SlideShare a Scribd company logo
สิ่งมี
ชีวิต
ประชา
กร
ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้
ย่อยสลาย
สารอนินท
รีย์
สาร
อินทรีย์
สภาพแวดล้อม
ทางกายภาพ
ส่วนประกอบที่
ไม่มีชีวิต
ระบบ
นิเวศ
โลกของสิ่ง
มีชีวิต
บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความหมายของนิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา (ecology) มาจากคำาภาษากรีกสองคำาคือ Eco (okios) หมาย
ถึง ที่อยู่หรือบ้าน กับ ology ซึ่งแปลว่า ศึกษา รวมความแล้วหมายถึง ศาสตร์ที่
ว่าด้วยการศึกษาเรื่องบ้าน ซึ่งบ้านในที่นี้หมายถึงธรรมชาติ หรือการศึกษาที่ว่า
ด้วยความสัมพันธ์ที่มีต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ในแง่ของอิทธิพลของ
ทั้งสองสิ่งที่มีต่อกันและกันนั่นเอง
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ หมายถึง ระบบที่มีความสลับซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน
และการกระทำาร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันหรือกับสิ่งไม่มีชีวิตใน
พื้นที่หรืออาณาเขตหนึ่งอาณาเขตใด และจะเป็นระบบเปิด เพราะว่ามีการถ่ายทอด
พลังงานและแร่ธาตุไปสู่หรือได้จากระบบอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงหรือห่างไกลอีกด้วย
สารและแร่ธาตุอาหารจะเป็นสะพานเชื่อมระหว่างระบบนิเวศแต่ละระบบเข้าด้วยกัน
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
ลักษณะโครงสร้างหรือองค์ประกอบของระบบนิเวศนั้นมีส่วนประกอบสำาคัญ
2 ส่วนใหญ่ คือ องค์ประกอบ
ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต (Abiotic component) แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ มี ชี วิ ต (Biotic
component) โดยมีรายละเอียดแต่ละองค์ประกอบดังนี้ (รูปที่ 3.1)
รูปที่ 3.1 ส่วนประกอบของระบบนิเวศ (ดัดแปลงจาก ปรีชาและนงลักษณ์,
2544)
1) องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต แบ่งเป็น 3 พวก
1.1 สารอนินทรีย์ เช่น คาร์บอน ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ นำ้าและ
ออกซิเจน เป็นต้น
1
1.2 สารอินทรีย์ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ฮิวมัส และไวตามิน
เป็นต้น ซึ่งสารเหล่านี้เกิดจากปฏิกิริยาชีวเคมีของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ พืช และ
สัตว์
1.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น
ความเค็ม และความเป็นกรดหรือด่าง
ภูมิประเทศ เป็นต้น ซึ่งจะมีผลต่อความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
2) องค์ประกอบที่มีชีวิต แบ่งเป็น 3 พวก คือ
2.1 ผู้ผลิต (producer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้ด้วย
ตนเองจาก
2.2 ผู้บริโภค (consumer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหาร
เองได้ เรียกว่า เฮทเทอโรโทรฟ (Heterotroph) ซึ่งจะใช้สารอาหารจากผู้ผลิต
อีกทีหนึ่ง ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 พวก
2.2.1 ผู้บริโภคขั้นปฐมภูมิ หรือผู้บริโภคอันดับ 1 (primary
consumer) คือ พวกที่กินพืชเป็นอาหาร (herbivores) ได้แก่ สัตว์เคี้ยวเอื้อง
แพลงก์ตอนสัตว์ (zooplankton) คือ พวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กต้อง
ส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ สามารถลอยนำ้าได้ และพวกโปรโตซัว สัตว์หน้าดิน
หรือเบนทอส (benthos) เป็นต้น
2.2.2 ผู้บริโภคขั้นทุติยภูมิ หรือผู้บริโภคอันดับ 2 (secondary
consumer) คือ พวกที่กินสัตว์กินพืชอีกทีหนึ่ง คือ สัตว์ผู้กินผู้บริโภคปฐมภูมิ
นั่นเอง เรียกได้อีกอย่างว่าผู้บริโภค (carnivores) ได้แก่ เสือ นกบางชนิด และ
แมลงที่เป็นผู้ล่าขนาดใหญ่ เป็นต้น
2.2.3 ผู้บริโภคขั้นตติยภูมิ หรือผู้บริโภคอันดับ 3 (tertiary
consumer) คือ ผู้บริโภคที่กินผู้บริโภค
ทุติยภูมิอีกทีหนึ่ง ซึ่งก็จัดเป็นผู้บริโภคสัตว์ เช่นเดียวกับผู้บริโภคทุติยภูมิ เช่น
แมวที่กินนก ซึ่งกินแมลงกินพืชอีกทีหนึ่ง (พืช คือ ผู้ผลิต แมลง คือ ผู้บริโภค
ปฐมภูมิ นก คือ ผู้บริโภคทุติยภูมิ และแมวคือ ผู้บริโภคตติยภูมิ)
2.3 ผู้ย่อยสลาย (decomposer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่สร้าง
อาหารเองไม่ได้ เช่น แบคทีเรีย (Bacteria) เห็ดรา (Fungi) มีหน้าที่ช่วยทำาลาย
หรือย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้เน่าเปื่อยผุพัง ให้เป็นสารโมเลกุลเล็กแล้วดูดซึม
เข้าไปใช้เป็นอาหาร
การทำางานของระบบนิเวศ
การทำางานของระบบนิเวศเกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบ
ต่างๆในระบบ โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต จะ
ทำาให้เกิดการถ่ายทอดพลังงานและอาหารตามลำาดับขั้นของการกิน การหมุนเวียน
ของแร่ธาตุ และแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
ด้วยกัน จะเป็นความสัมพันธ์ระดับประชากร เช่น การอยู่รวมกันเป็นฝูงของสัตว์
ชนิดเดียวกัน และการอาศัยอยู่ร่วมกันระหว่างสัตว์หลายชนิดโดยมิได้เบียดเบียน
ซึ่งกันและกัน หรือฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ ดังนั้นการ
ศึกษาลักษณะการทำางานของระบบนิเวศ ทำาให้สามารถเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และผลกระทบของมนุษย์ต่อระบบนิเวศได้
2
1. การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหาร
แสดงทิศทางการไหลของพลังงาน (energy flow) เป็นแบบ
unidirectional หรือ non cyclic
(หัวลูกศรเป็นผู้รับการถ่ายทอดพลังงาน)
แสดงทิศทางการไหลของสารเป็นแบบ cyclic หรือ miceral
cyclic
(หัวลูกศรหมายถึงผู้บริโภคหรือผู้รับการถ่ายทอดสาร)
รูปที่ 3.2 แสดงทิศทางการไหลของสารและพลังงาน
1.2 ความสัมพันธ์เชิงอาหาร
ความสัมพันธ์เชิงอาหารขึ้นอยู่กับขนาดของชุมชนว่ามีขนาดเล็กหรือใหญ่
และมีจำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตมากน้อยอย่างไร ถ้าหากชุมชนนั้นมีขนาดใหญ่
และมีจำานวนของสิ่งมีชีวิตมาก ความสัมพันธ์เชิงอาหารจะยุ่งยากและซับซ้อนมาก
แต่ถ้าหากชุมชนนั้นมีขนาดเล็กและมีจำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตน้อย ความสัมพันธ์
เชิงอาหารจะเป็นแบบง่ายๆ ไม่ยุ่งยากและซับซ้อนมากนัก ความสัมพันธ์เชิง
อาหารแบ่งออกเป็น
1) โซ่อาหาร (food chain) คือ ลักษณะที่มีการกินกันเป็น
ทอดๆ และมีลักษณะเป็นเส้นตรง สิ่งมีชีวิต
หนึ่งมีการกินอาหารเพียงชนิดเดียวเท่านั้น สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีหน้าที่เชิง
อาหารตามลำาดับ เช่น โซ่อาหาร เป็น
ผักกาดขาว แมลงกินพืช กบ งู
เหยี่ยว
โดยอาจแบ่งเป็น
1.1) โซ่อาหารแบบจับกิน (predator chain
1.2) โซ่อาหารแบบปรสิต (parasitic chain)
1.3) โซ่อาหารแบบเศษอินทรีย์ (detritus chain)
2) สายใยอาหาร (food web) ประกอบด้วยห่วงโซ่อาหาร
หลายห่วงเชื่อมโยงกันและมีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่าพืชหรือสัตว์ที่อยู่ในระดับตำ่าจะ
เป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตในระดับสูงหลายชนิด ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
ชุมชนส่วนใหญ่อยู่ในรูปใยอาหาร ลักษณะที่สำาคัญของใยอาหารจึงมีความสลับ
ซับซ้อนและช่วยรักษาสมดุลของธรรมชาติ
3
ดวง
อาทิตย์
(sun)
ผู้ผลิต
(produ
cer)
ผู้บริโภค
พืช
(herbiv
ores)
ผู้บริโภค
สัตว์
(carnivo
res)
ผู้ย่อยสลาย
(decomp
oser)
แหล่งโภชนะ
(nutrient
pool)
ความสัมพันธ์ในลักษณะการกินที่เกี่ยวโยงกันและมีความซับซ้อนนี้เรียกว่า สายใย
อาหาร (food Web) หรือข่ายใยอาหาร
รูปที่ 3.4 แสดงสายใยอาหาร (food web)
1.3 ความสัมพันธ์ระดับประชากรในระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กัน 2 ลักษณะ คือ
1) สัมพันธ์ในพวกหรือชนิดเดียวกัน (intraspecific
relationship) มีทั้งที่ได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ เช่น
การรวมฝูงกันของปลา
2) สัมพันธ์ในพวกที่ต่างชนิดกัน (interspecific relationship)
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
2.1 ก า ร อ ยู่ร่ว ม กัน แ บ บ พึ่ง พ า อ า ศัย กัน (symbiosis)
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
โดยที่ทั้งสองฝ่ายได้รับประโยชน์ (+ , +) หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ (+
, 0) โดยไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเสียประโยชน์ (-)
2.2 การอยู่ร่วมกันแบบเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (antagonism)
การอยู่ร่วมกันแบบปฏิปักษ์ จะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์
(+ , - หรือ 0 , -) หรือทั้งสองฝ่ายเสียประโยชน์ (- , -) แบ่งออกเป็น
2.2.1 การแสวงผลประโยชน์ (exploitation : + , -)
เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้
ประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ แบ่งออกเป็น
(1) ภาวะมีปรสิต (parasitism : + , -) เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่งเรียก
ว่าปรสิต (parasite) ซึ่งเป็นฝ่ายได้รับประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่าผู้ถูก
อาศัย (host) ซึ่งเป็นฝ่ายที่เสียประโยชน์
2.2.2 ภาวะมีการแข่งขัน (competition : - , -) เป็นการ
อยู่ร่วมกันที่ต้องแข่งขันแก่งแย่งกัน ทำา
ให้ทั้งสองฝ่ายเสียประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่ การแข่งขันนี้อาจเกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิต
ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันที่อยู่ในแหล่งเดียวกัน เพราะต้องการใช้วัตถุดิบ
ชนิดเดียวกัน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย และแสงสว่าง เป็นต้น
(1) การแข่งขันกันเป็นหัวหน้าฝูงในฤดูผสมพันธุ์ซึ่งต้องต่อสู้กันทำาให้ได้รับ
บาดเจ็บล้มตายได้
4
(2) การแข่งขันกันเกาะหินของหอยนางรม และเพรียงหิน ซึ่งต้องการที่
เกาะแบบเดียวกัน
2.2.3 การต่อต้าน หรือการสร้างสารทำาลายกัน
(antibiosis : 0 , -) เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่ง
ไม่ได้รับประโยชน์ แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ โดยที่ฝ่ายหนึ่งสร้างสารมา
ทำาลายอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น
(1) การอยู่ร่วมกันของรา (Penicillium notatum) และแบคทีเรีย โดย
ราจะสร้างสารเพนิซิลลิน (penicillin) ออกมาฆ่าแบคทีเรีย จะเห็นได้ว่าราไม่
ได้รับประโยชน์โดยตรง แต่แบคทีเรียเสียประโยชน์ แต่ราอาจได้รับประโยชน์
โดยอ้อมโดยที่เมื่อแบคทีเรียตายไป ทำาให้ผู้ที่แบ่งอาหารลดน้อยลงและทำาให้รา
ได้รับอาหารมากขึ้น ทำาให้โคโลนีของราเจริญได้ดีขึ้น
(2) สาหร่ายสีเขียว (Chlorella vulgaris) สามารถสร้างสารยับยั้งการ
เจริญเติบโตของไดอะตอม (Nizschia frustrualum) และสารจากไดอะตอม
ก็สามารถลดอัตราการแบ่งตัวของสาหร่ายสีเขียวชนิดนี้ได้
2.3 การอยู่ร่วมกันแบบเป็นกลาง (neutralism : 0 , 0)
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ โดยไม่มีความ
เกี่ยวข้องกันโดยตรง ทำาให้ไม่มีการได้เปรียบและเสียเปรียบเกิดขึ้น แต่ในสภาพ
ความเป็นจริงแล้ว อาจมีความเกี่ยวข้องกันบ้าง เช่น เสือกับหญ้า โดยที่เสือไม่
กินหญ้าแต่สัตว์ที่เป็นอาหารเสือหลายชนิด กินหญ้าเป็นอาหาร เช่น วัว กวาง
ฯลฯ ดังนั้นในทางอ้อมแล้ว เสือกับหญ้าก็มีความเกี่ยวข้องกันอยู่บ้าง
1.5 ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ
กับสิ่งมีชีวิต
ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต มีดังนี้
1. แสง
2. อุณหภูมิ
3. ก๊าซ ที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต คือ
3.1) ก๊าซออกซิเจน 3.2) คาร์บอนไดออกไซด์
4. แร่ธาตุ แร่ธาตุที่สำาคัญได้แก่
1) ไนโตรเจน (nitrogen) 2) ฟอสฟอรัส
(phosphorus)
3) โพแทสเซียม (potassium) 4) แคลเซียม
(calcium) 5) กำามะถัน (sulphur)
5. ความเค็ม
6. นำ้าและความชื้น
7. กระแสลม
8. ความเป็นกรด-เบส
การหมุนเวียนของแร่ธาตุในระบบนิเวศ
5
วัฏจักรของนำ้า (hydrological cycle หรือ water
cycle)
รูปที่ 1 แสดงวัฏจักรของนำ้า (water cycle)
วัฏจักรคาร์บอน (carbon cycle)
รูปที่ 2 แสดงวัฏจักรของคาร์บอน (carbon cycle)
วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle)
6
รูปที่ 3 แสดงวัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle)
วัฏจักรกำำมะถัน (Sulfur cycle)
รูปที่ 4 แสดงวัฏจักรกำำมะถัน (Sulfer cycle)
วัฏจักรของฟอสฟอรัส (phosphorus cycle)
7
รูปที่ 3.5 แสดงวัฏจักรของฟอสฟอรัส (phosphorus cycle)
กำรเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ
กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ (succession) หมำยถึง กระบวนกำร
ที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตพวกใดพวกหนึ่งเข้ำครอบครองแทนที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอีกพวกหนึ่งใน
บริเวณแหล่งที่อยู่เดียวกันอย่ำงมีลำำดับขั้น เมื่อระบบนิเวศมีกำรเปลี่ยนแปลงไป
จำกเดิมจนกระทั่งได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดยอด (climax community) ซึ่งไม่มี
กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ต่อไปเกิดเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสภำวะสมดุล กำร
เปลี่ยนแปลงแทนที่สำมำรถจำำแนกตำมลักษณะท้องที่ได้เป็น
1. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (primary succession)
คือ กระบวนกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เริ่มจำก
บริเวณที่ไม่มีกลุ่มสิ่งมีชีวิตใดๆ อยู่ก่อนเลย เพรำะเป็นบริเวณท้องที่ที่เกิดใหม่
เช่น สันทรำยที่โผล่จำกกำรเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกหรือหินละลำยจำก
ภูเขำไฟ (lava) ที่เพิ่งเย็นตัวลงเมื่อเวลำผ่ำนไปนับพันปีหรือหมื่นปี
2. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ (secondary succession)
คือ กระบวนกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เริ่มจำกบริเวณที่เคยมีสิ่งมีชีวิต
อยู่ก่อนแล้วแต่ถูกทำำลำยไป เช่น กำรสร้ำงเขื่อน กำรพังทลำยของภูเขำ กำร
เกิดภูเขำไฟระเบิด ทำำให้ผิวโลกเปลี่ยนแปลงและสิ่งมีชีวิตบริเวณนั้นตำยลง กำร
เปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิจะเกิดขึ้นได้รวดเร็วกว่ำแบบปฐมภูมิ เพรำะควำม
อุดมสมบูรณ์ของอำหำรมีมำกกว่ำ วิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตในกำรเปลี่ยนแปลง
แทนที่แบบทุติยภูมิโดยปกติจะเริ่มจำกกำรเป็นทุ่งหญ้ำแล้วเปลี่ยนสภำพไปเป็นป่ำ
ละเมำะหรือป่ำไม้พุ่ม ในที่สุดก็จะกลำยเป็นป่ำไคลแมกซ์ (climax forest) ซึ่ง
เป็นขั้นที่สมบูรณ์แล้ว
หนังสืออ่ำนประกอบ
8
เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (120-101) จัดทำำ
โดย คณำจำรย์คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยสยำม. 2552 . โรง
พิมพ์จำมจุรีโปรดักส์
คำำถำมท้ำยบท
1. นักศึกษำลองยกตัวอย่ำง ห่วงโซ่อำหำรมำคนละ 1 ห่วงโซ่ พร้อม
ทั้งอธิบำยว่ำสิ่งมีชีวิตใดเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภคอันดับหนึ่ง และผู้บริโภค
ขั้นสุดท้ำย
2. นำย ก เป็นเพื่อนร่วมห้องของ นำย ข แต่นำย ข ไม่เคยช่วยงำน
นำย ก เลย ถำมว่ำควำมสัมพันธ์ของนำย ก และ นำย ข เป็นแบบใด
3. จำกวัฏจักรที่นักศึกษำได้เรียนรู้มำ นักศึกษำคิดว่ำเป็นวัฏจักรใดก่อ
ให้เกิดปัญหำโลกร้อนมำกที่สุด
4. เหตุใด กำรที่เกษตรกรปลูกพืชติดกับนำกุ้ง นำเกลือ จึงมีผลกระ
ทบต่อผลผลิตของเกษตรกร
5. กำรเปลี่ยนแปลงแบบปฐมภูมิ ต่ำงกับ ทุติยภูมิอย่ำงไร
9
เอกสารประกอบการสอนวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (120-101) จัดทำา
โดย คณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. 2552 . โรง
พิมพ์จามจุรีโปรดักส์
คำาถามท้ายบท
1. นักศึกษาลองยกตัวอย่าง ห่วงโซ่อาหารมาคนละ 1 ห่วงโซ่ พร้อม
ทั้งอธิบายว่าสิ่งมีชีวิตใดเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภคอันดับหนึ่ง และผู้บริโภค
ขั้นสุดท้าย
2. นาย ก เป็นเพื่อนร่วมห้องของ นาย ข แต่นาย ข ไม่เคยช่วยงาน
นาย ก เลย ถามว่าความสัมพันธ์ของนาย ก และ นาย ข เป็นแบบใด
3. จากวัฏจักรที่นักศึกษาได้เรียนรู้มา นักศึกษาคิดว่าเป็นวัฏจักรใดก่อ
ให้เกิดปัญหาโลกร้อนมากที่สุด
4. เหตุใด การที่เกษตรกรปลูกพืชติดกับนากุ้ง นาเกลือ จึงมีผลกระ
ทบต่อผลผลิตของเกษตรกร
5. การเปลี่ยนแปลงแบบปฐมภูมิ ต่างกับ ทุติยภูมิอย่างไร
9

More Related Content

What's hot

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
suttidakamsing
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศKru NoOk
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศPoonyawee Pimman
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
Green Greenz
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
kkrunuch
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 

What's hot (18)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

การคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้างการคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
Donyawan Kritaisong
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4pageใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 

Viewers also liked (10)

การคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้างการคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
การคำนวณระยะเวลาก่อสร้าง
 
3p
3p3p
3p
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
 
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4pageใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 

Similar to ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
Tin Savastham
 
01 key 48
01 key 4801 key 48
01 key 48
Krupol Phato
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
chirapa
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
ssuserf6586a
 
01ok 48
01ok 4801ok 48
01ok 48
Krupol Phato
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
Patcharee Punlaban
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง10846
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Khaojaoba Apple
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มkrupornpana55
 

Similar to ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (20)

File
FileFile
File
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
01 key 48
01 key 4801 key 48
01 key 48
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
01ok 48
01ok 4801ok 48
01ok 48
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
Porntipa 1
Porntipa 1Porntipa 1
Porntipa 1
 
Porntipa 1
Porntipa 1Porntipa 1
Porntipa 1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

  • 1. สิ่งมี ชีวิต ประชา กร ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ ย่อยสลาย สารอนินท รีย์ สาร อินทรีย์ สภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ส่วนประกอบที่ ไม่มีชีวิต ระบบ นิเวศ โลกของสิ่ง มีชีวิต บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความหมายของนิเวศวิทยา นิเวศวิทยา (ecology) มาจากคำาภาษากรีกสองคำาคือ Eco (okios) หมาย ถึง ที่อยู่หรือบ้าน กับ ology ซึ่งแปลว่า ศึกษา รวมความแล้วหมายถึง ศาสตร์ที่ ว่าด้วยการศึกษาเรื่องบ้าน ซึ่งบ้านในที่นี้หมายถึงธรรมชาติ หรือการศึกษาที่ว่า ด้วยความสัมพันธ์ที่มีต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ในแง่ของอิทธิพลของ ทั้งสองสิ่งที่มีต่อกันและกันนั่นเอง ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ หมายถึง ระบบที่มีความสลับซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน และการกระทำาร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันหรือกับสิ่งไม่มีชีวิตใน พื้นที่หรืออาณาเขตหนึ่งอาณาเขตใด และจะเป็นระบบเปิด เพราะว่ามีการถ่ายทอด พลังงานและแร่ธาตุไปสู่หรือได้จากระบบอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงหรือห่างไกลอีกด้วย สารและแร่ธาตุอาหารจะเป็นสะพานเชื่อมระหว่างระบบนิเวศแต่ละระบบเข้าด้วยกัน องค์ประกอบของระบบนิเวศ ลักษณะโครงสร้างหรือองค์ประกอบของระบบนิเวศนั้นมีส่วนประกอบสำาคัญ 2 ส่วนใหญ่ คือ องค์ประกอบ ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต (Abiotic component) แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ มี ชี วิ ต (Biotic component) โดยมีรายละเอียดแต่ละองค์ประกอบดังนี้ (รูปที่ 3.1) รูปที่ 3.1 ส่วนประกอบของระบบนิเวศ (ดัดแปลงจาก ปรีชาและนงลักษณ์, 2544) 1) องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต แบ่งเป็น 3 พวก 1.1 สารอนินทรีย์ เช่น คาร์บอน ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ นำ้าและ ออกซิเจน เป็นต้น 1
  • 2. 1.2 สารอินทรีย์ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ฮิวมัส และไวตามิน เป็นต้น ซึ่งสารเหล่านี้เกิดจากปฏิกิริยาชีวเคมีของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ พืช และ สัตว์ 1.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น ความเค็ม และความเป็นกรดหรือด่าง ภูมิประเทศ เป็นต้น ซึ่งจะมีผลต่อความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 2) องค์ประกอบที่มีชีวิต แบ่งเป็น 3 พวก คือ 2.1 ผู้ผลิต (producer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้ด้วย ตนเองจาก 2.2 ผู้บริโภค (consumer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหาร เองได้ เรียกว่า เฮทเทอโรโทรฟ (Heterotroph) ซึ่งจะใช้สารอาหารจากผู้ผลิต อีกทีหนึ่ง ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 พวก 2.2.1 ผู้บริโภคขั้นปฐมภูมิ หรือผู้บริโภคอันดับ 1 (primary consumer) คือ พวกที่กินพืชเป็นอาหาร (herbivores) ได้แก่ สัตว์เคี้ยวเอื้อง แพลงก์ตอนสัตว์ (zooplankton) คือ พวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กต้อง ส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ สามารถลอยนำ้าได้ และพวกโปรโตซัว สัตว์หน้าดิน หรือเบนทอส (benthos) เป็นต้น 2.2.2 ผู้บริโภคขั้นทุติยภูมิ หรือผู้บริโภคอันดับ 2 (secondary consumer) คือ พวกที่กินสัตว์กินพืชอีกทีหนึ่ง คือ สัตว์ผู้กินผู้บริโภคปฐมภูมิ นั่นเอง เรียกได้อีกอย่างว่าผู้บริโภค (carnivores) ได้แก่ เสือ นกบางชนิด และ แมลงที่เป็นผู้ล่าขนาดใหญ่ เป็นต้น 2.2.3 ผู้บริโภคขั้นตติยภูมิ หรือผู้บริโภคอันดับ 3 (tertiary consumer) คือ ผู้บริโภคที่กินผู้บริโภค ทุติยภูมิอีกทีหนึ่ง ซึ่งก็จัดเป็นผู้บริโภคสัตว์ เช่นเดียวกับผู้บริโภคทุติยภูมิ เช่น แมวที่กินนก ซึ่งกินแมลงกินพืชอีกทีหนึ่ง (พืช คือ ผู้ผลิต แมลง คือ ผู้บริโภค ปฐมภูมิ นก คือ ผู้บริโภคทุติยภูมิ และแมวคือ ผู้บริโภคตติยภูมิ) 2.3 ผู้ย่อยสลาย (decomposer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่สร้าง อาหารเองไม่ได้ เช่น แบคทีเรีย (Bacteria) เห็ดรา (Fungi) มีหน้าที่ช่วยทำาลาย หรือย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้เน่าเปื่อยผุพัง ให้เป็นสารโมเลกุลเล็กแล้วดูดซึม เข้าไปใช้เป็นอาหาร การทำางานของระบบนิเวศ การทำางานของระบบนิเวศเกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบ ต่างๆในระบบ โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต จะ ทำาให้เกิดการถ่ายทอดพลังงานและอาหารตามลำาดับขั้นของการกิน การหมุนเวียน ของแร่ธาตุ และแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ด้วยกัน จะเป็นความสัมพันธ์ระดับประชากร เช่น การอยู่รวมกันเป็นฝูงของสัตว์ ชนิดเดียวกัน และการอาศัยอยู่ร่วมกันระหว่างสัตว์หลายชนิดโดยมิได้เบียดเบียน ซึ่งกันและกัน หรือฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ ดังนั้นการ ศึกษาลักษณะการทำางานของระบบนิเวศ ทำาให้สามารถเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และผลกระทบของมนุษย์ต่อระบบนิเวศได้ 2
  • 3. 1. การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหาร แสดงทิศทางการไหลของพลังงาน (energy flow) เป็นแบบ unidirectional หรือ non cyclic (หัวลูกศรเป็นผู้รับการถ่ายทอดพลังงาน) แสดงทิศทางการไหลของสารเป็นแบบ cyclic หรือ miceral cyclic (หัวลูกศรหมายถึงผู้บริโภคหรือผู้รับการถ่ายทอดสาร) รูปที่ 3.2 แสดงทิศทางการไหลของสารและพลังงาน 1.2 ความสัมพันธ์เชิงอาหาร ความสัมพันธ์เชิงอาหารขึ้นอยู่กับขนาดของชุมชนว่ามีขนาดเล็กหรือใหญ่ และมีจำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตมากน้อยอย่างไร ถ้าหากชุมชนนั้นมีขนาดใหญ่ และมีจำานวนของสิ่งมีชีวิตมาก ความสัมพันธ์เชิงอาหารจะยุ่งยากและซับซ้อนมาก แต่ถ้าหากชุมชนนั้นมีขนาดเล็กและมีจำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตน้อย ความสัมพันธ์ เชิงอาหารจะเป็นแบบง่ายๆ ไม่ยุ่งยากและซับซ้อนมากนัก ความสัมพันธ์เชิง อาหารแบ่งออกเป็น 1) โซ่อาหาร (food chain) คือ ลักษณะที่มีการกินกันเป็น ทอดๆ และมีลักษณะเป็นเส้นตรง สิ่งมีชีวิต หนึ่งมีการกินอาหารเพียงชนิดเดียวเท่านั้น สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีหน้าที่เชิง อาหารตามลำาดับ เช่น โซ่อาหาร เป็น ผักกาดขาว แมลงกินพืช กบ งู เหยี่ยว โดยอาจแบ่งเป็น 1.1) โซ่อาหารแบบจับกิน (predator chain 1.2) โซ่อาหารแบบปรสิต (parasitic chain) 1.3) โซ่อาหารแบบเศษอินทรีย์ (detritus chain) 2) สายใยอาหาร (food web) ประกอบด้วยห่วงโซ่อาหาร หลายห่วงเชื่อมโยงกันและมีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่าพืชหรือสัตว์ที่อยู่ในระดับตำ่าจะ เป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตในระดับสูงหลายชนิด ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน ชุมชนส่วนใหญ่อยู่ในรูปใยอาหาร ลักษณะที่สำาคัญของใยอาหารจึงมีความสลับ ซับซ้อนและช่วยรักษาสมดุลของธรรมชาติ 3 ดวง อาทิตย์ (sun) ผู้ผลิต (produ cer) ผู้บริโภค พืช (herbiv ores) ผู้บริโภค สัตว์ (carnivo res) ผู้ย่อยสลาย (decomp oser) แหล่งโภชนะ (nutrient pool)
  • 4. ความสัมพันธ์ในลักษณะการกินที่เกี่ยวโยงกันและมีความซับซ้อนนี้เรียกว่า สายใย อาหาร (food Web) หรือข่ายใยอาหาร รูปที่ 3.4 แสดงสายใยอาหาร (food web) 1.3 ความสัมพันธ์ระดับประชากรในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กัน 2 ลักษณะ คือ 1) สัมพันธ์ในพวกหรือชนิดเดียวกัน (intraspecific relationship) มีทั้งที่ได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ เช่น การรวมฝูงกันของปลา 2) สัมพันธ์ในพวกที่ต่างชนิดกัน (interspecific relationship) แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 2.1 ก า ร อ ยู่ร่ว ม กัน แ บ บ พึ่ง พ า อ า ศัย กัน (symbiosis) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ โดยที่ทั้งสองฝ่ายได้รับประโยชน์ (+ , +) หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ (+ , 0) โดยไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเสียประโยชน์ (-) 2.2 การอยู่ร่วมกันแบบเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (antagonism) การอยู่ร่วมกันแบบปฏิปักษ์ จะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ (+ , - หรือ 0 , -) หรือทั้งสองฝ่ายเสียประโยชน์ (- , -) แบ่งออกเป็น 2.2.1 การแสวงผลประโยชน์ (exploitation : + , -) เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ ประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ แบ่งออกเป็น (1) ภาวะมีปรสิต (parasitism : + , -) เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่งเรียก ว่าปรสิต (parasite) ซึ่งเป็นฝ่ายได้รับประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่าผู้ถูก อาศัย (host) ซึ่งเป็นฝ่ายที่เสียประโยชน์ 2.2.2 ภาวะมีการแข่งขัน (competition : - , -) เป็นการ อยู่ร่วมกันที่ต้องแข่งขันแก่งแย่งกัน ทำา ให้ทั้งสองฝ่ายเสียประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่ การแข่งขันนี้อาจเกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันที่อยู่ในแหล่งเดียวกัน เพราะต้องการใช้วัตถุดิบ ชนิดเดียวกัน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย และแสงสว่าง เป็นต้น (1) การแข่งขันกันเป็นหัวหน้าฝูงในฤดูผสมพันธุ์ซึ่งต้องต่อสู้กันทำาให้ได้รับ บาดเจ็บล้มตายได้ 4
  • 5. (2) การแข่งขันกันเกาะหินของหอยนางรม และเพรียงหิน ซึ่งต้องการที่ เกาะแบบเดียวกัน 2.2.3 การต่อต้าน หรือการสร้างสารทำาลายกัน (antibiosis : 0 , -) เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่ง ไม่ได้รับประโยชน์ แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ โดยที่ฝ่ายหนึ่งสร้างสารมา ทำาลายอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น (1) การอยู่ร่วมกันของรา (Penicillium notatum) และแบคทีเรีย โดย ราจะสร้างสารเพนิซิลลิน (penicillin) ออกมาฆ่าแบคทีเรีย จะเห็นได้ว่าราไม่ ได้รับประโยชน์โดยตรง แต่แบคทีเรียเสียประโยชน์ แต่ราอาจได้รับประโยชน์ โดยอ้อมโดยที่เมื่อแบคทีเรียตายไป ทำาให้ผู้ที่แบ่งอาหารลดน้อยลงและทำาให้รา ได้รับอาหารมากขึ้น ทำาให้โคโลนีของราเจริญได้ดีขึ้น (2) สาหร่ายสีเขียว (Chlorella vulgaris) สามารถสร้างสารยับยั้งการ เจริญเติบโตของไดอะตอม (Nizschia frustrualum) และสารจากไดอะตอม ก็สามารถลดอัตราการแบ่งตัวของสาหร่ายสีเขียวชนิดนี้ได้ 2.3 การอยู่ร่วมกันแบบเป็นกลาง (neutralism : 0 , 0) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ โดยไม่มีความ เกี่ยวข้องกันโดยตรง ทำาให้ไม่มีการได้เปรียบและเสียเปรียบเกิดขึ้น แต่ในสภาพ ความเป็นจริงแล้ว อาจมีความเกี่ยวข้องกันบ้าง เช่น เสือกับหญ้า โดยที่เสือไม่ กินหญ้าแต่สัตว์ที่เป็นอาหารเสือหลายชนิด กินหญ้าเป็นอาหาร เช่น วัว กวาง ฯลฯ ดังนั้นในทางอ้อมแล้ว เสือกับหญ้าก็มีความเกี่ยวข้องกันอยู่บ้าง 1.5 ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ กับสิ่งมีชีวิต ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต มีดังนี้ 1. แสง 2. อุณหภูมิ 3. ก๊าซ ที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต คือ 3.1) ก๊าซออกซิเจน 3.2) คาร์บอนไดออกไซด์ 4. แร่ธาตุ แร่ธาตุที่สำาคัญได้แก่ 1) ไนโตรเจน (nitrogen) 2) ฟอสฟอรัส (phosphorus) 3) โพแทสเซียม (potassium) 4) แคลเซียม (calcium) 5) กำามะถัน (sulphur) 5. ความเค็ม 6. นำ้าและความชื้น 7. กระแสลม 8. ความเป็นกรด-เบส การหมุนเวียนของแร่ธาตุในระบบนิเวศ 5
  • 6. วัฏจักรของนำ้า (hydrological cycle หรือ water cycle) รูปที่ 1 แสดงวัฏจักรของนำ้า (water cycle) วัฏจักรคาร์บอน (carbon cycle) รูปที่ 2 แสดงวัฏจักรของคาร์บอน (carbon cycle) วัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle) 6
  • 7. รูปที่ 3 แสดงวัฏจักรไนโตรเจน (nitrogen cycle) วัฏจักรกำำมะถัน (Sulfur cycle) รูปที่ 4 แสดงวัฏจักรกำำมะถัน (Sulfer cycle) วัฏจักรของฟอสฟอรัส (phosphorus cycle) 7
  • 8. รูปที่ 3.5 แสดงวัฏจักรของฟอสฟอรัส (phosphorus cycle) กำรเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ (succession) หมำยถึง กระบวนกำร ที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตพวกใดพวกหนึ่งเข้ำครอบครองแทนที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอีกพวกหนึ่งใน บริเวณแหล่งที่อยู่เดียวกันอย่ำงมีลำำดับขั้น เมื่อระบบนิเวศมีกำรเปลี่ยนแปลงไป จำกเดิมจนกระทั่งได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดยอด (climax community) ซึ่งไม่มี กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ต่อไปเกิดเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสภำวะสมดุล กำร เปลี่ยนแปลงแทนที่สำมำรถจำำแนกตำมลักษณะท้องที่ได้เป็น 1. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (primary succession) คือ กระบวนกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เริ่มจำก บริเวณที่ไม่มีกลุ่มสิ่งมีชีวิตใดๆ อยู่ก่อนเลย เพรำะเป็นบริเวณท้องที่ที่เกิดใหม่ เช่น สันทรำยที่โผล่จำกกำรเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกหรือหินละลำยจำก ภูเขำไฟ (lava) ที่เพิ่งเย็นตัวลงเมื่อเวลำผ่ำนไปนับพันปีหรือหมื่นปี 2. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ (secondary succession) คือ กระบวนกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เริ่มจำกบริเวณที่เคยมีสิ่งมีชีวิต อยู่ก่อนแล้วแต่ถูกทำำลำยไป เช่น กำรสร้ำงเขื่อน กำรพังทลำยของภูเขำ กำร เกิดภูเขำไฟระเบิด ทำำให้ผิวโลกเปลี่ยนแปลงและสิ่งมีชีวิตบริเวณนั้นตำยลง กำร เปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิจะเกิดขึ้นได้รวดเร็วกว่ำแบบปฐมภูมิ เพรำะควำม อุดมสมบูรณ์ของอำหำรมีมำกกว่ำ วิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตในกำรเปลี่ยนแปลง แทนที่แบบทุติยภูมิโดยปกติจะเริ่มจำกกำรเป็นทุ่งหญ้ำแล้วเปลี่ยนสภำพไปเป็นป่ำ ละเมำะหรือป่ำไม้พุ่ม ในที่สุดก็จะกลำยเป็นป่ำไคลแมกซ์ (climax forest) ซึ่ง เป็นขั้นที่สมบูรณ์แล้ว หนังสืออ่ำนประกอบ 8
  • 9. เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (120-101) จัดทำำ โดย คณำจำรย์คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยสยำม. 2552 . โรง พิมพ์จำมจุรีโปรดักส์ คำำถำมท้ำยบท 1. นักศึกษำลองยกตัวอย่ำง ห่วงโซ่อำหำรมำคนละ 1 ห่วงโซ่ พร้อม ทั้งอธิบำยว่ำสิ่งมีชีวิตใดเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภคอันดับหนึ่ง และผู้บริโภค ขั้นสุดท้ำย 2. นำย ก เป็นเพื่อนร่วมห้องของ นำย ข แต่นำย ข ไม่เคยช่วยงำน นำย ก เลย ถำมว่ำควำมสัมพันธ์ของนำย ก และ นำย ข เป็นแบบใด 3. จำกวัฏจักรที่นักศึกษำได้เรียนรู้มำ นักศึกษำคิดว่ำเป็นวัฏจักรใดก่อ ให้เกิดปัญหำโลกร้อนมำกที่สุด 4. เหตุใด กำรที่เกษตรกรปลูกพืชติดกับนำกุ้ง นำเกลือ จึงมีผลกระ ทบต่อผลผลิตของเกษตรกร 5. กำรเปลี่ยนแปลงแบบปฐมภูมิ ต่ำงกับ ทุติยภูมิอย่ำงไร 9
  • 10. เอกสารประกอบการสอนวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (120-101) จัดทำา โดย คณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. 2552 . โรง พิมพ์จามจุรีโปรดักส์ คำาถามท้ายบท 1. นักศึกษาลองยกตัวอย่าง ห่วงโซ่อาหารมาคนละ 1 ห่วงโซ่ พร้อม ทั้งอธิบายว่าสิ่งมีชีวิตใดเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภคอันดับหนึ่ง และผู้บริโภค ขั้นสุดท้าย 2. นาย ก เป็นเพื่อนร่วมห้องของ นาย ข แต่นาย ข ไม่เคยช่วยงาน นาย ก เลย ถามว่าความสัมพันธ์ของนาย ก และ นาย ข เป็นแบบใด 3. จากวัฏจักรที่นักศึกษาได้เรียนรู้มา นักศึกษาคิดว่าเป็นวัฏจักรใดก่อ ให้เกิดปัญหาโลกร้อนมากที่สุด 4. เหตุใด การที่เกษตรกรปลูกพืชติดกับนากุ้ง นาเกลือ จึงมีผลกระ ทบต่อผลผลิตของเกษตรกร 5. การเปลี่ยนแปลงแบบปฐมภูมิ ต่างกับ ทุติยภูมิอย่างไร 9