกว่าก็ได้ ในประสบการณ์ ของ เรา เราพบบ่ อยไปว่าการทําอะไรให้ ช้าลงกลับทําให้ ได้ ผลดีขึน นักเรียนทีทําข้ อสอบ ตอบทุกข้ อโดยไม่ ทนคิดถีถ้ วนเพราะกลัวหมดเวลาก่อน บ่ อยครังกลับได้ คะแนนน้ อย ั กว่าคนทีทําเพียงไม่กีข้ อ แต่คดถีถ้ วนทุกข้ อ และตอบทุกข้ อ ิ การทีเรามาปลีกวิเวกอย่ างนีจะเรียกว่าเป็ นการมาลับคมเลือยก็ได้ เราวาง เลือยเอาไว้ก่อน แล้ วมาลับคมเลือย ก่ อนทีจะเลือยต่อไป การพักผ่อนในตัวมันเองก็เป็ น การลับคมเลือยอยู่แล้ ว แค่พกผ่อนร่ างกายก็สําคัญไม่ น้อย เพราะว่าร่ างกายชองเราก็คอ ั ื ตัวเลือยนันเอง แต่ตอนนีมันบินแล้ ว ทํางานมากมันก็บิน มันไม่ คมแล้ ว เพียงแค่การมา พักร่ างกายอย่ างเดียวก็จะช่ วยให้ เลือยคมขึน แต่ทีนีเราไม่ ได้ มาพักเพียงแค่กาย เรามา พักใจด้ วยการฝึ กจิตให้ สงบมีสติมีความมันคง และทําให้ ชีวตมีสมดุล ก็เท่ ากับว่าเลือยถูก ิ ลับให้ คมขึนกว่าเดิม ถ้ าเรากลับไปเลือยต่อเมือไหร่ ก็แน่ ใจได้ ว่าจะเลือยได้ ดีขึนเร็วขึน แต่ถ้าเราไม่ พกเสี ยเลย อย่ างชายคนนันไม่ พกเสียเลยแทนทีจะทําได้ เร็วก็กลับทําได้ ช้า ั ั หรืออาจจะทําไม่ เสร็จเลยก็ได้ เพราะว่าล้ มพับเสี ยก่ อน แทนทีจะเสร็จในตอนคําก็มา
  • 12. เสร็จวันรุ่งขึนช้ าไปอีกตังหลายชัวโมง เพราะว่าป่ วยเสี ยก่ อน หรือไม่ มือไม้ ก็พองทําต่อ ไม่ ได้ ยิงอยากจะให้ เสร็จไว ๆ กลับเสร็จช้ า แต่ถ้าเว้ นวรรคให้ ร่างกายและจิตใจได้ พักผ่อนบ้ าง ก็จะทํางานได้ ดี การหยุดพักนันดูเผิน ๆ เหมือนจะทําให้ เสร็จช้ าลง แต่ที จริงทําให้ เสร็จไวขึน คนเรามักไปเน้ นเรืองผลหรือความสํ าเร็จมากไป แต่ลืมต้นทุนทีจะเอาลงไป ในงานนัน ๆ ผลสํ าเร็จหรือผลงานก็เหมือนกับผลไม้ ผลไม้ ออกมาดีหรือไม่ ต้องอาศัย ต้นทุนคือต้นไม้ ถ้ าต้นไม้นันเราเอาใจใส่ ดูแล รักษา รดนําพรวนดิน ใส่ ปุ๋ย ต้นไม้ เติบโต แข็งแรง ก็ย่อมให้ ผลดี ทังดก และหอมหวาน ทํานองเดียวกันกับดอกเบียเงินฝาก จะมาก หรือน้ อยก็ขึนอยู่กับต้นทุนทีฝาก ถ้ าเงินต้นก้ อนนิดเดียวดอกเบียก็น้อยตามไปด้ วย ถ้ า สนใจแต่ดอกเบีย อยากได้ ดอกเบียเยอะ ๆแต่ไม่ สนใจต้นทุน ความอยากนันก็เป็ นแค่ ความฝันลม ๆ แล้ ง ๆ แต่ว่าคนจํานวนมากก็ทําอย่ างนันจริง ๆ ก็คอว่าอยากจะให้ งาน ื ออกมาดี ประสบความสํ าเร็จเต็มที แต่ว่าไม่ ได้ เอาใจใส่ ต้นทุนคือร่ างกายและจิตใจ ร่ างกายและจิตใจเป็ นต้นทุนสํ าคัญหรือปัจจัยพืนฐานทีจํานําไปสู่ งานทีดีได้ ถ้ าร่ างกาย อ่ อนแอ จิตใจห่ อเหียว ท้ อแท้ อารมณ์ไม่ ดี ความสํ าเร็จก็เกิดขึนได้ ยาก นิทานสอนเด็กบางครังก็มคติเตือนใจเราได้ มาก ถ้ าเราจะลองพิจารณาดู ี อย่ างเรืองห่ านออกไข่ เป็ นทองคํา เราเรียน และฟังมาตังแต่เล็ก เรืองมีว่าชายคนหนึงโชค ดีได้ ห่านมา ห่ านตัวนีออกไข่ มาเป็ นทองคําทุกวัน ๆ เจ้าของดีใจมาก แต่ตอนหลังรู้สึกว่า ได้ วนละฟองมันน้ อยไป ยากจะได้ มากกว่านัน และก็เชือว่าในตัวห่ านน่ าจะมีไข่ ทีเป็ น ั ทองคําอีกตังเยอะแยะ ถ้ าจะรอให้ มันออกมาวันละฟอง ๆ มันช้ าไป อย่ ากระนันเลยคว้าน ท้ องเอาไข่ ออกมาดีกว่า ก็เลยฆ่าห่ านตัวนัน ปรากฏว่าไม่ ได้ ไข่ ทองคําแม่แต่ฟองเดียว ชายคนนันลืมไปว่าถ้ าอยากจะได้ ไข่ ทองคํามาก ๆ ก็ต้องดูแลรักษาตัวห่ านให้ ดี แต่นีกลับ ไม่ สนใจ มิหนําซําไปฆ่ามันเสี ย ก็เท่ ากับว่าไปฆ่าต้นทุนเสีย จะมีผลงอกงามได้ อย่ างไร นิทานเรืองนีนอกจากจะสอนว่า "โลภมากลาภมักหาย" อย่ างทีเราได้ ยินครู สอนตอนเด็ก ๆ แล้ ว ยังสอนผู้ใหญ่ ด้วยว่า อยากได้ ผล ก็ต้องสนใจทีต้นทุนหรือเหตุ ปัจจัย ถ้ าอยากได้ ไข่ เยอะ ๆ ก็อย่ าไปใช้ ทางลัด เช่ น คว้านท้ องห่ าน วิธีทีถูกต้องก็คอ ดูแล ื
  • 13. ห่ านให้ ดีให้ มนกินอิม นอนนุ่ม มีสุขภาพดี ปลอดจากโรคภัยไข้ เจ็บ แต่ทังนีทังนันก็ต้อง ั ตระหนักด้ วยว่าห่ านก็มีขีดจํากัดในการให้ ไข่ ไม่ ใช่ ว่าวันหนึง ๆ จะให้ กีฟองก็ได้ ตามใจ เรา นีก็เหมือนกับชีวตของเราซึงมีขอบเขตจํากัดในการทํางานวันหนึงร่ างกาย ิ ของเราทํางานได้ อย่ างมากก็ ๑๘ ชัวโมง ถ้ าไปเร่ งหรือบังคับทํางานมากกว่านัน เช่ น กิน กาแฟหรือยาบ้ าจะได้ ไม่ ต้องหลับ ไม่ นานก็ต้องล้ มพับ โรครุมเร้ า เท่ ากับเป็ นการทําร้ าย ร่ างกายของเรา ไม่ ต่างจากชายทีฆ่าห่ านเพือจะได้ ไข่ เยอะ ๆ สุ ดท้ ายก็ไม้ได้ อะไรเลย ผลก็ ไม่ ได้ ต้นทุนทีเคยมีก็เสี ยไป มีครูบาอาจารย์ หลายท่ านซึงน่ าเสี ยดายว่า หากท่ านได้ พกผ่อนไม่ เร่ งงาน ั เยอะไป ท่ านก็อาจมีชีวตยืนยาว ครูบาอาจารย์ บางทาน นอกจากจะสอนธรรมแล้ ว ท่ าน ิ ยังต้องคุมงานด้ านการก่ อสร้ าง คุมรถทีมาทําทาง คุมคนงาตนทีมาสร้ างกุฏิวหาร ท่ าน ิ อยากให้ งานเสร็จไว ๆ ทันใช้ งาน แต่เนืองจากไม่ คอยได้ พกผ่อน จึงล้ มป่ วยตอนหลังก็ ั ลุกลามถึงขึนเป็ นอัมพาต อันนีก็เป็ นอุทาหรณ์ ว่าถ้ าหากว่าท่ านไม่ เร่ งงาน ไม่ หักโหมเกินไป ก็ยัง สามารถทีจะทําอะไรได้ เยอะได้มากกว่าทีท่ านเป็ น นีก็เป็ น ข้ อคิดบทเรียนทีสํ าคัญว่า คนเราจําเป็ นทีจะต้องดูแลต้นทุนสุ ขภาพดีทังกายและใจ ขณะเดียวกันก็ให้ โอกาส ร่ างกายกับจิตใจได้ พกผ่อนด้ วย ั การพักผ่อนของจิตใจนันอาจจะแตกต่างจากร่ างกายอยู่บ้างร่ างกายนัน พักผ่อนด้ วยการไม่ ใช้ งานเบา ๆ แต่ จตใจนันสามารถพกผ่อนด้ วยการใช้ งาน เป็ นแต่ว่า ิ ไม่ ได้ ใช้ งานด้ วยการคิด ๆๆ อย่ างทีใช้ ในเวลาทํางาน เราผ่อนคลายจิตด้ วยการทําสมาธิ ภาวนา คือฝึ กจิตให้ มีสติ สมาธิสัมผัสกับความสงบและความสว่างไสวภายในการฝึ กจิต อย่ านีเรียกว่าเป็ นการใช้ งานจิตได้ อย่ างหนึง แต่ไม่ ทาให้ จตเหนือย ตรงกันข้ ามจิตมีแต่ ํ ิ จะเข้ มแข็งขึน เพราะสติ สมาธิ และปัญญานันเป็ นสิ งบํารุงเลียงจิต จิตทีมีสติ สมาธิ และปัญญาเป็ นจิตทีมีสุขภาพพลานามัยดี
  • 14. ร่ างกายคนเรานันมีข้อจํากัด นานวันร่ างกายก็เสื อมโทรมหากพ้นจุดหนึงไป แล้ ว ก็ไม่ มีทางทีจุทําให้ ดีขึนได้ ทําได้ อย่ างมากเพียงแค่ประคับประคองเอาไว้ ไม่ ให้ มัน ทรุดเร็วเกินไป กล้ ามเนือมีแต่จะเสื อมลงไป ๆ ส่ วนเซลต่างๆ ก็มีแต่จะตายลง ไม่ สร้ าง ขึนใหม่ ก็ไม่ เท่ าของเก่ า แต่ว่าจิตใจนันถ้ าใช้ เป็ นใช้ ถูก ยิงใช้ ก็ยิงดีขึน โดยเฉพาะสติและ สมาธิ ถ้ าเราใช้ อยู่บ่อย ๆ สติและสมาธิก็จะว่องไว และเข้ มแข็งมันคงขึน การมาปฏิบัติ ของเราจะว่ าไปมันจึงไม่ ได้ เป็ นแค่การพักใจ แต่ยังเป็ นการพัฒนาคุณภาพและความสาม รถของจิตอีกด้ วย เป็ นการพัฒนาโดยไม่ทําให้ เหนือยจิต ผิดกับการพัฒนาร่ างกาย มักทํา ให้ เหนือยกาย เพราะต้องออกแรงใช้ กล้ ามเนือ อย่ างการเล่ นกีฬา หรือเต้นแอโรบิค ทํา แล้ วร่ างกายเหนือยทังนัน แต่ก็เป็ นของดี แม้ กระนันก็ผดกับการพัฒนาจิตซึงไม่ ทําให้ ิ เหนือยอ่ อน ถ้ าพัฒนาหรือใช้ จตให้ เป็ น ิ แต่ถ้าใช้ จตไม่ เป็ น อาจทําให้ เราเหนือยอ่ อนยิงกว่าเวลาออกกําลังกายหรือ ิ ออกแรงหนัก ๆ ด้ วยซํา อย่ างทํางานแบกหามทังวัน เช่ น ย้ ายบ้ าน ทําส่ วน หากได้นอน เต็มที ตืนขึนมาก็สดใส แต่เวลาทํางานทีต้องใช้ ความคิดมาก หรือว่าต้องเกียวข้ องกับ ผู้คน ต้องกระทบกระทังกับใครต่อใครมากมาย แม้ จะไม่ ได้ ใช้ แรงกายเลย แต่เวลาทํา อย่ างนันตลอดวัน นอนหลับตืนขึนมาก็ไม่ รู้สึกสดใสหรือสดชืนเท่ าไหร่ เหมือนกับว่า ร่ างกายไม่ ได้ พกเท่ าไหร่ ทีจริงร่ างกายอาจจะได้ พกแต่ทีไม่ ได้ พกหรือยังพักไม่ เต็มมีคือ ั ั ั จิตใจ เพราะตลอดวันทีผ่านมา จิตใจเจอเรืองกระทบกระทังต่าง ๆ มากมาย อีกทังยังถูก อารมณ์ ต่าง ๆ มากดทับบันทอน รวมถึงความเครียดจากการใช้ ความคิด สิ งเหล่ านีทําให้ จิตเหนือยอ่ อน และความเหนือยอ่อนทางจิตมักจะก่ อผลกระทบรุนแรงกว่าความเหนือย อ่ อนทางร่ างกายเสี ยอีก การทีอารมณ์ ของคนเราแปรปรวนแค่ชัวโมงเดียว เช่ นเศร้ าโศก เสี ยใจ อิจฉา เคียดแค้น ก็บันทอนจิตไปมาก อย่ าว่าแต่อารมณ์ ฝ่ายลบเลย แม้ แต่อารมณ์ ฝ่ายบวก เช่ น ความดีใจลิวโลดใจ จากการได้ สนุกสุ ดเหวียง ก็ทําให้ เหนือยใจได้ เหมือนกัน เวลาดูหนังทีตืนเต้นเร้ าใจหรือ สยองขวัญ ดูจบจะรู้สึกว่าเหนือย เช่ นเดียวกับดูฟุตบอลที ต้องลุ้นกันอย่ างสุ ดขีด เวลา แค่ชัวโมงครึงก็สามารถทําให้ เราเหนือยได้ แต่เป็ นความเหนือยทีไม่ รู้ตวเพราะความ ั
  • 15. ตืนเต้นมาบดบัง แต่พอดูจบความตืนเต้นหายไป ก็อาจรู้สึกเหนือย โดยเฉพาะคนที ผิดหวังกับผลการแข่ งขัน หรือคนทีเชียร์ ฝ่ายแพ้ ส่ วนฝ่ ายชนะ ความดีใจอาจกลบ ความรู้สึกเหนือยเอาไว้ แต่พอกลับถึงบ้ าน คามดีใจคลายลงไป ทีนีจะเริมรู้สึกเหนือย เพลียขึนมา การเทียวหรือการพักผ่อนของคนสมัยนี ลองสั งเกตดู ไม่ ได้ ช่วยให้ สบายขึน เลย กลับทําให้ เหนือย เพราะว่ามันเร้ าจิตกระตุ้นใจมากเกินไป เช่ น ใช้ แสงสี วูบวาบ ๆ และสี ยงสนันในดิสโก้ เธคแม้แต่เทียวป่ า ก็ต้องหาอะไรมาทําให้ สนุกเพือกระตุ้นจิตให้ ลิงโลดไปเทียวแค่เสาร์ อาทิตย์ พอกลับถึงบ้ านก็เพลีย หมดเรียวหมดแรงยิง พอนึกถึง วันจันทร์ ต้องไปทํางานหรือไปโรงเรียน ก็ยิงละเหียใจเข้ าไปใหญ่ เฝ้ าภาวนาให้ เสร็จ อาทิตย์ มาถึงเร็ว จะได้ ไป "พักผ่อน" อีก จิตใจทีถูกกระตุ้นเร้ าขึนลงตลอดเวลาไม่ เพียงจะเป็ นจิตเหนือยอ่ อนเท่ านัน หากยังฉุดกายให้ เหนือยอ่อนตามไปด้ วย เพราะอารมณ์ ขึนลงไม่ ว่าบวกหรือลบ ล้ วน ส่ งผลกระตุ้นการทํางานของหัวใจกล้ ามเนือ และอวัยวะส่ วนอืน ๆ ในทางตรงกันข้ าม หากเรารู้จกรักษาจิตประคองใจให้ สงบ มันคง เป็ นปกติ โดยมีสติเป็ นเครืองกํากับ จิต ั ของเราจะมีพลัง ใช่ แต่เท่ านัน ยังส่ งผลต่อร่ างกายของเรา อย่ างน้ อย ก็ไม่ ทําให้ ร่างกาย ของเราเหนือยอ่ อนไปง่าย ๆ การมีสติประคองจิตให้ เป็ นปกติและสงบนัน ไม่ จาเป็ นว่าต้องหลีกเร้ นไปอยู่ ํ ทีเงียบ ๆ ห่ างไกลผู้คน หรือไกลจากงานการ ถ้ ารู้จกใช้ สติประคองใจ แม้ อยู่ในทีอึกทึก ั พบปะผู้คนมากมาย หรือทํางานการ จิตใจก็ยังสงบอยู่ได้ เพราะสติช่วยให้ เรารู้จกปล่ อย ั วางอารมณ์ ต่าง ๆ ทีมากระทบ ทันทีทีรู้ว่าโกรธ หงุดหงิด ฉุนเฉียว ก็ละวางจากอารมณ์ เหล่ านัน ทันทีทีรู้ว่าใจกําลังกังวลอยู่กับการนัดหมายข้ างหน้ า หรือหมกมุ่นกับความ ผิดพลาดในอดีต สติก็ดึงจิตกลับมาสู่ การงานทีกําลังทําอยู่ในปัจจุบัน การมีสติจดจ่อยู่ กับงานทีทําล้ วน ไม่ สนใจว่าจะเสร็จเมือไหร่ ใครจะว่าอย่ างไร ก็ไม่ คานึงหรือยิงกว่านัน ํ คือมีสติจนปล่ อยว่างจากความยึดถือในตัวตน ไม่ ยึดถือว่างานนัน เป็ นงานของฉัน มีแต่ งาน แต่ไม่ มี "ฉัน" ผู้ทํางาน ก็ยิงจะทําให้ ทํางานได้ อย่ างมีความสุ ข อีกทังยังช่ วยให้
  • 16. ทํางานได้ ดี และต่อเนืองด้ วย ชุนเรียว ซูซูกิ เป็ นอาจารย์ เซนผู้หนึงทีมีบทบาทสํ าคัญในการวางรากฐาน พุทธศาสนาแบบเซนในสหรัฐอเมริกา เพือนของอาตมาเล่ าว่า ตอนทีเริมสร้ างวัดเซนใน ซานฟรานซิสโกนัน อาจารย์ ซุนเรียวต้องลงมือขนหินด้ วยตัวเอง หินทังใหญ่ และหนัก แถมต้องขนหินวันละหลาย ๆ ก้ อน ลูกศิษย์ ชาวอเมริกันเห็นก็สงสารอาจารย์ เพราะ อาจารย์ ตอนนันก็อายุ ๖๐ กว่าแล้ ว แถมยังตัวเล็ก ลูกศิษย์ จงอาสาช่ วยอาจารย์ ขนหิน แต่ ึ ขนไปได้ แค่ครึงวันก็หมดแรง ตรงข้ ามกับอาจารย์ กลับขนได้ ทังวัน ลูกศิษย์ จงสงสั ยมา ึ กว่าทําได้ อย่ างไร ขนาดคนอเมริกันซึงร่ างใหญ่ กว่าแถมหนุ่มกว่ายังทําได้ แค่ครึงวัน พอ ลูกศิษย์ ไปถามอาจารย์ ก็ได้ คาตอบว่า "ก็ผมพักผ่อนตลอดเวลานี" ํ อาจารย์ ชุนเรียวขนหินไป ก็พกผ่อนไปด้ วย มีแต่กายเท่ านันทีขนหิน แต่ใจ ั ไม่ ได้ ขนด้ วย ใจนันปล่ อยวางจากงาน ไม่ คาดหวังความสํ าเร็จ และไม่ เร่ งรัดให้ เสร็จไว ๆ แต่คนทัวไปนัน เวลาขนหินไม่ ได้ ขนด้ วยกายเท่ านัน แต่ใจก็ขนไปกับเขาด้ วย เวลา เหนือยก็ไม่ ได้ เหนือยแค่กาย แต่ใจก็เหนือยไปด้ วย เพราะคอยเร่ งว่าเมือไหร่ จะเสร็จ ๆ ยิง เร่ งให้ เสร็จไว ๆ ก็ยิงเสร็จช้ า ก็เลยยิงหงุดหงิดลึกลงไปกว่านัน เวลากายเหนือย ก็ไม่ ได้ คิดว่ากายเท่ านันทีเหนือยแต่ใจยังปรุงแต่งไปอีกว่า "ฉันเหนือย" ใจก็เลยเหนือยตามไป ด้ วย อาจารย์ ซุนเรียวนัน ใจไม่ ได้ ขนหินด้ วย เพราะปล่อยวาง "หิน" ทุกชนิด ใจจึง พักผ่อน สามารถช่ วยกายให้ ทํางานได้ ทังวัน จิตทีมีคุณภาพระดับนีได้ ต้องมีทังสติและปัญญา ซึงต้องอาศัยการฝึ กปรือ จิตฝึ กปรือแบบนีได้ ต้องรู้จกเว้นวรรคชีวตปล่ อยวางจากกงานการและภารกิจใน ั ิ ชีวตประจําวันบ้ าง หาเวลาให้ แก่ ตวเองมาฝึ กปฏิบัติ ิ ั อาจจะต้องยอมเสี ยเวลาไป ๑ วัน ๑ อาทิตย์ หรือ ๑ เดือนโดยทีไม่ได้ ทํางาน เลย แต่ว่าเวลาทีเสี ยไปก็ไม่ ได้ เสียเหล่ า เพราะเป็ นการพักผ่อนและพัฒนาจิตไปด้ วยใน ตัว เมือเอาจิตทีพักผ่อนและพัฒนาแล้ วไปทํางานก็จะทําให้ งานนันดีขึน มีคุณภาพมาก ขึนและบางครังก็มีปริมาณมากขึนด้ วยอย่ างกรณีอาจารย์ ซุนเรียว อีกทังยังเสร็จได้ เร็ว
  • 17. ขึนกว่าตอนทีไม่ ได้ พก ั ฉะนันเวลาทีเราโหมงานหรือทํางานอย่ างเป็ นบ้ าเป็ นหลังก็ขอให้ นึกถึงคน เลือยไม้ทีตะบีตะบันเลือยโดยไม่ ยอมหยุดพัก ไม่ ยอมแม้ กระทังหยุดพักลับคมเลือย เรา อยากจะเป็ นอย่ างนันไหม ถ้ าเราเป็ นอย่ างนันมันก็ไม่ เกิดผลดีทังแก่ ตวเลือย ตัวงานและ ั ตัวเราเอง ขอให้ ระลึกว่า คนทีเอาแต่เดินจําเอา ๆ เพราะอยากถึงไว ๆ นัน มักจะถึงช้ ากว่า เพราะเหนือยเสี ยก่ อนหรือขาแพลงเสี ยก่ อน แต่คนทีค่อย ๆ เดิน เดินไปเรือย ๆ ใจไม่ เร่ ง รีบ ถือว่าพักทุกก้ าวทีเดิน หรือถ้ าเหนือยก็รู้จกพักเอาแรงในทีสุ ดกลับถึงทีหมายได้ เร็ว ั กว่า อย่ างทีเขาว่าไปช้ ากลับถึงเร็ว ดีกว่าไปเร็วกลับถึงช้ า ขอให้ เรามาเรียนรู้วธีไปช้ า แต่ ิ ถึงเร็วกันดีกว่า นีไม่ ใช่ แค่ศิลปะของการเดินทางเท่ านัน แต่เป็ นศิลปะของการดําเนิน ชีวตเลยทีเดียว. ิ จากหนังสือ ชีวิตทีจตใฝ่ หา ิ พระไพศาล วิสาโล พุทธศาสนาก็สอนเรืองกรรม ฮินดู นิครนถ์ ก็สอนเรืองกรรม ทังนัน ก็เข ้าใจว่าคําสอนใน ศาสนาเหล่านีเหมือนกัน ทีจริงไม่เหมือนในศาสนาฮินดู เขามีหลักกรรมเหมือนกัน ทีว่าในตัว คนแต่ละคนมีอาตมัน บุคคคลแต่ละคนกระทํากรรม กรรม เป็ นเครืองปิ ดบังอาตมัน ด ้วยอํานาจ กรรมนี บุคคลจึงต ้องเวียนว่ายตายเกิด ไปจนกว่าจะ บริสทธิหลุดพ ้นอันนี ดูเผินๆก็คล ้ายกับของ ุ พุทธศาสนา แต่ศาสนาฮินดูสอนหลักกรรมเพือเป็ น ฐานรองรับการแบ่งแยกวรรณะ ส่วนพระ พุทธศาสนาสอนหลักกรรมเพือหักล ้างเรืองวรรณะ หลัก กรรมของศาสนาทังสอง จะเหมือน กันได ้อย่างไรตรงกันแต่ชอเท่านัน ส่วนในศาสนานิครนถ์ ื ก็มความเชือในสาระสํ าคัญของกรรม ี
  • 18. คล ้ายกันอย่างนี พระพุทธเจ ้าเคยตรัสเล่าความเชือเรือง กรรมของนิครนถ์ "พระพุทธองคตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณพวกหนึงมีวาทะมีทิฐิอยางนี้วาสุขก็ ่ ดี ทุกขก็ดี อยางหนึ่งอยางใดที่ไดเสวย ทั้งหมดนั้นเปนเพราะกรรมที่ตัวไดทําไวในปาง กอนโดย นัยดังนี้ เพราะกรรมเกาหมดสิ้นไปดวยตบะ ไมทํากรรมใหมกจะไมถูก บังคับตอไป ็ เพราะไม ถูกบังคับตอไปก็สนกรรม เพราะสินกรรมก็สิ้นทุกขเพราะสิ้นทุกข ก็สนเวทนา เพราะ ิ้ ้ ิ้ สิ้นเวทนา ก็เปนอันสลัดทุกขไดหมดสิ้น ภิกษุทงหลาย พวกนิครนถ มีวาทะอยางนี้ อันนีมาใน ั้ ้ เทวทหสูตร พระไตรปฎกเลม ๑๔ มัชฌิมนิกายอุปริปณณาสก พุทธพจนทยกมาอางนี้ แสดงลัทธิ ี่ นิครนถ หรือศาสดามหาวีระ นิครนถนาฏบุตร ที่เขา เรียกกันทั่วไปวา ศาสนาเชน ศาสนาเชน วา ปุพเพกตวาท เมื่อเขาใจหลักกรรม โดยการเปรียบเทียบกับ ๓ ลัทธิที่วามานี้แลว อาตมภาพเห็นวาก็จะ แก ไขขอคลาดเคลือนสับสนขางตนใหหมดเหมือนกัน คือความคลาดเคลื่อนในแง ่ ความหมาย ของศัพทอยางทีเ่ ขาใจกันทัวไปก็ตาม หรือความคลาดเคลื่อนในแงทัศนคติก็ตาม อันนี้ ่ แกไข ไดหมดเพราะฉะนันเราจะตองทําความเขาใจหลักกรรมของเราใหถูกตอง อยาปนกับ ้ นิครนถ ในศาสนาของนิครนถ เขาถือลัทธิกรรมเกา สุขทุกขอะไร เราจะไดรับอยางไรก็เพราะ กรรม เกาทั้งสิน เขาจึงสอนใหทํากรรมเกานันใหหมดไปเสีย แลวไมทํากรรมใหม ้ ้ ทีนี้ กรรมเกาจะหมดไปไดอยางไร ?
  • 19. กรรมเกาจะหมดไปไดก็ดวยการบําเพ็ญตบะ พวกนี้ก็เลยบําเพ็ญทุกรกิริยา ทําอัตตกิ ลมถานุ โยคที่พระพุทธองคกเ็ คยทรงไปบําเพ็ญเมื่อกอนตรัสรู มาบําเพ็ญอยูถง ๖ ป จนแน ึ พระทัยแลว ก็ทรงประกาศวา เปนขอปฏิบัติที่ผิดไมไดผลอะไรพวกนิครนถไมตองการทํากรรมใหม กรรม เกาก็หมดไปดวยตบะ ขอใหเทียบหลักนี้ กับคําสอนในทางพุทธศาสนา ในสฬายตนวรรค สังยุต ตนิกาย พระไตรปฎก เลม ๑๘ มีพุทธพจน วาดวยเรืองกรรมไวในแงหนึง พระองคตรัส ่ ่ วา "เราจะแสดงกรรมเกากรรมใหม ความดับกรรม และทางดับกรรม" แลวพระพุทธองคก็ตรัสวา "กรรมเกาคืออะไร ?"กรรมที่พุทธศาสนาสอนไวในที่ตางๆ แลวจะเห็นวา มุงหมายให เกิดการกระทํา และที่พระ พุทธเจาปฏิเสธหลักรรมในศาสนาเกา ก็เพราะหลักกรรมในศาสนานัน ไมสงเสริมให ้ เกิดฉันทะ ความเพียรพยายามในการกระทํา เพราะฉะนัน ถาหลักกรรมของเราไดสอนกันไปแลว ทําใหไมเกิดฉันทะความเพียร ้ พยายาม