SlideShare a Scribd company logo
ปรากฏการเรือนกระจก
จุดประสงค์ :
เพื่ออธิบายถึงสาเหตุที่โลกร้อนขึ้นได้
อุปกรณ์ :
ถุงพลาสติกใสขนาดใหญ่ พร้อมหนังยาง
เทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน
วันแดดจัด
วิธีทา :
1. วางเทอร์มอมิเตอร์ลงในถุงพลาสติก มัดปากถุงด้วยหนังยางให้ แน่นนาไปวาง
ไว้ในที่มีแดดจัด
2. วางเทอร์มอมิเตอร์อีกอันหนึ่ง ไว้ใกล้ๆกันแต่อยู่นอกถุง
3. หลังจากนั้น 5-10 นาที อ่านอุณหภูมิเทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองอัน
คาถาม :
- ค่าที่อ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด จึงเป็นเช่นนั้น
สาหรับครู
เทอร์มอมิเตอร์อันที่อยู่ในถุงพลาสติก มีค่าที่อ่านได้สูงกว่า เทอร์มอมิเตอร์อันที่อยู่นอกถุง ทั้งนี้
เพราะ แสงแดดส่องผ่านเข้าไปในถุงได้ง่าย เพราะถุงพลาสติกใสโปร่งแสง แสงอาทิตย์ให้ความ
ร้อน แต่ความร้อนออกจากถุงไม่ง่ายเท่าแสง จึงทาให้อุณหภูมิภายในถุงพลาสติกร้อน ถุงพลาสติก
ร้อนขึ้นเหมือนเรือนกระจก ที่ปลูกพืช
แสงอาทิตย์ ส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลกในลักษณะเช่นเดียวกันนี้ และเมื่อแสงเปลี่ยนรูปเป็น
ความร้อน ความร้อนไม่สามารถออกไปจากโลกได้ง่ายๆ ความร้อนถูกดูดซับไว้ที่ผิวโลก ทาให้เกิด
ความร้อนเหมือนโลกเป็นเรือนกระจกใหญ่
นักวิทยาศาสตร์บางคนกลัวว่า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้
เชื้อเพลิง เช่น น้ามันและถ่านหิน ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกเพิ่มขึ้น คาร์บอนไดออกไซด์
ดูดซับรังสีความร้อน และแผ่รังสีความร้อนกลับมาสู่โลก แทนที่จะกระจายออกไปในอากาศ
นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าปรากฏการณ์เช่นนี้จะทาให้โลกร้อนขึ้น และเป็นเหตุให้น้าแข็งที่ขั้วโลก
เหนือและใต้ละลาย ทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น และเกิดน้าท่วมทั่วไปบนโลก เกิดการเปลี่ยนแปลง
ของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งอาจเกิดปัญหาในเรื่องอื่นๆ ตามมาอีกด้วย
นักวิทยาศาสตร์อื่นๆ ทานายว่าอาจเกิดความหนาวเย็น เพราะมลภาวะของอากาศ อาจจะไปปิด
กั้นแสงอาทิตย์ และป้องกันการเพิ่มขึ้นของปรากฏการณ์
ประดาน้า
จุดประสงค์ :
เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างแรงกดของอากาศ และน้า
อุปกรณ์ :
ขวดน้าอัดลมที่เป็นพลาสติกขนาด 2 ลิตร
น้า
หลอดหยด (อาจใช้หลอดหยดยาหยอดตา)
วิธีทา :
1. เติมน้าในขวดพลาสติกให้เต็ม
2. ใช้หลอดหยดดูดน้าเกือบเต็มหลอดแล้วใส่หลอดหยดลงไปในขวดน้าให้อยู่ ในแนวตั้งให้ส่วนจุก
ยางอยู่เสมอผิวน้า ปิดจุดเกลียวให้สนิท
3. บีบขวดพลาสติกแรงๆ สังเกตหลอดหยดในขวด
4. คลายมือที่บีบ สังเกตหลอดหยดในขวด
คาถาม :
- เมื่อบีบขวดพลาสติกแรงๆ เกิดอะไรขึ้นกับหลอดหยด เพราะเหตุใด
- เมื่อปล่อยมือจากขวด (คลายที่บีบ) นักเรียนสังเกตเห็นหลอดหยดเป็นอย่างไร
- นักเรียนคิดว่า น้ากับอากาศอย่างไหนจะถูกกดอัดได้ง่ายกว่ากัน
- ลักษณะหลอดฉีดยาเมื่อกดขวด และปล่อยขวด เปรียบเทียบได้กับอะไร
สาหรับครู
เมื่อบีบขวด ถ้าบีบค่อยๆ อาจทาให้หลอดหยดลอยขึ้น - ลง ที่ระดับต่างๆ อากาศถูกกดอัดได้ง่าย
กว่าน้า เมื่อบีบขวด อากาศถูกอัดทาให้เหลือพื้นที่น้อยลง วัตถุที่ลอยอยู่ในน้าจึงจมลงกว่าตาแหน่ง
เดิม เรือดาน้ามีส่วนพิเศษเป็นถังน้าสาหรับถ่วงที่ใต้ท้องเรือ ให้เรือจมลงใต้น้าและเมื่อต้องการให้
เรือลอยขึ้นก็อัดอากาศเข้าไปแทน
เครื่อง X-Ray มหัศจรรย์
จุดประสงค์ :
เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักนาหลักการสะท้อนของแสง มาทาของเล่นได้
อุปกรณ์ :
กระดาษโปสเตอร์ 1 แผ่น
กรรไกรตัดกระดาษ 1 เล่ม
ไม้โปรแทรกเตอร์ 1 อัน
กล่องรองเท้า 1 ใบ
กระจกเงาระนาบ สี่เหลี่ยมใส่ในท่อกระดาษได้ 4 แผ่น
เทปกาว
หนังสือหนาๆ หรือวัตถุทึบแสง
วิธีทา :
1. ตัดกระดาษโปสเตอร์ พับทบเป็นท่อรูปตัว T 2 อัน ขนาดท่อเท่ากระจกเงา ที่ใส่ทามุม 45
องศา ดังรูป
2. เจาะฝากล่องรองเท้า ให้มีขนาดเท่าที่ ท่อกระดาษที่ตัดไว้จะใส่ลงไปได้
3. ภายในกล่องรองเท้า วางกระจกเงาที่อยู่ในท่อตัว T ทั้งคู่ การตั้งกระจกเงา ให้ตัดกระดาษแข็ง
เป็นตัวรองรับกระจก
4. ใช้หนังสือหรือวัตถุตั้งคั่นกลางระหว่างท่อตัว T ทั้ง 2 จัดเสร็จแล้วจะได้ อุปกรณ์ที่ถ้าตัดให้เห็น
ภายในจะเป็นดังรูป
5. ให้เพื่อนาวัตถุหรือสิ่งของไปวางไว้ปากท่อด้านตรงข้ามที่ตามอง บอก เพื่อนว่าเห็นอะไร เพื่อน
จะแปลกใจมากว่าทาไมจึงมองเห็นได้ทั้งๆที่มีของ ทึบแสงมากั้นไว้
คาถาม :
- นักเรียนมองเห็นวัตถุที่อยู่อีกด้านหนึ่งของท่อได้อย่างไร ในเมื่อมีวัตถุทึบ แสงมากั้นไว้ ให้เขียน
ทางเดินของแสง
- ถ้าขาดกระจกบานใดบานหนึ่ง นักเรียนจะยังคงมองเห็น วัตถุที่อยู่อีกข้างหนึ่งของท่อหรือไม่
เพราะเหตุใด
สาหรับครู
ทางเดินของแสงในเครื่องเอ็กซ์เรย์มหัศจรรย์ เกิดจากแสงจากวัตถุที่ปลายท่ออีกข้างหนึ่งเข้าไป
กระทบกระจกเงาระนาบ จนออกไปสู่สายตา ดังแผนภาพข้างล่าง
ถ้าเอากระจกบานใดบานหนึ่งออก ก็จะไม่มีการสะท้อนแสงจากวัตถุไปเข้าตา
ยกน้าแข็งด้วยก้านไม้ขีด
จุดประสงค์ :
เพื่อให้นักเรียนได้เห็นความแตกต่างของสมบัติบางประการของน้า และน้าเกลือ
อุปกรณ์ :
จาน
น้าแข็งก้อนสี่เหลี่ยม หรือกลม
ก้านไม้ขีดไฟ
เกลือป่น
วิธีทา :
1. ใส่ก้อนน้าแข็งลงในจาน แล้วค่อยๆ วางก้านไม้ขีดลงบนน้าแข็ง ลองยกก้านไม้ขีด สังเกตผล
2. ค่อยๆโรยเกลือป่นรอบๆก้านไม้ขีด
3. จับปลายก้านไม้ขีดข้างหนึ่งแล้วยกขึ้น สังเกตผล
คาถาม :
- เมื่อวางก้านไม้ขีดลงบนก้อนน้าแข็งแล้วยกไม้ขีดขึ้น ก้อนน้าแข็ง ถูกยกขึ้นมาด้วยหรือไม่
- เมื่อโรยเกลือรอบๆก้านไม้ขีด แล้วยกไม้ขีด ได้ผลอย่างไร เหตุใด จึงเป็นเช่นนั้น
- ทราบหรือไม่ว่ามีการนาหลักการนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร
สาหรับครู
เมื่อยังไม่โรยเกลือ ยกก้านไม้ขีดขึ้นมา น้าแข็งไม่ติดก้านไม้ขีดขึ้น มาด้วย แต่เมื่อโรยเกลือลงบน
ก้อนน้าแข็ง ทาให้น้าแข็งที่อยู่รอบๆ ก้านไม้ ขีดหลอมเหลว ทั้งนี้เพราะน้าเกลือแข็งตัวที่อุณหภูมิ
ต่ากว่าน้า หรือพูด อีกอย่างหนึ่งว่า น้าจะแข็งตัวที่ Oo
C ซึ่งก่อนที่น้าเกลือจะแข็งตัว แต่ไม่มีเกลือ
หล่นลงไปใต้ไม้ขีด น้าที่อยู่ใต้ไม้ขีดจึงแข็งตัวติดกับ ก้านไม้ขีด ทาให้เมื่อยกก้านไม้ขีดก้อนน้าแข็ง
จึงถูกยกขึ้นมาด้วย
ในเมืองหนาว เมื่อถนนมีน้าแข็งเกาะทาให้พื้นถนนลื่น จึงต้องมีการโรย เกลือเพื่อให้นาแข็ง
หลอมเหลว ผนวกกับความร้อนจากรถยนต์ที่ช่วยทาให้น้าปน เกลือไม่แข็งตัว จนกว่าอุณหภูมิ
ชุดดักขโมย
จุดประสงค์ :
เพื่อให้นักเรียนนาความรู้เรื่องวงจรไฟฟ้ามาประดิษฐ์ของเล่นของใช้ บางอย่างเช่น ชุดดักขโมย
อุปกรณ์ :
กรรไกร
กระดาษลูกฟูกขนาด 15 cm x 15 cm 2 แผ่น
เทปกาว
แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์
สายไฟยาว 30 cm 3 เส้น
มีดหรือคีมสาหรับปอกสายไฟ
ถ่ายไฟฉาย ขนาด D
กริ่งไฟฟ้า
วิธีทา :
1. ตัดกระดาษลูกฟูกแผ่นหนึ่งตรงกลางเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 10 cm x 10 cm
2. วางแผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ทับบนช่องสี่เหลี่ยมที่ตัดไว้
3. ใช้แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ปิดทับกระดาษลูกฟูกอีกแผ่นหนึ่ง แล้ว พับกระดาษฟอยล์ให้ตลบไป
ด้านหลังของกระดาษลูกฟูก แล้วติดเทปกาวกันหลุด
4. วางแผ่นกระดาษหุ้มฟอยล์ ทั้งสองแผ่นซ้อนกันดังรูป
5. ปอกฉนวนที่สายไฟออกทั้ง 2 ข้าง ทาทั้ง 3 เส้น
6. ติดปลายข้างหนึ่งของสายไฟเส้นที่ 1 ที่ริม กระดาษแผ่นบน แล้วติดปลายสายไฟอีกข้างหนึ่ง
เข้ากับขั้วถ่านไฟฉาย ขั้ว +
7. ติดสายไฟเส้นที่ 2 ไว้ริมฟอยล์ที่อยู่ที่กระดาษ แผ่นล่างและที่ขั้ว + ของกริ่งไฟฟ้า
8. ติดสายเส้นที่ 3 เข้ากับขั้ว - ของกริ่งและถ่านไฟ ฉายตรงขั้ว -
9. วางชุดดักขโมยที่ต่อเรียบร้อยแล้วไว้ใต้พรมหน้าประตู คอยดูผล เมื่อมีคนมาเหยียบพรม
คาถาม :
- เกิดอะไรขึ้นเมื่อมีคนมาเหยียบบนพรม
- อธิบายเหตุผลว่าสิ่งนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร
สาหรับครู
เมื่อมีคนมาเหยียบพรม กริ่งจะดังขึ้นเพราะนักเรียนทาวงจรไฟฟ้า ที่มี สวิตซ์อย่างง่ายเป็น
ส่วนประกอบ โดยเริ่มจากฟอยส์ที่อยู่บนกระดาษแผ่นบนต่อ ไปยังถ่ายไฟฉาย จากถ่านไฟฉาย
มายังสายไฟอีกเส้นที่ต่อกับขั้วหนึ่งของกริ่ง และอีกขั้วหนึ่งของกริ่งต่อไปยังฟอยล์ที่แผ่นล่าง เมื่อ
คนเดินมาเหยียบ กระดาษแผ่นบนที่ปูด้วยฟอยล์ ฟอยล์แผ่นบนจะบุ๋มลงไปในช่องกระดาษแผ่น
ล่าง ที่เจาะไว้แล้วสัมผัสกับฟอยส์ที่อยู่ที่กระดาษแผ่นล่าง เมื่อฟอยล์สัมผัส กัน ไฟฟ้าก็เดินครบ
วงจร เปรียบเสมือนนักเรียนกดสวิตซ์ไฟ กริ่งจึงดังขึ้น

More Related Content

What's hot

04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
wiriya kosit
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
ratanapornwichadee
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
Ta Lattapol
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
mayureesongnoo
 

What's hot (20)

04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
 

Viewers also liked

Question 7
Question 7Question 7
Question 7
danwj
 
A research proposal
A research proposalA research proposal
A research proposalbrfcanoy
 
Pembukaanpppp3
Pembukaanpppp3Pembukaanpppp3
Pembukaanpppp3
victor hutajulu
 
Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)
Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)
Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)
Cayla Jones
 
To be or not to be is not a thesis statement
To be or not to be is not a thesis statementTo be or not to be is not a thesis statement
To be or not to be is not a thesis statement
jonathanballcom
 
Installing windows 7
Installing windows 7Installing windows 7
Installing windows 7
pingky29
 
What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016
What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016
What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016
Ilter Dumduz
 
Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…
Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…
Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…
Basavaraj Dodamani
 
Sl au s 210 presentation trail upload
Sl au s 210 presentation trail uploadSl au s 210 presentation trail upload
Sl au s 210 presentation trail upload
kushan40
 
Отзыв о марафоне
Отзыв о марафонеОтзыв о марафоне
Отзыв о марафоне
Yaroslav Fedoryuk
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
Santiago Ortega Peña
 
Akreata
AkreataAkreata
Akreata
Sumeyra Okur
 
Its a bicycle world
Its a bicycle worldIts a bicycle world
Its a bicycle world
jdeanshare
 
L'anaconda verda
L'anaconda verdaL'anaconda verda
L'anaconda verdamariatictac
 
Marilexyrodriguez.doc
Marilexyrodriguez.docMarilexyrodriguez.doc
Marilexyrodriguez.doc
marilexy
 
Brandstormers
BrandstormersBrandstormers
Brandstormers
brandNC
 
Web 2.0
Web 2.0Web 2.0
παρουσίαση1 aqua aerobics
παρουσίαση1 aqua aerobicsπαρουσίαση1 aqua aerobics
παρουσίαση1 aqua aerobicsmarianikh
 

Viewers also liked (18)

Question 7
Question 7Question 7
Question 7
 
A research proposal
A research proposalA research proposal
A research proposal
 
Pembukaanpppp3
Pembukaanpppp3Pembukaanpppp3
Pembukaanpppp3
 
Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)
Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)
Final Portfolio (Entrepreneurship for the Public Good Summer Institute)
 
To be or not to be is not a thesis statement
To be or not to be is not a thesis statementTo be or not to be is not a thesis statement
To be or not to be is not a thesis statement
 
Installing windows 7
Installing windows 7Installing windows 7
Installing windows 7
 
What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016
What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016
What I Learnt About Building Great Products - Founders Institute - May 2016
 
Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…
Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…
Whitepaper best practices for integrated physical security supporti…
 
Sl au s 210 presentation trail upload
Sl au s 210 presentation trail uploadSl au s 210 presentation trail upload
Sl au s 210 presentation trail upload
 
Отзыв о марафоне
Отзыв о марафонеОтзыв о марафоне
Отзыв о марафоне
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
Akreata
AkreataAkreata
Akreata
 
Its a bicycle world
Its a bicycle worldIts a bicycle world
Its a bicycle world
 
L'anaconda verda
L'anaconda verdaL'anaconda verda
L'anaconda verda
 
Marilexyrodriguez.doc
Marilexyrodriguez.docMarilexyrodriguez.doc
Marilexyrodriguez.doc
 
Brandstormers
BrandstormersBrandstormers
Brandstormers
 
Web 2.0
Web 2.0Web 2.0
Web 2.0
 
παρουσίαση1 aqua aerobics
παρουσίαση1 aqua aerobicsπαρουσίαση1 aqua aerobics
παρουσίαση1 aqua aerobics
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

การทดลองสำหรับเด็กครับ

  • 1. ปรากฏการเรือนกระจก จุดประสงค์ : เพื่ออธิบายถึงสาเหตุที่โลกร้อนขึ้นได้ อุปกรณ์ : ถุงพลาสติกใสขนาดใหญ่ พร้อมหนังยาง เทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน วันแดดจัด วิธีทา : 1. วางเทอร์มอมิเตอร์ลงในถุงพลาสติก มัดปากถุงด้วยหนังยางให้ แน่นนาไปวาง ไว้ในที่มีแดดจัด 2. วางเทอร์มอมิเตอร์อีกอันหนึ่ง ไว้ใกล้ๆกันแต่อยู่นอกถุง 3. หลังจากนั้น 5-10 นาที อ่านอุณหภูมิเทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองอัน คาถาม : - ค่าที่อ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด จึงเป็นเช่นนั้น สาหรับครู เทอร์มอมิเตอร์อันที่อยู่ในถุงพลาสติก มีค่าที่อ่านได้สูงกว่า เทอร์มอมิเตอร์อันที่อยู่นอกถุง ทั้งนี้ เพราะ แสงแดดส่องผ่านเข้าไปในถุงได้ง่าย เพราะถุงพลาสติกใสโปร่งแสง แสงอาทิตย์ให้ความ ร้อน แต่ความร้อนออกจากถุงไม่ง่ายเท่าแสง จึงทาให้อุณหภูมิภายในถุงพลาสติกร้อน ถุงพลาสติก ร้อนขึ้นเหมือนเรือนกระจก ที่ปลูกพืช แสงอาทิตย์ ส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลกในลักษณะเช่นเดียวกันนี้ และเมื่อแสงเปลี่ยนรูปเป็น ความร้อน ความร้อนไม่สามารถออกไปจากโลกได้ง่ายๆ ความร้อนถูกดูดซับไว้ที่ผิวโลก ทาให้เกิด ความร้อนเหมือนโลกเป็นเรือนกระจกใหญ่ นักวิทยาศาสตร์บางคนกลัวว่า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ เชื้อเพลิง เช่น น้ามันและถ่านหิน ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกเพิ่มขึ้น คาร์บอนไดออกไซด์ ดูดซับรังสีความร้อน และแผ่รังสีความร้อนกลับมาสู่โลก แทนที่จะกระจายออกไปในอากาศ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าปรากฏการณ์เช่นนี้จะทาให้โลกร้อนขึ้น และเป็นเหตุให้น้าแข็งที่ขั้วโลก เหนือและใต้ละลาย ทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น และเกิดน้าท่วมทั่วไปบนโลก เกิดการเปลี่ยนแปลง ของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งอาจเกิดปัญหาในเรื่องอื่นๆ ตามมาอีกด้วย นักวิทยาศาสตร์อื่นๆ ทานายว่าอาจเกิดความหนาวเย็น เพราะมลภาวะของอากาศ อาจจะไปปิด กั้นแสงอาทิตย์ และป้องกันการเพิ่มขึ้นของปรากฏการณ์
  • 2. ประดาน้า จุดประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างแรงกดของอากาศ และน้า อุปกรณ์ : ขวดน้าอัดลมที่เป็นพลาสติกขนาด 2 ลิตร น้า หลอดหยด (อาจใช้หลอดหยดยาหยอดตา) วิธีทา : 1. เติมน้าในขวดพลาสติกให้เต็ม 2. ใช้หลอดหยดดูดน้าเกือบเต็มหลอดแล้วใส่หลอดหยดลงไปในขวดน้าให้อยู่ ในแนวตั้งให้ส่วนจุก ยางอยู่เสมอผิวน้า ปิดจุดเกลียวให้สนิท 3. บีบขวดพลาสติกแรงๆ สังเกตหลอดหยดในขวด 4. คลายมือที่บีบ สังเกตหลอดหยดในขวด คาถาม : - เมื่อบีบขวดพลาสติกแรงๆ เกิดอะไรขึ้นกับหลอดหยด เพราะเหตุใด - เมื่อปล่อยมือจากขวด (คลายที่บีบ) นักเรียนสังเกตเห็นหลอดหยดเป็นอย่างไร - นักเรียนคิดว่า น้ากับอากาศอย่างไหนจะถูกกดอัดได้ง่ายกว่ากัน - ลักษณะหลอดฉีดยาเมื่อกดขวด และปล่อยขวด เปรียบเทียบได้กับอะไร สาหรับครู เมื่อบีบขวด ถ้าบีบค่อยๆ อาจทาให้หลอดหยดลอยขึ้น - ลง ที่ระดับต่างๆ อากาศถูกกดอัดได้ง่าย กว่าน้า เมื่อบีบขวด อากาศถูกอัดทาให้เหลือพื้นที่น้อยลง วัตถุที่ลอยอยู่ในน้าจึงจมลงกว่าตาแหน่ง เดิม เรือดาน้ามีส่วนพิเศษเป็นถังน้าสาหรับถ่วงที่ใต้ท้องเรือ ให้เรือจมลงใต้น้าและเมื่อต้องการให้ เรือลอยขึ้นก็อัดอากาศเข้าไปแทน
  • 3. เครื่อง X-Ray มหัศจรรย์ จุดประสงค์ : เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักนาหลักการสะท้อนของแสง มาทาของเล่นได้ อุปกรณ์ : กระดาษโปสเตอร์ 1 แผ่น กรรไกรตัดกระดาษ 1 เล่ม ไม้โปรแทรกเตอร์ 1 อัน กล่องรองเท้า 1 ใบ กระจกเงาระนาบ สี่เหลี่ยมใส่ในท่อกระดาษได้ 4 แผ่น เทปกาว หนังสือหนาๆ หรือวัตถุทึบแสง วิธีทา : 1. ตัดกระดาษโปสเตอร์ พับทบเป็นท่อรูปตัว T 2 อัน ขนาดท่อเท่ากระจกเงา ที่ใส่ทามุม 45 องศา ดังรูป 2. เจาะฝากล่องรองเท้า ให้มีขนาดเท่าที่ ท่อกระดาษที่ตัดไว้จะใส่ลงไปได้ 3. ภายในกล่องรองเท้า วางกระจกเงาที่อยู่ในท่อตัว T ทั้งคู่ การตั้งกระจกเงา ให้ตัดกระดาษแข็ง เป็นตัวรองรับกระจก 4. ใช้หนังสือหรือวัตถุตั้งคั่นกลางระหว่างท่อตัว T ทั้ง 2 จัดเสร็จแล้วจะได้ อุปกรณ์ที่ถ้าตัดให้เห็น ภายในจะเป็นดังรูป
  • 4. 5. ให้เพื่อนาวัตถุหรือสิ่งของไปวางไว้ปากท่อด้านตรงข้ามที่ตามอง บอก เพื่อนว่าเห็นอะไร เพื่อน จะแปลกใจมากว่าทาไมจึงมองเห็นได้ทั้งๆที่มีของ ทึบแสงมากั้นไว้ คาถาม : - นักเรียนมองเห็นวัตถุที่อยู่อีกด้านหนึ่งของท่อได้อย่างไร ในเมื่อมีวัตถุทึบ แสงมากั้นไว้ ให้เขียน ทางเดินของแสง - ถ้าขาดกระจกบานใดบานหนึ่ง นักเรียนจะยังคงมองเห็น วัตถุที่อยู่อีกข้างหนึ่งของท่อหรือไม่ เพราะเหตุใด สาหรับครู ทางเดินของแสงในเครื่องเอ็กซ์เรย์มหัศจรรย์ เกิดจากแสงจากวัตถุที่ปลายท่ออีกข้างหนึ่งเข้าไป กระทบกระจกเงาระนาบ จนออกไปสู่สายตา ดังแผนภาพข้างล่าง ถ้าเอากระจกบานใดบานหนึ่งออก ก็จะไม่มีการสะท้อนแสงจากวัตถุไปเข้าตา
  • 5. ยกน้าแข็งด้วยก้านไม้ขีด จุดประสงค์ : เพื่อให้นักเรียนได้เห็นความแตกต่างของสมบัติบางประการของน้า และน้าเกลือ อุปกรณ์ : จาน น้าแข็งก้อนสี่เหลี่ยม หรือกลม ก้านไม้ขีดไฟ เกลือป่น วิธีทา : 1. ใส่ก้อนน้าแข็งลงในจาน แล้วค่อยๆ วางก้านไม้ขีดลงบนน้าแข็ง ลองยกก้านไม้ขีด สังเกตผล 2. ค่อยๆโรยเกลือป่นรอบๆก้านไม้ขีด 3. จับปลายก้านไม้ขีดข้างหนึ่งแล้วยกขึ้น สังเกตผล คาถาม : - เมื่อวางก้านไม้ขีดลงบนก้อนน้าแข็งแล้วยกไม้ขีดขึ้น ก้อนน้าแข็ง ถูกยกขึ้นมาด้วยหรือไม่ - เมื่อโรยเกลือรอบๆก้านไม้ขีด แล้วยกไม้ขีด ได้ผลอย่างไร เหตุใด จึงเป็นเช่นนั้น - ทราบหรือไม่ว่ามีการนาหลักการนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร สาหรับครู เมื่อยังไม่โรยเกลือ ยกก้านไม้ขีดขึ้นมา น้าแข็งไม่ติดก้านไม้ขีดขึ้น มาด้วย แต่เมื่อโรยเกลือลงบน ก้อนน้าแข็ง ทาให้น้าแข็งที่อยู่รอบๆ ก้านไม้ ขีดหลอมเหลว ทั้งนี้เพราะน้าเกลือแข็งตัวที่อุณหภูมิ ต่ากว่าน้า หรือพูด อีกอย่างหนึ่งว่า น้าจะแข็งตัวที่ Oo C ซึ่งก่อนที่น้าเกลือจะแข็งตัว แต่ไม่มีเกลือ หล่นลงไปใต้ไม้ขีด น้าที่อยู่ใต้ไม้ขีดจึงแข็งตัวติดกับ ก้านไม้ขีด ทาให้เมื่อยกก้านไม้ขีดก้อนน้าแข็ง
  • 6. จึงถูกยกขึ้นมาด้วย ในเมืองหนาว เมื่อถนนมีน้าแข็งเกาะทาให้พื้นถนนลื่น จึงต้องมีการโรย เกลือเพื่อให้นาแข็ง หลอมเหลว ผนวกกับความร้อนจากรถยนต์ที่ช่วยทาให้น้าปน เกลือไม่แข็งตัว จนกว่าอุณหภูมิ
  • 7. ชุดดักขโมย จุดประสงค์ : เพื่อให้นักเรียนนาความรู้เรื่องวงจรไฟฟ้ามาประดิษฐ์ของเล่นของใช้ บางอย่างเช่น ชุดดักขโมย อุปกรณ์ : กรรไกร กระดาษลูกฟูกขนาด 15 cm x 15 cm 2 แผ่น เทปกาว แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ สายไฟยาว 30 cm 3 เส้น มีดหรือคีมสาหรับปอกสายไฟ ถ่ายไฟฉาย ขนาด D กริ่งไฟฟ้า วิธีทา : 1. ตัดกระดาษลูกฟูกแผ่นหนึ่งตรงกลางเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 10 cm x 10 cm 2. วางแผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ทับบนช่องสี่เหลี่ยมที่ตัดไว้ 3. ใช้แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์ปิดทับกระดาษลูกฟูกอีกแผ่นหนึ่ง แล้ว พับกระดาษฟอยล์ให้ตลบไป ด้านหลังของกระดาษลูกฟูก แล้วติดเทปกาวกันหลุด 4. วางแผ่นกระดาษหุ้มฟอยล์ ทั้งสองแผ่นซ้อนกันดังรูป 5. ปอกฉนวนที่สายไฟออกทั้ง 2 ข้าง ทาทั้ง 3 เส้น 6. ติดปลายข้างหนึ่งของสายไฟเส้นที่ 1 ที่ริม กระดาษแผ่นบน แล้วติดปลายสายไฟอีกข้างหนึ่ง เข้ากับขั้วถ่านไฟฉาย ขั้ว +
  • 8. 7. ติดสายไฟเส้นที่ 2 ไว้ริมฟอยล์ที่อยู่ที่กระดาษ แผ่นล่างและที่ขั้ว + ของกริ่งไฟฟ้า 8. ติดสายเส้นที่ 3 เข้ากับขั้ว - ของกริ่งและถ่านไฟ ฉายตรงขั้ว - 9. วางชุดดักขโมยที่ต่อเรียบร้อยแล้วไว้ใต้พรมหน้าประตู คอยดูผล เมื่อมีคนมาเหยียบพรม คาถาม : - เกิดอะไรขึ้นเมื่อมีคนมาเหยียบบนพรม - อธิบายเหตุผลว่าสิ่งนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร สาหรับครู เมื่อมีคนมาเหยียบพรม กริ่งจะดังขึ้นเพราะนักเรียนทาวงจรไฟฟ้า ที่มี สวิตซ์อย่างง่ายเป็น ส่วนประกอบ โดยเริ่มจากฟอยส์ที่อยู่บนกระดาษแผ่นบนต่อ ไปยังถ่ายไฟฉาย จากถ่านไฟฉาย มายังสายไฟอีกเส้นที่ต่อกับขั้วหนึ่งของกริ่ง และอีกขั้วหนึ่งของกริ่งต่อไปยังฟอยล์ที่แผ่นล่าง เมื่อ คนเดินมาเหยียบ กระดาษแผ่นบนที่ปูด้วยฟอยล์ ฟอยล์แผ่นบนจะบุ๋มลงไปในช่องกระดาษแผ่น ล่าง ที่เจาะไว้แล้วสัมผัสกับฟอยส์ที่อยู่ที่กระดาษแผ่นล่าง เมื่อฟอยล์สัมผัส กัน ไฟฟ้าก็เดินครบ วงจร เปรียบเสมือนนักเรียนกดสวิตซ์ไฟ กริ่งจึงดังขึ้น