SlideShare a Scribd company logo
ทรัพยากรพลังงาน
1
Energy Resources
นางสาวรัตนาพร วิชาดี 610401401259
ทรัพยากรพลังงาน (Energy Resources)
พลังงาน หมายถึง แรงงงานที่ได้มาจากธรรมชาติ เช่น ได้จากน้า แสงแดด คลื่น
ลมและเชื่อเพลิงธรรมชาติ (Fossil Fuel) ซึ่งได้แก่ ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซ
ธรรมชาติ นอกจากนี้ยังได้พลังงานจาก ความร้อนใต้พิภพ แร่นิวเคลียร์ ไม่ฟืน
แกลบ และชานอ้อย พลังงานที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ เรียกว่า พลังงานต้นกาเนิด
(Primary Energy) ส่วนพลังงานที่ได้มาด้วยการนาพลังงานต้นกาเนิดดังกล่าวมา
แปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น พลังงานไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์
ปิโตรเลียม ถ่านโค๊ก และก๊าซหุงต้ม เราเรียกพลังงานประเภทนี้ว่า พลังงานแปร
รูป (Secondary Energy)
2
3
ชาวโลกได้ใช้พลังงานส่วนใหญ่ไปในการขนส่ง อุตสาหกรรม การค้า และใช้สาหรับสิ่ง
อานวยความสะดวกต่าง ๆ ในเคหะสถาน เช่น ตู้เย็น วิทยุ โทรทัศน์ พัดลม ตลอดจนผลิตภัณฑ์
ไฟฟ้าอื่น ๆ ที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาอีกจานวนมาก จะเห็นว่ายิ่งมนุษย์เจริญมากขึ้นเท่าใดก็ยิ่งต้อง
ใช้พลังงานมากขึ้นเท่านั้น การพัฒนาความเจริญในสังคมมนุษย์ จึงเท่ากับเป็นการทวีการใช้
พลังงานที่สะสมไว้ในโลกให้หมดเปลืองไปยิ่งขึ้น จึงเชื่อได้แน่ว่าทรัพยากรพลังงานโดยเฉพา
เชื้อเพลิงธรรมชาติจะต้องสูญสิ้นไปจากโลกนี้ในอนาคตอันไม่ไกลนัก
ถ่านหิน
4
ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งและเป็นแร่เชื้อเพลิง
สามารถติดไฟได้มีสีนาตาลอ่อนจนถึงสีดา มีทั้งชนิดผิวมัน
และผิวด้าน น้าหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ
4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
นอกจากนั้นมีธาตุหรือสารอื่น เช่น กามะถัน เจือปน
เล็กน้อย ถ่านหินที่มีจานวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่า
เมื่อนามาเผาจะให้ความร้อนมา ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี
ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลาดับชั้นได้เป็น 5
ประเภท คือ
5
ถ่านหิน ปริมาณความร้อน ปริมาณความชื้น ปริมารขี้เถ้า ปริมาณกามะถัน
แอนทราไซต์ สูง ต่า ต่า ต่า
บิทูมินัส สูง ต่า ต่า ต่า
ซับบิทูมินัส ปานกลาง-สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
ลิกไนต์ ต่า-ปานกลาง สูง สูง ต่า-สูง
พีต ต่า สูง สูง สูง
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ของถ่านหินแต่ละชนิด
ปริมาณสารองถ่านหินทั่วโลก
ถ่านหินเป็น เชื้อเพลิงทางเลือกที่มีความสาคัญแหล่งพลังงานที่สาคัญ ข้อเด่นของถ่านหิน คือ มีราคาถูก มีเสถียรภาพ
การขนส่งปลอดภัย และมีปริมาณสารองมาก เมื่อเทียบกับก๊าซธรรมชาติหรือน้ามัน กล่าวคือ มีปริมาณสารองถ่านหิน
ในโลกมีถึง 900 พันล้านตัน และพบแหล่งถ่านหินในทุกทวีป กระจายอยู่กว่า 70 ประเทศทั่วโลก ดังนั้นถ้ามีวิธีการ
นามาใช้ที่เหมาะสมก็สามารถใช้ได้นานไม่น้อยกว่า 200 ปี เมื่อเทียบกับปริมาณน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งจะหมด
ไปในระยะเวลา 40-60 ปี ประเทศที่มีปริมาณสารองถ่านหิน (Proven Reserve) มากที่สุด 5 อันดับแรกของโลก (สถิติ
ปี 2536) ได้แก่
▰ 1.สหภาพโซเวียด 241,000 ล้านตัน
▰ 2.สหรัฐอเมริกา 240,560 ล้านตัน
▰ 3.จีน 114,500 ล้านตัน
▰ 4.ออสเตรเลีย 90,940 ล้านตัน
▰ 5.เยอรมัน(ตะวันตก) 80,069 ล้านตัน
6
7
ปิ โตรเลียม
ปิโตรเลียม คือ สารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นของผสมของโฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ ที่ยุ่งยาก
และซับซ้อน ทั้งที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว และแก๊ส หรือทั้งสามสภาพปะปนกัน แต่เมื่อ
ต้องการจะแยกประเภทออกเป็นปิโตรเลียมชนิดต่าง ๆ จะใช้คาว่า น้ามันดิบ (Crude oil) แก๊ส
ธรรมชาติ (Natural gas) และแก๊สธรรมชาติเหลว (Condensate) โดยปกติน้ามันดิบและแก๊ส
ธรรมชาติมักจะเกิดร่วมกันในแหล่งปิโตรเลียม แต่บางแหล่งอาจมีเฉพาะน้ามันดิบ บางแหล่งอาจมี
เฉพาะแก๊สธรรมชาติก็ได้ส่วนแก๊สธรรมชาติเหลวนั้นหมายถึง แก๊สธรรมชาติในแหล่งที่อยู่ลึกลง
ไปใต้ดินภายใต้สภาพอุณหภูมิและความกดดันที่สูง เมื่อถูกนาขึ้นมาถึงระดับผิวดินในขั้นตอนของ
การผลิต อุณหภูมิและความกดดันจะลดลง ทาให้แก๊สธรรมชาติกลายสภาพไปเป็นของเหลว
เรียกว่า แก๊สธรรมชาติเหลว
การเกิดปิ โตรเลียม
น้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ จะพบเกิดร่วมกับหินตะกอนที่เกิดในทะเล
เสมอ ส่วนประกอบที่สาคัญได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นส่วน
ใหญ่ มีซัลเฟอร์ไนโตรเจน และออกซิเจนเป็นส่วนน้อย ปัจจุบันนัก
ธรณีวิทยามีความเชื่อว่า น้ามันและแก๊สธรรมชาติมีต้นกาเนิดมาจาก
อินทรียวัตถุที่เป็นพืชและสัตว์
เมื่อซากอินทรียวัตถุพวกนี้ได้เกิดการสะสมตัวขึ้นแล้ว จะต้องถูกปิดทับโดยตะกอนอีก
ทอดหนึ่ง จากน้าหนักของตะกอนที่ปิดทับอุณหภูมิและความดันจะเพิ่มขึ้น เมื่อความลึก
ถึงประมาณ 2.5 กิโลเมตร จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วนของอินทรียวัตถุ โมเลกุลเดิม
จะถูกทาลายลงและเปลี่ยนไปเป็นโมเลกุลใหม่ ซึ่งให้ไฮโดรคาร์บอนในรูปของเหลวและ
แก๊สในช่องว่างของหิน ไฮโดรคาร์บอนดังกล่าวสามารถเคลื่อนย้ายไปตามช่องว่างและ
รอยแตกในหินข้างเคียง ส่วนการที่จะมารวมตัวเกิดเป็นแหล่งของน้ามันและแก๊ส
ธรรมชาติที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ อีกหลายประการ ดังภาพ
การสารวจหาแหล่งปิ โตรเลียม
โดยทั่ว ๆ ไป การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม จะเป็นวิธีการทางอ้อม ทั้งนี้ เพราะว่าแหล่งกักเก็บ
น้ามัน ซึ่งมีสิ่งบ่งชี้ให้เห็นบนผิวดินว่ามีน้ามันกักเก็บอยู่ ปัจจุบันนี้มักจะถูกพัฒนานาขึ้นมาใช้เกือบ
ทั้งนั้น ด้วยเหตุนี้ จาเป็นที่จะต้องอาศัยกรรมวิธีการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมอื่น ๆ ในบริเวณที่
นอกเหนือไปจากบริเวณดังกล่าวข้างต้น และที่อาจจะเป็นแหล่งกักเก็บของปิโตรเลียมในบริเวณที่ถูกฝัง
ลึกอยู่ในชั้นหินนับเป็นหลาย ๆ กิโลเมตร ในการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมดังกล่าว นักธรณีวิทยาจะใช้
วิธีการสารวจอยู่หลาย ๆ วิธี ดังนี้
1. การขุดเจาะหลุมเพื่อเก็บตัวอย่างหิน (Core Drilling)
2. การสารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน (Seismic Prospecting)
3. การสารวจโดยความโน้มถ่วง (Gravity Prospecting)
10
ที่มา : แผนที่แสดงแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย - Bing images
11
น้ามันดิบ (Oil)
น้ามันดิบ คือ ปิโตรเลียมที่มีสถานะเป็นของเหลวในธรรมชาติ ส่วนมากมีสีดา
หรือน้าตาล มีลักษณะเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ ปะปนกันอยู่ และ
ในบางครั้งอาจมีสารอื่น ๆ ประกอบอยู่ด้วย เช่น กามะถัน (S), ไนโตรเจน
(N), ออกซิเจน (O) เป็นต้น ด้วยเหตุนี้น้ามันดิบที่ขุดขึ้นมาจะยังไม่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้ทันที ต้องมีการนามาแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่าง ๆ ออกเป็น
กลุ่ม ๆ ก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ตามชนิดของสารได้โดยการวิธีการ
แยกสารที่ปนอยู่ในน้ามันดิบออกจากกันนี้ เรียกว่า การกลั่นน้ามันดิบ
12
การกลั่นน้ามันดิบ
13
ก๊าซธรรมชาติ เป็นพลังงานปิโตรเลียมชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับน้ามัน ที่จริง น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และ
ถ่านหิน ก็คือ ซากพืชและซากสัตว์ที่ทับถมกันมานานหลายแสนหลายล้านปี และทับถมสะสมกัน จนจม
อยู่ใต้ดิน แล้วเปลี่ยนรูปเป็นสิ่งที่เรียกว่า ฟอสซิล ระหว่างนั้นก็มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ จนซาก
สัตว์และซากพืชหรือฟอสซิลนั้นกลายเป็นน้ามันดิบ
ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ที่เรานามาใช้ประโยชน์
ได้ในที่สุด เราจึงเรียกเชื้อเพลิงประเภทน้ามัน
ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ว่า เชื้อเพลิงฟอสซิล
ก๊าซธรรมชาติ
14
การแยกก๊าซธรรมชาติ การแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนใช้หลักการเดียวกับการกลั่น คือ เปลี่ยนก๊าซธรรมชาติให้เป็นของเหลว
แล้วปรับอุณหภูมิของก๊าซธรรมชาติ ให้มีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของก๊าซแต่ละชนิดที่ต้องการแยก
มีเทน
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า
และให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะ
- ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมี
อีเทน
- ใช้ผลิตเอทีลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นสาหรับเม็ด
พลาสติก โพลิเอทีลีน (PE) เพื่อใช้ผลิต
ถุงพลาสติก หลอดยาสีฟัน โพลิโพรพิ
ลีน (PP) เช่น ยางในห้องเครื่ องรถยนต์ หม้อ
แบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพน้ามันเครื่ อง
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
15
เนื่ องจากในตัวเนื้อก๊าซธรรมชาติมีสารประกอบที่เป็นประโยชน์อยู่มาก เมื่อนามาผ่าน
กระบวนการแยกที่โรงแยกก๊าซฯ แล้ว ก็จะได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ดังนี้
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากก๊าซธรรมชาติ
▰ บิวเทน
- ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
- นามาผสมกับโพรเพนเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
- เป็นเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงต้มในครัวเรือน
และเชื้อเพลิงในรถยนต์
- เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม
- ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
เช่นเดียวกับก๊าซอีเทนและก๊าซโพรเพน
▰ โซลีนธรรมชาติ
- ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตัวทาละลาย
- ใช้ผสมเป็นน้ามันเบนซินสาเร็จรูป
- ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
▰ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการแยกก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์จากก๊าซธรรมชาติ
- ใช้ในอุตสาหกรรมหล่อเหล็ก อุตสาหกรรมถนอม
อาหาร อุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม
- ใช้ทาน้ายาดับเพลิง ฝนเทียม ฯลฯ
16
17
พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สามารถ
สร้างหรือผลิตขึ้นมาเองได้พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่
ปฏิกิริยาฟิวชัน ซึ่งเกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ ส่วนพลังงานนิวเคลียร์ที่
มนุษย์สามารถผลิตขึ้นมา ได้แก่ เครื่ องปฏิกรณ์ปรมาณู เครื่ องเร่งอนุภาค สาร
ไอโซโทป และระเบิดปรมาณู พลังงานนิวเคลียร์สามารถ ปลดปล่อยออกมาในรูป
ของอนุภาคและรังสี เช่น รังสีแกมมา อนุภาคเบตา อนุภาคแอลฟา และอนุภาค
นิวตรอน พร้อมกับปล่อยพลังงานอื่น ๆ ออกมาด้วย เช่น พลังงานความร้อน
พลังงานแสง พลังงานรังสี พลังงานกล และพลังงานอื่น ๆ ชนิดของพลังงาน
พลังงานนิวเคลียร์
นิวเคลียร์ พลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจากแร่กัมมันตภาพรังสี จะปล่อยออกมาเมื่อมีการแยกหรือการรวม
หรือเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสภายในอะตอม ซึ่งเรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบ่งได้เป็น 4 ชนิด คือ
18
1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear Fission) คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เป็นผลจากการแตกตัวของนิวเคลียสของธาตุ
หนัก โดยกระบวนการที่เกิดขึ้นจากการยิง นิวตรอนไปยังนิวเคลียสของอะตอมหนัก แล้วทาให้นิวเคลียสแตก
ออกเป็น 2 ส่วนเกือบเท่ากัน ในปฏิกิริยานี้มวลของนิวเคลียสบางส่วนจะหายไป กลายเป็นพลังงานออกมา
และเกิดนิวตรอนใหม่อีก 2 หรือ 3 ตัว ซึ่งวิ่งเร็วมากพอที่จะไปยิงนิวเคลียสของอะตอมอื่นต่อไปทาให้เกิดปฏิริ
ยาต่อเนื่ องเรื่ อยไป เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ (chain reaction)
19
2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear Fusion) คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เป็นผลจากการแตกตัวของ
นิวเคลียสของธาตุเบาเป็นนิวเคลียสของธาตุหนัก พร้อมกับปล่อยพลังงานออกมา เช่น
3.ปฏิกิริยาที่เกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
(Redioactivity) ได้แก่ ยูเรเนียม เรเดียม พลูโตเนียม ฯลฯ ธาตุ
เหล่านี้จะปลดปล่อยรังสีและอนุภาคต่าง ๆ ออกมา เช่น
อนุภาคแอลฟา อนุภาคเบตา รังสีแกมมา และอนุภาคนิวตรอน
4.ปฏิกิริยาที่ได้จากเครื่ องเร่งอนุภาคที่มีประจุ (Particale
Accelerrator) เช่น โปรตอนอิเล็กตรอน ดิวทีเรียม และอัลฟา
20
คือพลังงานที่นามาใช้เพื่อทดแทนน้ามันเชื้อเพลิงหรือพลังงานรูปแบบดั้งเดิมจาก
เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและ
ก่อให้เกิดผลกระทบเป็นวงกว้างต่อสภาพภูมิอากาศและระบบนิเวศของโลก อีกทั้งยัง
เป็นแหล่งพลังงานที่กาลังจะหมดไปในอนาคตข้างหน้านี้ ขณะที่พลังงานหมุนเวียนเป็น
พลังงานสะอาดจากธรรมชาติที่สามารถหมุนเวียนและนากลับมาใช้ใหม่ได้อีกโดยไม่มี
จากัด
พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy)
21
มนุษย์นาพลังงานจากดวงอาทิตย์มาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ผ่าน
สิ่งประดิษฐ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า “เซลล์สุริยะ” (Solar Cell) ซึ่ง
สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าและพลังงานความร้อนสาหรับบ้านเรือน รวม
ไปถึงภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ
ข้อดี: เป็นแหล่งพลังงานขนาดใหญ่ที่ใช้ได้ไม่จากัด เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม ไม่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อเชื้อเพลิง ใช้ประโยชน์และดูแลรักษา
ง่าย อีกทั้งยังสามารถใช้งานได้ในพื้นที่ห่างไกล
ข้อจากัด: ความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่คงที่และอยู่นอกเหนือการควบคุม
ของมนุษย์ มีค่าใช้จ่ายสูงในการติดตั้ง และอุปกรณ์บางส่วนมีอายุการใช้
งานต่า เช่น แบตเตอรี่ที่ใช้เก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy)
22
กระแสลมเป็นหนึ่งในแหล่งพลังงานที่เก่าแก่ที่สุด ซึ่งมนุษย์นามาใช้ประโยชน์ตั้งแต่เมื่อ
กว่า 5,000 ปีก่อน เป็นพลังงานธรรมชาติที่นาใช้เพื่อการออกแบบและสร้างเรือใบ
หรือแม้แต่การประดิษฐ์กังหันลมเพื่อทดน้าหรือบดธัญพืช ขณะที่ในปัจจุบัน เรานา
พลังงานลมมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า ผ่านการทางานของกังหันลมขนาดใหญ่ที่ติดตั้งตาม
แนวชายฝั่งหรือตามหุบเขาสูง พลังงานลมเป็นแหล่งพลังงานที่กาลังได้รับความนิยม
เป็นอย่างมากในหลายประเทศทั่วโลกในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
ข้อดี: ไม่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อเชื้อเพลิง ไม่ก่อให้เกิดการปล่อยสารพิษหรือมลพิษใน
สิ่งแวดล้อม
ข้อจากัด: ความไม่สม่าเสมอของความเร็วลมที่แปรผันตามธรรมชาติส่งผลให้พลังงาน
ลมเหมาะสมในพื้นที่เฉพาะที่มีกระแสลมแรงต่อเนื่ อง เช่น พื้นที่ชายฝั่งทะเลหรือตาม
เชิงเขาสูง นอกจากนี้ กังหันลมและใบพัดอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ปีกบางชนิดได้
พลังงานลม (Wind Energy)
23
• พลังงานความร้อนใต้พิภพ (Geothermal Energy)
แหล่งพลังงานธรรมชาติซึ่งถูกกักเก็บอยู่ใต้พื้นผิวโลก จากความ
ร้อนภายในแกนกลางของโลกที่มีอุณหภูมิสูงถึง 5,000 องศา
เซลเซียส ส่งผลให้ความร้อนด้านบนสุดของพื้นผิวโลกที่ความลึก
ราว 3 เมตร มีอุณหภูมิประมาณ 10 – 26 องศาเซลเซียสอย่าง
สม่าเสมอ มนุษย์จึงนาพลังงานความร้อนใต้พิภพนี้มาใช้เป็น
แหล่งพลังงานความร้อนสาหรับอาคารบ้านเรือน ท้องถนน และ
พื้นที่สาธารณะ รวมไปถึงนามาใช้สร้างไอน้าในการผลิต
กระแสไฟฟ้าอีกด้วย
ข้อดี: ไม่ก่อให้เกิดมลพิษในอากาศ
ข้อจากัด: ต้องการน้าสะอาดปริมาณมากเพื่อสร้างไอน้าในการ
ผลิตกระแสไฟฟ้า
▰ ข้อดี: สร้างมูลค่าเพิ่ม
ทางการเกษตร มีแหล่ง
ผลิตจานวนมากใน
ประเทศเกษตรกรรม
สามารถสารองไว้ใช้ใน
ยามจาเป็น
▰ ข้อจากัด: การผลิตขึ้นอยู่กับผลผลิตทางการ
เกษตรและฤดูกาล ซึ่งรวมไปถึงความ
ต้องการพื้นที่เพาะปลูกขนาดใหญ่ หาก
ต้องการใช้เป็นเชื้อเพลิงในเชิงพาณิชย์ อีกทั้ง
การปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่บริเวณกว้าง อาจ
นาไปสู่การใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลงที่เป็น
พิษต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
24
• พลังงานมวลชีวภาพ (Biomass Energy)
การนาเศษไม้แกลบ กากอ้อย หรือวัสดุเหลือใช้จากการทาเกษตรกรรม รวมไปถึงขยะใน
ชุมชน มาใช้เป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและเป็นแหล่งพลังงานความร้อน พืช
จากการเกษตรบางชนิดสามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะได้อีกด้วย
25
• พลังงานน้า (Hydroelectric Energy)
มนุษย์ได้นาพลังงานจากกระแสน้ามาใช้เป็นเวลาหลายศตวรรษแล้ว ผ่านการ
ควบคุมเขื่อนขนาดใหญ่ ซึ่งขวางกั้นการไหลของแม่น้าธรรมชาติและสร้าง
อ่างเก็บน้าขึ้น โดยกระแสน้าจะถูกควบคุมให้ไหลผ่านกังหันขนาดใหญ่ภายใน
เขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
ข้อดี: เป็นแหล่งพลังงานที่มีเสถียรภาพ
ข้อจากัด: ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศของแม่น้าและชุมชนโดยรอบ
อีกทั้งภายในเขื่อนยังก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะมีเทน
(Methane) ในปริมาณมหาศาลจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์ในน้า
นอกจากนี้ ยังมีแหล่งพลังงานหมุนเวียนอื่นๆที่อยู่ระหว่างการศึกษาค้นคว้าและทาความเข้าใจ เพื่อให้ได้แหล่งพลังงานที่มีเสถียรภาพและมี
ประสิทธิภาพเพียงพอสาหรับรองรับการเติบโตของประชากรโลก เช่น พลังงานจากน้าขึ้น – ลง (Tidal Wave) พลังงานคลื่น (Wave Energy) และ
พลังงานจากสาหร่าย (Algae Fuel) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การนาทรัพยากรและแหล่งกาเนิดพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ยังจาเป็นต้อง
คานึงถึงความเหมาะสมในหลายๆด้าน ทั้งด้านเทคนิคหรือเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้พลังงานที่เราใช้ในอนาคตเป็นพลังงานสะอาดที่
เป็นมิตรต่อโลกอย่างแท้จริง
Thanks!
26
Credits
▰ ทรัพยากรพลังงาน.56814503040 (oilsuwajee.blogspot.com)
▰ ถ่านหิน.โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (egat.co.th)
▰ ปิโตรเลียม - LESA: ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์
▰ น้ามันดิบบทที่ 5 น้ามันดิบ - putsada.noodeesci (google.com)
▰ พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ (baanjomyut.com)
▰ ปฏิกิริยาฟิชชันและฟิวชัน (rmutphysics.com)
▰ National Geographic – https://www.nationalgeographic.com/environment/energy/reference/renewable-energy/
▰ National Geographic Society – https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/renewable-energy/
▰ Natural Resources Defense Council – https://www.nrdc.org/stories/renewable-energy-clean-facts
▰ กระทรวงพลังงาน – https://energy.go.th/2015/wp-content/uploads/2016/02/volume-34.pdf
27

More Related Content

What's hot

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 

What's hot (20)

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 

ทรัพยากรพลังงาน

  • 2. ทรัพยากรพลังงาน (Energy Resources) พลังงาน หมายถึง แรงงงานที่ได้มาจากธรรมชาติ เช่น ได้จากน้า แสงแดด คลื่น ลมและเชื่อเพลิงธรรมชาติ (Fossil Fuel) ซึ่งได้แก่ ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซ ธรรมชาติ นอกจากนี้ยังได้พลังงานจาก ความร้อนใต้พิภพ แร่นิวเคลียร์ ไม่ฟืน แกลบ และชานอ้อย พลังงานที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ เรียกว่า พลังงานต้นกาเนิด (Primary Energy) ส่วนพลังงานที่ได้มาด้วยการนาพลังงานต้นกาเนิดดังกล่าวมา แปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น พลังงานไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม ถ่านโค๊ก และก๊าซหุงต้ม เราเรียกพลังงานประเภทนี้ว่า พลังงานแปร รูป (Secondary Energy) 2
  • 3. 3 ชาวโลกได้ใช้พลังงานส่วนใหญ่ไปในการขนส่ง อุตสาหกรรม การค้า และใช้สาหรับสิ่ง อานวยความสะดวกต่าง ๆ ในเคหะสถาน เช่น ตู้เย็น วิทยุ โทรทัศน์ พัดลม ตลอดจนผลิตภัณฑ์ ไฟฟ้าอื่น ๆ ที่ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาอีกจานวนมาก จะเห็นว่ายิ่งมนุษย์เจริญมากขึ้นเท่าใดก็ยิ่งต้อง ใช้พลังงานมากขึ้นเท่านั้น การพัฒนาความเจริญในสังคมมนุษย์ จึงเท่ากับเป็นการทวีการใช้ พลังงานที่สะสมไว้ในโลกให้หมดเปลืองไปยิ่งขึ้น จึงเชื่อได้แน่ว่าทรัพยากรพลังงานโดยเฉพา เชื้อเพลิงธรรมชาติจะต้องสูญสิ้นไปจากโลกนี้ในอนาคตอันไม่ไกลนัก
  • 4. ถ่านหิน 4 ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งและเป็นแร่เชื้อเพลิง สามารถติดไฟได้มีสีนาตาลอ่อนจนถึงสีดา มีทั้งชนิดผิวมัน และผิวด้าน น้าหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้นมีธาตุหรือสารอื่น เช่น กามะถัน เจือปน เล็กน้อย ถ่านหินที่มีจานวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่า เมื่อนามาเผาจะให้ความร้อนมา ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลาดับชั้นได้เป็น 5 ประเภท คือ
  • 5. 5 ถ่านหิน ปริมาณความร้อน ปริมาณความชื้น ปริมารขี้เถ้า ปริมาณกามะถัน แอนทราไซต์ สูง ต่า ต่า ต่า บิทูมินัส สูง ต่า ต่า ต่า ซับบิทูมินัส ปานกลาง-สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ลิกไนต์ ต่า-ปานกลาง สูง สูง ต่า-สูง พีต ต่า สูง สูง สูง ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ของถ่านหินแต่ละชนิด
  • 6. ปริมาณสารองถ่านหินทั่วโลก ถ่านหินเป็น เชื้อเพลิงทางเลือกที่มีความสาคัญแหล่งพลังงานที่สาคัญ ข้อเด่นของถ่านหิน คือ มีราคาถูก มีเสถียรภาพ การขนส่งปลอดภัย และมีปริมาณสารองมาก เมื่อเทียบกับก๊าซธรรมชาติหรือน้ามัน กล่าวคือ มีปริมาณสารองถ่านหิน ในโลกมีถึง 900 พันล้านตัน และพบแหล่งถ่านหินในทุกทวีป กระจายอยู่กว่า 70 ประเทศทั่วโลก ดังนั้นถ้ามีวิธีการ นามาใช้ที่เหมาะสมก็สามารถใช้ได้นานไม่น้อยกว่า 200 ปี เมื่อเทียบกับปริมาณน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งจะหมด ไปในระยะเวลา 40-60 ปี ประเทศที่มีปริมาณสารองถ่านหิน (Proven Reserve) มากที่สุด 5 อันดับแรกของโลก (สถิติ ปี 2536) ได้แก่ ▰ 1.สหภาพโซเวียด 241,000 ล้านตัน ▰ 2.สหรัฐอเมริกา 240,560 ล้านตัน ▰ 3.จีน 114,500 ล้านตัน ▰ 4.ออสเตรเลีย 90,940 ล้านตัน ▰ 5.เยอรมัน(ตะวันตก) 80,069 ล้านตัน 6
  • 7. 7 ปิ โตรเลียม ปิโตรเลียม คือ สารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นของผสมของโฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ ที่ยุ่งยาก และซับซ้อน ทั้งที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว และแก๊ส หรือทั้งสามสภาพปะปนกัน แต่เมื่อ ต้องการจะแยกประเภทออกเป็นปิโตรเลียมชนิดต่าง ๆ จะใช้คาว่า น้ามันดิบ (Crude oil) แก๊ส ธรรมชาติ (Natural gas) และแก๊สธรรมชาติเหลว (Condensate) โดยปกติน้ามันดิบและแก๊ส ธรรมชาติมักจะเกิดร่วมกันในแหล่งปิโตรเลียม แต่บางแหล่งอาจมีเฉพาะน้ามันดิบ บางแหล่งอาจมี เฉพาะแก๊สธรรมชาติก็ได้ส่วนแก๊สธรรมชาติเหลวนั้นหมายถึง แก๊สธรรมชาติในแหล่งที่อยู่ลึกลง ไปใต้ดินภายใต้สภาพอุณหภูมิและความกดดันที่สูง เมื่อถูกนาขึ้นมาถึงระดับผิวดินในขั้นตอนของ การผลิต อุณหภูมิและความกดดันจะลดลง ทาให้แก๊สธรรมชาติกลายสภาพไปเป็นของเหลว เรียกว่า แก๊สธรรมชาติเหลว
  • 8. การเกิดปิ โตรเลียม น้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ จะพบเกิดร่วมกับหินตะกอนที่เกิดในทะเล เสมอ ส่วนประกอบที่สาคัญได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นส่วน ใหญ่ มีซัลเฟอร์ไนโตรเจน และออกซิเจนเป็นส่วนน้อย ปัจจุบันนัก ธรณีวิทยามีความเชื่อว่า น้ามันและแก๊สธรรมชาติมีต้นกาเนิดมาจาก อินทรียวัตถุที่เป็นพืชและสัตว์ เมื่อซากอินทรียวัตถุพวกนี้ได้เกิดการสะสมตัวขึ้นแล้ว จะต้องถูกปิดทับโดยตะกอนอีก ทอดหนึ่ง จากน้าหนักของตะกอนที่ปิดทับอุณหภูมิและความดันจะเพิ่มขึ้น เมื่อความลึก ถึงประมาณ 2.5 กิโลเมตร จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วนของอินทรียวัตถุ โมเลกุลเดิม จะถูกทาลายลงและเปลี่ยนไปเป็นโมเลกุลใหม่ ซึ่งให้ไฮโดรคาร์บอนในรูปของเหลวและ แก๊สในช่องว่างของหิน ไฮโดรคาร์บอนดังกล่าวสามารถเคลื่อนย้ายไปตามช่องว่างและ รอยแตกในหินข้างเคียง ส่วนการที่จะมารวมตัวเกิดเป็นแหล่งของน้ามันและแก๊ส ธรรมชาติที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ อีกหลายประการ ดังภาพ
  • 9. การสารวจหาแหล่งปิ โตรเลียม โดยทั่ว ๆ ไป การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม จะเป็นวิธีการทางอ้อม ทั้งนี้ เพราะว่าแหล่งกักเก็บ น้ามัน ซึ่งมีสิ่งบ่งชี้ให้เห็นบนผิวดินว่ามีน้ามันกักเก็บอยู่ ปัจจุบันนี้มักจะถูกพัฒนานาขึ้นมาใช้เกือบ ทั้งนั้น ด้วยเหตุนี้ จาเป็นที่จะต้องอาศัยกรรมวิธีการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมอื่น ๆ ในบริเวณที่ นอกเหนือไปจากบริเวณดังกล่าวข้างต้น และที่อาจจะเป็นแหล่งกักเก็บของปิโตรเลียมในบริเวณที่ถูกฝัง ลึกอยู่ในชั้นหินนับเป็นหลาย ๆ กิโลเมตร ในการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมดังกล่าว นักธรณีวิทยาจะใช้ วิธีการสารวจอยู่หลาย ๆ วิธี ดังนี้ 1. การขุดเจาะหลุมเพื่อเก็บตัวอย่างหิน (Core Drilling) 2. การสารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน (Seismic Prospecting) 3. การสารวจโดยความโน้มถ่วง (Gravity Prospecting)
  • 11. 11 น้ามันดิบ (Oil) น้ามันดิบ คือ ปิโตรเลียมที่มีสถานะเป็นของเหลวในธรรมชาติ ส่วนมากมีสีดา หรือน้าตาล มีลักษณะเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ ปะปนกันอยู่ และ ในบางครั้งอาจมีสารอื่น ๆ ประกอบอยู่ด้วย เช่น กามะถัน (S), ไนโตรเจน (N), ออกซิเจน (O) เป็นต้น ด้วยเหตุนี้น้ามันดิบที่ขุดขึ้นมาจะยังไม่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ทันที ต้องมีการนามาแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่าง ๆ ออกเป็น กลุ่ม ๆ ก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ตามชนิดของสารได้โดยการวิธีการ แยกสารที่ปนอยู่ในน้ามันดิบออกจากกันนี้ เรียกว่า การกลั่นน้ามันดิบ
  • 13. 13 ก๊าซธรรมชาติ เป็นพลังงานปิโตรเลียมชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับน้ามัน ที่จริง น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และ ถ่านหิน ก็คือ ซากพืชและซากสัตว์ที่ทับถมกันมานานหลายแสนหลายล้านปี และทับถมสะสมกัน จนจม อยู่ใต้ดิน แล้วเปลี่ยนรูปเป็นสิ่งที่เรียกว่า ฟอสซิล ระหว่างนั้นก็มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ จนซาก สัตว์และซากพืชหรือฟอสซิลนั้นกลายเป็นน้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ที่เรานามาใช้ประโยชน์ ได้ในที่สุด เราจึงเรียกเชื้อเพลิงประเภทน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ว่า เชื้อเพลิงฟอสซิล ก๊าซธรรมชาติ
  • 14. 14 การแยกก๊าซธรรมชาติ การแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนใช้หลักการเดียวกับการกลั่น คือ เปลี่ยนก๊าซธรรมชาติให้เป็นของเหลว แล้วปรับอุณหภูมิของก๊าซธรรมชาติ ให้มีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของก๊าซแต่ละชนิดที่ต้องการแยก
  • 15. มีเทน - ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า และให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม - ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะ - ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมี อีเทน - ใช้ผลิตเอทีลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นสาหรับเม็ด พลาสติก โพลิเอทีลีน (PE) เพื่อใช้ผลิต ถุงพลาสติก หลอดยาสีฟัน โพลิโพรพิ ลีน (PP) เช่น ยางในห้องเครื่ องรถยนต์ หม้อ แบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพน้ามันเครื่ อง - ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม 15 เนื่ องจากในตัวเนื้อก๊าซธรรมชาติมีสารประกอบที่เป็นประโยชน์อยู่มาก เมื่อนามาผ่าน กระบวนการแยกที่โรงแยกก๊าซฯ แล้ว ก็จะได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากก๊าซธรรมชาติ
  • 16. ▰ บิวเทน - ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี - นามาผสมกับโพรเพนเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว - เป็นเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงต้มในครัวเรือน และเชื้อเพลิงในรถยนต์ - เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม - ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เช่นเดียวกับก๊าซอีเทนและก๊าซโพรเพน ▰ โซลีนธรรมชาติ - ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตัวทาละลาย - ใช้ผสมเป็นน้ามันเบนซินสาเร็จรูป - ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ▰ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการแยกก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์จากก๊าซธรรมชาติ - ใช้ในอุตสาหกรรมหล่อเหล็ก อุตสาหกรรมถนอม อาหาร อุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม - ใช้ทาน้ายาดับเพลิง ฝนเทียม ฯลฯ 16
  • 17. 17 พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สามารถ สร้างหรือผลิตขึ้นมาเองได้พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ปฏิกิริยาฟิวชัน ซึ่งเกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ ส่วนพลังงานนิวเคลียร์ที่ มนุษย์สามารถผลิตขึ้นมา ได้แก่ เครื่ องปฏิกรณ์ปรมาณู เครื่ องเร่งอนุภาค สาร ไอโซโทป และระเบิดปรมาณู พลังงานนิวเคลียร์สามารถ ปลดปล่อยออกมาในรูป ของอนุภาคและรังสี เช่น รังสีแกมมา อนุภาคเบตา อนุภาคแอลฟา และอนุภาค นิวตรอน พร้อมกับปล่อยพลังงานอื่น ๆ ออกมาด้วย เช่น พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานรังสี พลังงานกล และพลังงานอื่น ๆ ชนิดของพลังงาน พลังงานนิวเคลียร์ นิวเคลียร์ พลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจากแร่กัมมันตภาพรังสี จะปล่อยออกมาเมื่อมีการแยกหรือการรวม หรือเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสภายในอะตอม ซึ่งเรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ แบ่งได้เป็น 4 ชนิด คือ
  • 18. 18 1. ปฏิกิริยาฟิชชัน (Nuclear Fission) คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เป็นผลจากการแตกตัวของนิวเคลียสของธาตุ หนัก โดยกระบวนการที่เกิดขึ้นจากการยิง นิวตรอนไปยังนิวเคลียสของอะตอมหนัก แล้วทาให้นิวเคลียสแตก ออกเป็น 2 ส่วนเกือบเท่ากัน ในปฏิกิริยานี้มวลของนิวเคลียสบางส่วนจะหายไป กลายเป็นพลังงานออกมา และเกิดนิวตรอนใหม่อีก 2 หรือ 3 ตัว ซึ่งวิ่งเร็วมากพอที่จะไปยิงนิวเคลียสของอะตอมอื่นต่อไปทาให้เกิดปฏิริ ยาต่อเนื่ องเรื่ อยไป เรียกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่ (chain reaction)
  • 19. 19 2. ปฏิกิริยาฟิวชัน (Nuclear Fusion) คือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เป็นผลจากการแตกตัวของ นิวเคลียสของธาตุเบาเป็นนิวเคลียสของธาตุหนัก พร้อมกับปล่อยพลังงานออกมา เช่น 3.ปฏิกิริยาที่เกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี (Redioactivity) ได้แก่ ยูเรเนียม เรเดียม พลูโตเนียม ฯลฯ ธาตุ เหล่านี้จะปลดปล่อยรังสีและอนุภาคต่าง ๆ ออกมา เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคเบตา รังสีแกมมา และอนุภาคนิวตรอน 4.ปฏิกิริยาที่ได้จากเครื่ องเร่งอนุภาคที่มีประจุ (Particale Accelerrator) เช่น โปรตอนอิเล็กตรอน ดิวทีเรียม และอัลฟา
  • 20. 20 คือพลังงานที่นามาใช้เพื่อทดแทนน้ามันเชื้อเพลิงหรือพลังงานรูปแบบดั้งเดิมจาก เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและ ก่อให้เกิดผลกระทบเป็นวงกว้างต่อสภาพภูมิอากาศและระบบนิเวศของโลก อีกทั้งยัง เป็นแหล่งพลังงานที่กาลังจะหมดไปในอนาคตข้างหน้านี้ ขณะที่พลังงานหมุนเวียนเป็น พลังงานสะอาดจากธรรมชาติที่สามารถหมุนเวียนและนากลับมาใช้ใหม่ได้อีกโดยไม่มี จากัด พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy)
  • 21. 21 มนุษย์นาพลังงานจากดวงอาทิตย์มาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ผ่าน สิ่งประดิษฐ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า “เซลล์สุริยะ” (Solar Cell) ซึ่ง สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าและพลังงานความร้อนสาหรับบ้านเรือน รวม ไปถึงภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ข้อดี: เป็นแหล่งพลังงานขนาดใหญ่ที่ใช้ได้ไม่จากัด เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ไม่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อเชื้อเพลิง ใช้ประโยชน์และดูแลรักษา ง่าย อีกทั้งยังสามารถใช้งานได้ในพื้นที่ห่างไกล ข้อจากัด: ความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่คงที่และอยู่นอกเหนือการควบคุม ของมนุษย์ มีค่าใช้จ่ายสูงในการติดตั้ง และอุปกรณ์บางส่วนมีอายุการใช้ งานต่า เช่น แบตเตอรี่ที่ใช้เก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy)
  • 22. 22 กระแสลมเป็นหนึ่งในแหล่งพลังงานที่เก่าแก่ที่สุด ซึ่งมนุษย์นามาใช้ประโยชน์ตั้งแต่เมื่อ กว่า 5,000 ปีก่อน เป็นพลังงานธรรมชาติที่นาใช้เพื่อการออกแบบและสร้างเรือใบ หรือแม้แต่การประดิษฐ์กังหันลมเพื่อทดน้าหรือบดธัญพืช ขณะที่ในปัจจุบัน เรานา พลังงานลมมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า ผ่านการทางานของกังหันลมขนาดใหญ่ที่ติดตั้งตาม แนวชายฝั่งหรือตามหุบเขาสูง พลังงานลมเป็นแหล่งพลังงานที่กาลังได้รับความนิยม เป็นอย่างมากในหลายประเทศทั่วโลกในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ข้อดี: ไม่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อเชื้อเพลิง ไม่ก่อให้เกิดการปล่อยสารพิษหรือมลพิษใน สิ่งแวดล้อม ข้อจากัด: ความไม่สม่าเสมอของความเร็วลมที่แปรผันตามธรรมชาติส่งผลให้พลังงาน ลมเหมาะสมในพื้นที่เฉพาะที่มีกระแสลมแรงต่อเนื่ อง เช่น พื้นที่ชายฝั่งทะเลหรือตาม เชิงเขาสูง นอกจากนี้ กังหันลมและใบพัดอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ปีกบางชนิดได้ พลังงานลม (Wind Energy)
  • 23. 23 • พลังงานความร้อนใต้พิภพ (Geothermal Energy) แหล่งพลังงานธรรมชาติซึ่งถูกกักเก็บอยู่ใต้พื้นผิวโลก จากความ ร้อนภายในแกนกลางของโลกที่มีอุณหภูมิสูงถึง 5,000 องศา เซลเซียส ส่งผลให้ความร้อนด้านบนสุดของพื้นผิวโลกที่ความลึก ราว 3 เมตร มีอุณหภูมิประมาณ 10 – 26 องศาเซลเซียสอย่าง สม่าเสมอ มนุษย์จึงนาพลังงานความร้อนใต้พิภพนี้มาใช้เป็น แหล่งพลังงานความร้อนสาหรับอาคารบ้านเรือน ท้องถนน และ พื้นที่สาธารณะ รวมไปถึงนามาใช้สร้างไอน้าในการผลิต กระแสไฟฟ้าอีกด้วย ข้อดี: ไม่ก่อให้เกิดมลพิษในอากาศ ข้อจากัด: ต้องการน้าสะอาดปริมาณมากเพื่อสร้างไอน้าในการ ผลิตกระแสไฟฟ้า
  • 24. ▰ ข้อดี: สร้างมูลค่าเพิ่ม ทางการเกษตร มีแหล่ง ผลิตจานวนมากใน ประเทศเกษตรกรรม สามารถสารองไว้ใช้ใน ยามจาเป็น ▰ ข้อจากัด: การผลิตขึ้นอยู่กับผลผลิตทางการ เกษตรและฤดูกาล ซึ่งรวมไปถึงความ ต้องการพื้นที่เพาะปลูกขนาดใหญ่ หาก ต้องการใช้เป็นเชื้อเพลิงในเชิงพาณิชย์ อีกทั้ง การปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่บริเวณกว้าง อาจ นาไปสู่การใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลงที่เป็น พิษต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม 24 • พลังงานมวลชีวภาพ (Biomass Energy) การนาเศษไม้แกลบ กากอ้อย หรือวัสดุเหลือใช้จากการทาเกษตรกรรม รวมไปถึงขยะใน ชุมชน มาใช้เป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและเป็นแหล่งพลังงานความร้อน พืช จากการเกษตรบางชนิดสามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะได้อีกด้วย
  • 25. 25 • พลังงานน้า (Hydroelectric Energy) มนุษย์ได้นาพลังงานจากกระแสน้ามาใช้เป็นเวลาหลายศตวรรษแล้ว ผ่านการ ควบคุมเขื่อนขนาดใหญ่ ซึ่งขวางกั้นการไหลของแม่น้าธรรมชาติและสร้าง อ่างเก็บน้าขึ้น โดยกระแสน้าจะถูกควบคุมให้ไหลผ่านกังหันขนาดใหญ่ภายใน เขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ข้อดี: เป็นแหล่งพลังงานที่มีเสถียรภาพ ข้อจากัด: ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศของแม่น้าและชุมชนโดยรอบ อีกทั้งภายในเขื่อนยังก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะมีเทน (Methane) ในปริมาณมหาศาลจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์ในน้า นอกจากนี้ ยังมีแหล่งพลังงานหมุนเวียนอื่นๆที่อยู่ระหว่างการศึกษาค้นคว้าและทาความเข้าใจ เพื่อให้ได้แหล่งพลังงานที่มีเสถียรภาพและมี ประสิทธิภาพเพียงพอสาหรับรองรับการเติบโตของประชากรโลก เช่น พลังงานจากน้าขึ้น – ลง (Tidal Wave) พลังงานคลื่น (Wave Energy) และ พลังงานจากสาหร่าย (Algae Fuel) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การนาทรัพยากรและแหล่งกาเนิดพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ยังจาเป็นต้อง คานึงถึงความเหมาะสมในหลายๆด้าน ทั้งด้านเทคนิคหรือเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้พลังงานที่เราใช้ในอนาคตเป็นพลังงานสะอาดที่ เป็นมิตรต่อโลกอย่างแท้จริง
  • 27. Credits ▰ ทรัพยากรพลังงาน.56814503040 (oilsuwajee.blogspot.com) ▰ ถ่านหิน.โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (egat.co.th) ▰ ปิโตรเลียม - LESA: ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ ▰ น้ามันดิบบทที่ 5 น้ามันดิบ - putsada.noodeesci (google.com) ▰ พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ (baanjomyut.com) ▰ ปฏิกิริยาฟิชชันและฟิวชัน (rmutphysics.com) ▰ National Geographic – https://www.nationalgeographic.com/environment/energy/reference/renewable-energy/ ▰ National Geographic Society – https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/renewable-energy/ ▰ Natural Resources Defense Council – https://www.nrdc.org/stories/renewable-energy-clean-facts ▰ กระทรวงพลังงาน – https://energy.go.th/2015/wp-content/uploads/2016/02/volume-34.pdf 27