SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
บทที่ ๓
อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ :
ศาสนาอียิปต์โบราณ
๓.๑สถานที่เกิด
 ในปัจุบันอียิปต์มีเนื้อที่ ๓๘๓,๐๐๐ตารางไมล์ ทิศเหนือติดทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออก ติดทะเลแดง ทิศตะวันตกและทิศใต้
มีทะเลทรายเป็นขอบเขต มีทางติดต่อกับทวีปเอเชียโดยอาศัยคลอง
สุเอซเป็นแนวสะพาน
• ศาสนาอียิปต์โบราณถือ
กาเนิด ขึ้นในแผ่นดินที่เรียกว่า
อียิปต์หรือไอยคุปต์สมัยโบราณ
ซึ่งตั้งอยู่บนทวีปอาฟริกา
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่
ทั้งหมดเมื่อ ๗,๐๐๐ ปี กว้างใหญ่
ไม่มากนัก ยาวไปตามลาน้าไนล์
 จากชนกลุ่มต่างๆ ที่มารวมตัวกันตามลุ่มน้าไนล์ ซึ่งแต่เดิม
นั้นชนกลุ่มต่างๆนี้ไม่มีความรู้ในเรื่องภูมิ-ศาสตร์ไม่มีใครรู้ว่า
ลาน้าสายนี้เกิดมาได้อย่างไร ไหลมาจากที่ไหน เพราะอะไรจึง
ให้ผลแก่ชาวไร่ เพราะอะไรจึงไหลบ่า ท่วมท้น จนเกิดความ
เสียหายล้มตาย ความไม่รู้เหล่านี้เอง จึงกลายเป็นบ่อเกิดแห่ง
ศาสนาและศรัทธา
๓.๒เข้าใจคติแห่งศรัทธา
 M.Marittite นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส อ้างผลการสารวจของ
Herodotus ผู้เป็นปราชญ์ในสมัยกรีกโบราณ ไว้ในบันทึกของตนว่า...
การนับถือศาสนาของอียิปต์โบราณนั้นสามารถแบ่งประเภท แห่ง
ศรัทธาให้ศึกษาได้ดังนี้...
 1. การนับถือสัตว์เป็นพระเจ้า
 2. การนับถือดวงวิญญาณ
 3. ศพอาบยา และ มรณะคัมภีร์
 4. พิธีกรรมและนักบวช
 5. หมวดหมู่ ของเทพเจ้า
 6. อิทธิพลของศาสนา
๓.๓ การนับถือสัตว์เป็นเทพเจ้า
 จะเห็นได้ว่าตามหัวเมืองใหญ่ๆ จะมีรูปปั้นสัตว์นานาชนิด
ประดิษฐานอยู่ตามเทวสถานและประตูเมือง เป็นรูปเคารพอย่าง
หนึ่ง นับเป็นหนึ่งในจานวนเทพประจาหัวเมือง ทั้งนี้เนื่องจากว่า
สัตว์แต่ละประเภทมีความสาคัญในตัวของมันเอง สามารถทา
ประโยชน์แก่มนุษย์
 ความสัมพันธ์ระหว่างสัตย์กับมนุษย์ ซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์มีฐานะเป็น
เทพเจ้า มีทิษฐานุคติดังนี้
 ก. นับถือโดยคุณลักษณะ เช่น สุนัขมีความซื่อสัตย์ต่อมนุษย์ผู้
เป็นเจ้าของ, นกเหยี่ยวที่บินอยู่ในอากาศ มีความอาจหาญในการ
โฉบเฉี่ยวอาหาร, แม่โค มีหน้าที่รับใช้ในเวลาปลูกพืชและให้นม
แก่ผู้เยาว์วัยจึงเป็นตัวแทนของความอด ทนและความกรุณา
ปรานี, แมลงทับซึ่งมีอยู่มากตามต้นปาปิ รุสที่ขึ้นริมฝั่งแม่น้าไนล์
มีความขยันหมั่น เพียรในการสร้างที่อยู่ จึงเป็นตัวแทนของความ
เจริญ
 ข. สัตว์ประเภทต่างๆสมัยอียิปต์โบราณ ทาประโยชน์ให้มนุษย์มาก
ทั้งในยามสงบ และยามสงคราม เมื่อกษัตริย์เสด็จออกศึก ก็จะทรง
เลือกเอาสัตว์ที่เป็นกาลังในสงครามไปด้วย เช่น ม้า สิงโต เมื่อชนะ
ศึกกลับมาก็จะทาพิธีบูชา...สุดแต่สัตว์นั้นไปทาความดีอะไรให้
มนุษย์ก็ยอกกราบไหว้สัตว์นั้น ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ชาวอียิปต์
โบราณเป็นชาติที่รู้จักบุญคุณของสัตว์ และเป็นเครื่องแสดงใด้ว่า
มนุษย์เป็นผู้สร้างเทพเจ้า มิใช่เทพเจ้าเป็นผู้สร้างมนุษย์
 ค. เทพเจ้าต่างๆเป็นเพียงปรากฏการณ์ซึ่งสมมุติในความคิด
ที่จริงปราศจากรูปร่าง แต่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่า หากเทพเจ้า
ไม่ได้อวตารลงมาในร่างใดร่างหนึ่งแล้ว ก็ไม่มีสิ่งใดซึ่งเป็นรูปให้
ยึดถือกราบไหว้ได้ แต่รูปอะไรก็ไม่ดีเท่ารูปที่เห็นกันอยู่ ดังนั้น
ชาวอียิปต์จึงตั้งสัตว์ที่มีคุณแก่มนุษย์ก็ดี สัตว์ที่มีความสามารถ
หรืออานาจในตัวมันเองก็ดี เป็นรูปแห่งการอวตารของเทพเจ้า
 สรุป แล้วการนับถือสัตว์เป็นเทพเจ้า เพราะชาวอียิปต์มี
ศรัทธาในคุณลักษณะความดี ความกล้าหาญของสัตว์ และมี
ความกตัญญู ต่อสัตว์ที่ทาประโยชน์ให้แก่ตนด้วย ชาวอียิปต์ก็
คือคนที่มีความกลัวต่อความลึกลับที่ตนไม่สามารถหาต้นสาย
ปลาย เหตุได้ เช่นเดียวกับคนโบราณทั้งปวง
๓.๔การนับถือดวงวิญญาณ
 การนับถือดวงวิญญาณเป็นเรื่องใหญ่มาก และสาคัญมาก
ที่สุดของคนทุกชาติ ทุกภาษา บางพวกถือว่า คนเราตายไป
แล้วไม่มีอะไรเหลืออยู่ แต่บางพวกถือว่ายังมีธรรมชาติชนิด
หนึ่งเหลืออยู่ วนเวียนอยู่ในโลก ไม่หมดสูญไป สิ่งนั้นเรียก
กันว่าดวงวิญญาณ
 ความเชื่อที่มีอยู่อย่างนี้ ทาให้มนุษย์เกิดความห่วงใยเรื่องชีวิต
ในโลกหน้า เมื่อคนใดคนหนึ่งตายลง ต้องมีพิธีทาบุญ สวดมนต์
อ้อนวอน และทาพิธีกรรมต่างๆเพื่อส่งให้ดวงวิญญาณ หรือเพื่อ
เรียกดวงวิญญาณเข้ามาอยู่ในที่ที่มีความสุข บางทีมีการขอร้อง
ให้ดวงวิญญาณมาอยู่รักษาความปลอดภัยให้ด้วยก็มี
 คาสอนเกี่ยวกับดวงวิญญาณ เมื่อจากโลกนี้ไปสู่โลกอื่น ซึ่งก็ไม่รู้
เหมือนกันว่าเป็นโลกใด มีว่า เมื่อคนใกล้จะตาย มีร่างๆหนึ่ง ซึ่ง
ไม่อาจเห็นได้ด้วยตาเปล่าลอยออกจากร่างเดิม ร่างนี้เปนร่าง
แฝด หรือ ดวงวิญญาณ ภาษาอียิปต์ เรียกว่า “บา” (Ba) แล้วมี
ตัวจาลองวิญญาณ เรียกว่า “กา” (Ka) คล้ายเจตภูต และมี
ธรรมชาติชนิดหนึ่ง เรียกว่า “ขุ” (Ku) คือ ธรรมชาติที่รู้จักดี รู้จัก
ชั่ว ยังลอยวนเวียนอยู่ จนกว่าร่างเดิมจะเน่าเปื่อยทาลายไป
 ชาวอียิปต์โบราณมีธรรมเนียมว่า ผู้ที่รู้ตัวว่าจะตาย ต้องเตรียม
สถานที่เก็บศพของตัวไว้ให้อยู่ไปชั่วดินฟ้ า เมื่อยังแข็งแรงอยู่
ต้องพยายามแต่งงานให้มีลูก เพื่อลูกจะได้ทาหน้าที่รักษาศพ
ส่วนดวงวิญญาณของผู้ตาย ที่ลูกหลานไม่สามารถจะเห็นได้ด้วย
ตาเปล่าผู้อยู่ข้างหลังจะต้องช่วยกันต้อนรับให้ดี เพราะดวง
วิญญาณยังลอยวนเวียน อยู่กับร่างอยู่ใกล้ชิดญาติพี่น้อง ถ้า
ญาติพี่น้องทาอะไรบกพร่องไป ดวงวิญญาณจะโกรธเคืองเป็นที่
เดือดร้อน ถ้าเคืองมากๆเข้า ถึงกับนา อันตรายมาให้ได้
๓.๕ศพอาบยาและมรณะคัมภีร์
 นักปราชญ์กรีก ชื่อ เฮโรโดตุส
 เล่าถึงวิธีอาบศพของชาวอียิปต์ไว้ว่า
ผู้รับจ้างอาบยาศพ มีผู้ช่วยหลายคน คนหนึ่งมีหน้าที่ล้าง
มันสมอง คนหนึ่งมีหน้สที่ฉีดยา อีกคนหนึ่งมีหน้าที่คอยเจาะ
คอยล้างส่วนต่างๆของรางกายที่จาเป็น ขั้นแรกเอาขอเหล็กชัก
เข้าไปในรูจมูกทั้งสองข้าง เพื่อเอามันสมองออก แล้วฉีดยาเข้า
ไปในหัวกระโหลก ขั้นต่อไปเจาะสีข้าง ดึงไส้ออกมาล้างด้วย
เหล้า เสร็จแล้วเย็บสีข้างให้ติดกันไว้ตามเดิม แล้วเอาร่างแช่ใน
น้ายาชนิดหนึ่ง แช่ไว้เป็นเวลานาน 60 วัน แล้วเอาออกตากแดด
ร่างนั้นแห้งพร้อมไปกับยา ไม่มีกลิ่น
 ครั้นทุกอย่างเสร็จ เอาผ้าแถบเล็กๆ ชุบน้ายาสมานกระดูกพัน
ศพตามส่วนต่างๆ เป็นข้อต่อและส่วนสาคัญของศพที่เห็นว่าจะ
หักหรือหลุดได้ง่าย แล้วห่อศพด้วยผ้าเนื้อดี ซึ่งชุบน้ายาแล้ว อีก
3 ชั้น เสร็จแล้วใช้ผ้าสีแดงอย่างดีทับชั้นหนึ่ง เอาศพนั้นใส่ไว้ใน
หีบไม้ 2 ชั้น ซึ่งตามปรกติเป็นหีบคล้ายรูปคน คือตอนหัวแกะ
เป็นรูปคล้ายหน้าของผู้ตาย
 ศพที่อาบยาดีแล้ว จะต้องนาไปฝังไว้ที่เชิงภูเขา
หรือใน อุโมงค์ ซึ่งก่อเป็นเจดีย์สามเหลี่ยม เรียกว่า
ปิ รามิด (pyramid) เพื่อความคงอยู่ถาวรของศพ
 ชาวอียิปต์นับถือการหมุนเวียนของดวงวิญญาณอยู่อย่างหนึ่ง
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการหมุนเวียนของดวงอาทิตย์อธิบายว่า
ดวงอาทิตย์ ซึ่งได้รับสมมติให้เป็นมหาเทพ (รา หรือ เอเมนรา) มี
เวลาอุทัยและอัสดงคตโดยลาดับ สัมพันธ์กันไปไม่ขาด การ
หมุนเวียนเป็นนิรันดรของดวงอาทิตย์มีสภาพฉันใด สภาพของ
ดวงวิญญาณย่อมเป็นไปเช่นเดียวกัน คือมีการคงอยู่ หมุนเวียน
อยู่เป็นนิรันดร
 การจะทราบว่าดวงวิญญาณในภพอื่น จะได้รับคาพิพากษาการ
กระทาในกาลก่อนของตนอย่างไร มีหลักฐานจากหนังสือเล่ม
หนึ่ง ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่สาคัญของชาวอียิปต์ หนังสือเล่มนั้นเรียกว่า
“มรณะคัมภีร์” หรือ คัมภีร์บรรพบุรุษ (Book of Dead)
 มรณะคัมภีร์ ทาด้วยแผ่นปาปิ รุส นักโบราณคดีขุดค้นได้ในหลุม
ฝังศพ ปรากฏเป็นคาจารึกมีข้อความสารภาพผิด และคาให้การ
ต่างๆ ของดวงวิญญาณต่อหน้า มหาเทพ ข้อความบางอย่าง
ค้นพบตามกาแพงหลุมฝังศพก็มี
“มรณะคัมภีร์”หรือคัมภีร์บรรพบุรุษ(BookofDead)
๓.๖นักบวชและพิธีกรรม
 ชาวอียิปต์โบราณเห็นจะเป็นชนชาติเดียว ที่มีชีวิตอยู่กับ
พิธีกรรมและพระเจ้าในศาสนาของตนมากที่สุด ชาวอียิปต์สร้าง
ปฏิทินพิธีกรรมต่อพระเจ้าของตนขึ้นเป็นประจาวันประจาเดือน
ไม่มีเว้น ซึ่งไม่เพียงเห็นพิธีกรรมสาหรับหมู่คณะและบ้านเมือง
ยังมีพิธีกรรมประจาตัวของบุคคลแต่ละคนอีก ที่เป็นดังนี้ เพราะ
อียิปต์มีศรัทธาแน่นแฟ้ นว่า ดวงวิญญาณเป็นของไม่ตาย
พิธีกรรมเพื่อดวงวิญญาณ ก็ไม่มีที่สิ้นสุด
 หลักฐานของนักปราชญ์ เฮโรโดตุส อ้างว่า ทุกวันทุกคืน อียิปต์มี
พิธีกรรมเกี่ยวกับเทพเจ้าทั้งหมด เมื่อวันเริ่มปีใหม่ มีพิธีกรรม
อยู่ 2 พิธี คือ ใน 12 วันแรกของเดือนแรกมีพิธีกรรมเกี่ยวกับ
ดาวสุนัข(Dog’s Star) (เรียกในภาษาดาราศาสตร์ว่า Sothis) ซึ่ง
เป็นสัตว์ที่ชาวอียิปต์เชื่อว่า คอยนาดวงวิญญาณไปสู่ที่พิพากษา
โทษต่อหน้ามหาเทพโอสิริส และนาดวงวิญญาณนั้นไปสู่สุคติ
หรือ ทุคติภายหลังคาพิพากษาโทษ อีกพิธีหนึ่ง เป็นพิธีบูชากลุ่ม
ดาวที่สาคัญอื่นๆ เพื่อขอพรให้มาช่วยให้ข้าวกล้าในนางอกงาม
และเพื่อการขึ้นลงของกระแสน้าในแม่น้าไนล์ด้วย
 พิธีเกี่ยวกับชีวิต บางอย่างเกี่ยวข้องกับไสยศาสตร์เป็นคาสอน
ของนักบวช ปรากฎคาในจารึกในแผ่นปาปิ รุสว่า
วันที่ 12 เดือนโจรัค (Chorak) ห้ามมิให้ใครออกนอกบ้าน เพราะ
ถือว่าวันนั้นดวงวิญญาณของโอสิริสเสด็จเข้าไปสถิตในตัวนก
Wennu จะต้องปล่อยให้ดวงวิญญาณเลื่อนลอยไปตามสะดวก
วันที่ 14 เดือน โทบี (Tobi) คนทั้งหลายต้องร้องเพลงโศกเพื่อร่วม
เศร้าใจกับพระนางไอสิสผู้ร่าไห้อาลัยรักถึงพระสวามี เป็นต้น
 พิธีกรรมเหล่านี้ต้องอาศัย นักบวชหรือพระเป็นผู้กระทา คนต้อง
ง้อนักบวช นักบวชอียิปต์จึงมีอานาจมาก
 ประวัติศาสตร์ของชาวอียิปต์โบราณ ขึ้นอยู่กับอานาจนักบวช
นักบวชอียิปต์เป็นบุคคลพวกเดี่ยวที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับชีวิต
ของคน ตั้งแต่เกิดไปจนกระทั่งตาย
๓.๗หมวดหมู่ของเทพเจ้า
 ตามจดหมายเหตุเฮโรโดตุส เรื่องเทพเจ้าของชาวอียิปต์โบราณ
นั้น พวกนักบวชแบ่งออกไว้เป็น 3 พวก พวกที่ 1 มี 8 องค์ พวกที่
2 มี 12 องค์ และพวกที่ 3 มี 7 องค์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
 เทพเจ้าพวกที่ 1 เป็นเทพเจ้าชั้นสูง มีหน้าที่เกี่ยวกับดวงวิญญาณ
และความตายของมนุษย์ เป็นเทพชั้นสูงกว่าเทพเจ้าพวกอื่น มี
เฉพาะนักบวชที่สามารถติดต่อได้ คนธรรมดาถ้าต้องการติดต่อ
กับเทพเจ้าในกลุ่มนี้ ต้องอาศัยนักบวชเท่านั้น เทพในกลุ่มนี้
ประกอบด้วย
1. อัมน์ หรือ อัมมอน (Amm, Ammon) เป็นเจ้าแห่งชีวิต
2. มูต (Mut) เจ้าแม่ธรณี
3. เคม หรือ เคมมิส (Kem, Chemmis) พระสวามีของเจ้าแม่ธรณี
4. นัม หรือ คเนฟ์ ( Num, Kneph) เทพเจ้าผู้มีหน้าที่กาหนดเวลาโคจรของพระอาทิตย์
และพระจันทร์ (ตามนิยายว่า เป็นผู้สร้างพาหนะถวายแต่มหาเทพโอซิริส และเป็น
สถาปนิกด้วย)
5. เซติ หรือ เซต (Setti, Sete)
6. ปตาห์ (Phtah) เทพแห่งศิลปะ
7. เนต หรือ (Net, Neith) เจ้าแม่ประจาเมืองซาอิส
8.รา (Ra) เทพดวงอาทิตย์ เป็นเทพประจาเมืองเฮลิโอโปลิสด้วย
 กลุ่มที่ 2 จานวน 12 องค์ และ กลุ่มที่ 3จานวน 7 องค์นั้น เป็น
เทพเจ้าที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่่ของมนุษย์และมักมีภาพ
อภินิหารมองเห็นได้ด้วยสายตา ไม่ใช่เทพเจ้าที่เกิดจากปัญญา
(การคิดเอาเอง) ของนักบวชซึ่งประชาชนไม่สามารถเข้าถึงได้
 เทพเจ้า 2 กลุ่มนี้ มิได้มีการระบุนาม แต่บันทึกเพียงว่าเป็นเทพ
เจ้าที่เกี่ยวข้องกับธาตุทั้ง4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ อันเป็นสิ่งที่มี
ประจาอยู่ในโลก เป็นธาตุที่ประกอบกันขึ้นเป็โลก เป็นมนุษย์
และ สัตว์ ในสมัยต่อมามีการเพิ่มอากาศธาตุ ขึ้นเป็นอีกธาตุ
หนึ่ง
 ดังได้กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้น เทพเจ้าของอียิปต์องค์หนึ่ง อาจจะ
ได้รับความนับถือจากเมืองหนึ่ง แต่ไม่ได้รับความสนใจจาก
เมืองอื่นเลย ความยุ่งยากในการจัดระเบียบเทพเจ้านั้น เกิดจาก
ลักษณะการนับถือเทพเจ้าของชาวอียิปต์นั่นเอง ต่อมาได้ทีการ
มองเห็นประโยชน์ของศรัทธา ได้จัดระเบียบเทพเจ้าขึ้นใหม่ให้
เป็นระบบสาม หรือแบบรัตนตรัย(Tri-ad) ซึงนักศาสนาในยุค
หลังๆ ถือเป็นแบบอย่างการจัดระบบทางศาสนาของตนเกือบ
ทุกศาสนา
จบบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 

What's hot (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
นำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชียนำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชีย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 

Viewers also liked

บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียนบทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียนPadvee Academy
 
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรูบทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรูPadvee Academy
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนPadvee Academy
 
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณบทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกPadvee Academy
 

Viewers also liked (20)

บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียนบทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
 
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรูบทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
 
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณบทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 

Similar to บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ

ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วอารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วkittiyawir
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียhmiw
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมsupreedada
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]ssuserd22157
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxssuserfffbdb
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 

Similar to บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ (20)

ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วอารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ

  • 2. ๓.๑สถานที่เกิด  ในปัจุบันอียิปต์มีเนื้อที่ ๓๘๓,๐๐๐ตารางไมล์ ทิศเหนือติดทะเล เมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออก ติดทะเลแดง ทิศตะวันตกและทิศใต้ มีทะเลทรายเป็นขอบเขต มีทางติดต่อกับทวีปเอเชียโดยอาศัยคลอง สุเอซเป็นแนวสะพาน • ศาสนาอียิปต์โบราณถือ กาเนิด ขึ้นในแผ่นดินที่เรียกว่า อียิปต์หรือไอยคุปต์สมัยโบราณ ซึ่งตั้งอยู่บนทวีปอาฟริกา ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ ทั้งหมดเมื่อ ๗,๐๐๐ ปี กว้างใหญ่ ไม่มากนัก ยาวไปตามลาน้าไนล์
  • 3.  จากชนกลุ่มต่างๆ ที่มารวมตัวกันตามลุ่มน้าไนล์ ซึ่งแต่เดิม นั้นชนกลุ่มต่างๆนี้ไม่มีความรู้ในเรื่องภูมิ-ศาสตร์ไม่มีใครรู้ว่า ลาน้าสายนี้เกิดมาได้อย่างไร ไหลมาจากที่ไหน เพราะอะไรจึง ให้ผลแก่ชาวไร่ เพราะอะไรจึงไหลบ่า ท่วมท้น จนเกิดความ เสียหายล้มตาย ความไม่รู้เหล่านี้เอง จึงกลายเป็นบ่อเกิดแห่ง ศาสนาและศรัทธา
  • 4. ๓.๒เข้าใจคติแห่งศรัทธา  M.Marittite นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส อ้างผลการสารวจของ Herodotus ผู้เป็นปราชญ์ในสมัยกรีกโบราณ ไว้ในบันทึกของตนว่า... การนับถือศาสนาของอียิปต์โบราณนั้นสามารถแบ่งประเภท แห่ง ศรัทธาให้ศึกษาได้ดังนี้...  1. การนับถือสัตว์เป็นพระเจ้า  2. การนับถือดวงวิญญาณ  3. ศพอาบยา และ มรณะคัมภีร์  4. พิธีกรรมและนักบวช  5. หมวดหมู่ ของเทพเจ้า  6. อิทธิพลของศาสนา
  • 5. ๓.๓ การนับถือสัตว์เป็นเทพเจ้า  จะเห็นได้ว่าตามหัวเมืองใหญ่ๆ จะมีรูปปั้นสัตว์นานาชนิด ประดิษฐานอยู่ตามเทวสถานและประตูเมือง เป็นรูปเคารพอย่าง หนึ่ง นับเป็นหนึ่งในจานวนเทพประจาหัวเมือง ทั้งนี้เนื่องจากว่า สัตว์แต่ละประเภทมีความสาคัญในตัวของมันเอง สามารถทา ประโยชน์แก่มนุษย์
  • 6.  ความสัมพันธ์ระหว่างสัตย์กับมนุษย์ ซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์มีฐานะเป็น เทพเจ้า มีทิษฐานุคติดังนี้  ก. นับถือโดยคุณลักษณะ เช่น สุนัขมีความซื่อสัตย์ต่อมนุษย์ผู้ เป็นเจ้าของ, นกเหยี่ยวที่บินอยู่ในอากาศ มีความอาจหาญในการ โฉบเฉี่ยวอาหาร, แม่โค มีหน้าที่รับใช้ในเวลาปลูกพืชและให้นม แก่ผู้เยาว์วัยจึงเป็นตัวแทนของความอด ทนและความกรุณา ปรานี, แมลงทับซึ่งมีอยู่มากตามต้นปาปิ รุสที่ขึ้นริมฝั่งแม่น้าไนล์ มีความขยันหมั่น เพียรในการสร้างที่อยู่ จึงเป็นตัวแทนของความ เจริญ
  • 7.
  • 8.  ข. สัตว์ประเภทต่างๆสมัยอียิปต์โบราณ ทาประโยชน์ให้มนุษย์มาก ทั้งในยามสงบ และยามสงคราม เมื่อกษัตริย์เสด็จออกศึก ก็จะทรง เลือกเอาสัตว์ที่เป็นกาลังในสงครามไปด้วย เช่น ม้า สิงโต เมื่อชนะ ศึกกลับมาก็จะทาพิธีบูชา...สุดแต่สัตว์นั้นไปทาความดีอะไรให้ มนุษย์ก็ยอกกราบไหว้สัตว์นั้น ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ชาวอียิปต์ โบราณเป็นชาติที่รู้จักบุญคุณของสัตว์ และเป็นเครื่องแสดงใด้ว่า มนุษย์เป็นผู้สร้างเทพเจ้า มิใช่เทพเจ้าเป็นผู้สร้างมนุษย์
  • 9.  ค. เทพเจ้าต่างๆเป็นเพียงปรากฏการณ์ซึ่งสมมุติในความคิด ที่จริงปราศจากรูปร่าง แต่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่า หากเทพเจ้า ไม่ได้อวตารลงมาในร่างใดร่างหนึ่งแล้ว ก็ไม่มีสิ่งใดซึ่งเป็นรูปให้ ยึดถือกราบไหว้ได้ แต่รูปอะไรก็ไม่ดีเท่ารูปที่เห็นกันอยู่ ดังนั้น ชาวอียิปต์จึงตั้งสัตว์ที่มีคุณแก่มนุษย์ก็ดี สัตว์ที่มีความสามารถ หรืออานาจในตัวมันเองก็ดี เป็นรูปแห่งการอวตารของเทพเจ้า
  • 10.  สรุป แล้วการนับถือสัตว์เป็นเทพเจ้า เพราะชาวอียิปต์มี ศรัทธาในคุณลักษณะความดี ความกล้าหาญของสัตว์ และมี ความกตัญญู ต่อสัตว์ที่ทาประโยชน์ให้แก่ตนด้วย ชาวอียิปต์ก็ คือคนที่มีความกลัวต่อความลึกลับที่ตนไม่สามารถหาต้นสาย ปลาย เหตุได้ เช่นเดียวกับคนโบราณทั้งปวง
  • 11. ๓.๔การนับถือดวงวิญญาณ  การนับถือดวงวิญญาณเป็นเรื่องใหญ่มาก และสาคัญมาก ที่สุดของคนทุกชาติ ทุกภาษา บางพวกถือว่า คนเราตายไป แล้วไม่มีอะไรเหลืออยู่ แต่บางพวกถือว่ายังมีธรรมชาติชนิด หนึ่งเหลืออยู่ วนเวียนอยู่ในโลก ไม่หมดสูญไป สิ่งนั้นเรียก กันว่าดวงวิญญาณ
  • 12.  ความเชื่อที่มีอยู่อย่างนี้ ทาให้มนุษย์เกิดความห่วงใยเรื่องชีวิต ในโลกหน้า เมื่อคนใดคนหนึ่งตายลง ต้องมีพิธีทาบุญ สวดมนต์ อ้อนวอน และทาพิธีกรรมต่างๆเพื่อส่งให้ดวงวิญญาณ หรือเพื่อ เรียกดวงวิญญาณเข้ามาอยู่ในที่ที่มีความสุข บางทีมีการขอร้อง ให้ดวงวิญญาณมาอยู่รักษาความปลอดภัยให้ด้วยก็มี
  • 13.  คาสอนเกี่ยวกับดวงวิญญาณ เมื่อจากโลกนี้ไปสู่โลกอื่น ซึ่งก็ไม่รู้ เหมือนกันว่าเป็นโลกใด มีว่า เมื่อคนใกล้จะตาย มีร่างๆหนึ่ง ซึ่ง ไม่อาจเห็นได้ด้วยตาเปล่าลอยออกจากร่างเดิม ร่างนี้เปนร่าง แฝด หรือ ดวงวิญญาณ ภาษาอียิปต์ เรียกว่า “บา” (Ba) แล้วมี ตัวจาลองวิญญาณ เรียกว่า “กา” (Ka) คล้ายเจตภูต และมี ธรรมชาติชนิดหนึ่ง เรียกว่า “ขุ” (Ku) คือ ธรรมชาติที่รู้จักดี รู้จัก ชั่ว ยังลอยวนเวียนอยู่ จนกว่าร่างเดิมจะเน่าเปื่อยทาลายไป
  • 14.  ชาวอียิปต์โบราณมีธรรมเนียมว่า ผู้ที่รู้ตัวว่าจะตาย ต้องเตรียม สถานที่เก็บศพของตัวไว้ให้อยู่ไปชั่วดินฟ้ า เมื่อยังแข็งแรงอยู่ ต้องพยายามแต่งงานให้มีลูก เพื่อลูกจะได้ทาหน้าที่รักษาศพ ส่วนดวงวิญญาณของผู้ตาย ที่ลูกหลานไม่สามารถจะเห็นได้ด้วย ตาเปล่าผู้อยู่ข้างหลังจะต้องช่วยกันต้อนรับให้ดี เพราะดวง วิญญาณยังลอยวนเวียน อยู่กับร่างอยู่ใกล้ชิดญาติพี่น้อง ถ้า ญาติพี่น้องทาอะไรบกพร่องไป ดวงวิญญาณจะโกรธเคืองเป็นที่ เดือดร้อน ถ้าเคืองมากๆเข้า ถึงกับนา อันตรายมาให้ได้
  • 15. ๓.๕ศพอาบยาและมรณะคัมภีร์  นักปราชญ์กรีก ชื่อ เฮโรโดตุส  เล่าถึงวิธีอาบศพของชาวอียิปต์ไว้ว่า ผู้รับจ้างอาบยาศพ มีผู้ช่วยหลายคน คนหนึ่งมีหน้าที่ล้าง มันสมอง คนหนึ่งมีหน้สที่ฉีดยา อีกคนหนึ่งมีหน้าที่คอยเจาะ คอยล้างส่วนต่างๆของรางกายที่จาเป็น ขั้นแรกเอาขอเหล็กชัก เข้าไปในรูจมูกทั้งสองข้าง เพื่อเอามันสมองออก แล้วฉีดยาเข้า ไปในหัวกระโหลก ขั้นต่อไปเจาะสีข้าง ดึงไส้ออกมาล้างด้วย เหล้า เสร็จแล้วเย็บสีข้างให้ติดกันไว้ตามเดิม แล้วเอาร่างแช่ใน น้ายาชนิดหนึ่ง แช่ไว้เป็นเวลานาน 60 วัน แล้วเอาออกตากแดด ร่างนั้นแห้งพร้อมไปกับยา ไม่มีกลิ่น
  • 16.  ครั้นทุกอย่างเสร็จ เอาผ้าแถบเล็กๆ ชุบน้ายาสมานกระดูกพัน ศพตามส่วนต่างๆ เป็นข้อต่อและส่วนสาคัญของศพที่เห็นว่าจะ หักหรือหลุดได้ง่าย แล้วห่อศพด้วยผ้าเนื้อดี ซึ่งชุบน้ายาแล้ว อีก 3 ชั้น เสร็จแล้วใช้ผ้าสีแดงอย่างดีทับชั้นหนึ่ง เอาศพนั้นใส่ไว้ใน หีบไม้ 2 ชั้น ซึ่งตามปรกติเป็นหีบคล้ายรูปคน คือตอนหัวแกะ เป็นรูปคล้ายหน้าของผู้ตาย
  • 17.  ศพที่อาบยาดีแล้ว จะต้องนาไปฝังไว้ที่เชิงภูเขา หรือใน อุโมงค์ ซึ่งก่อเป็นเจดีย์สามเหลี่ยม เรียกว่า ปิ รามิด (pyramid) เพื่อความคงอยู่ถาวรของศพ
  • 18.  ชาวอียิปต์นับถือการหมุนเวียนของดวงวิญญาณอยู่อย่างหนึ่ง ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการหมุนเวียนของดวงอาทิตย์อธิบายว่า ดวงอาทิตย์ ซึ่งได้รับสมมติให้เป็นมหาเทพ (รา หรือ เอเมนรา) มี เวลาอุทัยและอัสดงคตโดยลาดับ สัมพันธ์กันไปไม่ขาด การ หมุนเวียนเป็นนิรันดรของดวงอาทิตย์มีสภาพฉันใด สภาพของ ดวงวิญญาณย่อมเป็นไปเช่นเดียวกัน คือมีการคงอยู่ หมุนเวียน อยู่เป็นนิรันดร
  • 19.  การจะทราบว่าดวงวิญญาณในภพอื่น จะได้รับคาพิพากษาการ กระทาในกาลก่อนของตนอย่างไร มีหลักฐานจากหนังสือเล่ม หนึ่ง ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่สาคัญของชาวอียิปต์ หนังสือเล่มนั้นเรียกว่า “มรณะคัมภีร์” หรือ คัมภีร์บรรพบุรุษ (Book of Dead)  มรณะคัมภีร์ ทาด้วยแผ่นปาปิ รุส นักโบราณคดีขุดค้นได้ในหลุม ฝังศพ ปรากฏเป็นคาจารึกมีข้อความสารภาพผิด และคาให้การ ต่างๆ ของดวงวิญญาณต่อหน้า มหาเทพ ข้อความบางอย่าง ค้นพบตามกาแพงหลุมฝังศพก็มี
  • 21. ๓.๖นักบวชและพิธีกรรม  ชาวอียิปต์โบราณเห็นจะเป็นชนชาติเดียว ที่มีชีวิตอยู่กับ พิธีกรรมและพระเจ้าในศาสนาของตนมากที่สุด ชาวอียิปต์สร้าง ปฏิทินพิธีกรรมต่อพระเจ้าของตนขึ้นเป็นประจาวันประจาเดือน ไม่มีเว้น ซึ่งไม่เพียงเห็นพิธีกรรมสาหรับหมู่คณะและบ้านเมือง ยังมีพิธีกรรมประจาตัวของบุคคลแต่ละคนอีก ที่เป็นดังนี้ เพราะ อียิปต์มีศรัทธาแน่นแฟ้ นว่า ดวงวิญญาณเป็นของไม่ตาย พิธีกรรมเพื่อดวงวิญญาณ ก็ไม่มีที่สิ้นสุด
  • 22.  หลักฐานของนักปราชญ์ เฮโรโดตุส อ้างว่า ทุกวันทุกคืน อียิปต์มี พิธีกรรมเกี่ยวกับเทพเจ้าทั้งหมด เมื่อวันเริ่มปีใหม่ มีพิธีกรรม อยู่ 2 พิธี คือ ใน 12 วันแรกของเดือนแรกมีพิธีกรรมเกี่ยวกับ ดาวสุนัข(Dog’s Star) (เรียกในภาษาดาราศาสตร์ว่า Sothis) ซึ่ง เป็นสัตว์ที่ชาวอียิปต์เชื่อว่า คอยนาดวงวิญญาณไปสู่ที่พิพากษา โทษต่อหน้ามหาเทพโอสิริส และนาดวงวิญญาณนั้นไปสู่สุคติ หรือ ทุคติภายหลังคาพิพากษาโทษ อีกพิธีหนึ่ง เป็นพิธีบูชากลุ่ม ดาวที่สาคัญอื่นๆ เพื่อขอพรให้มาช่วยให้ข้าวกล้าในนางอกงาม และเพื่อการขึ้นลงของกระแสน้าในแม่น้าไนล์ด้วย
  • 23.  พิธีเกี่ยวกับชีวิต บางอย่างเกี่ยวข้องกับไสยศาสตร์เป็นคาสอน ของนักบวช ปรากฎคาในจารึกในแผ่นปาปิ รุสว่า วันที่ 12 เดือนโจรัค (Chorak) ห้ามมิให้ใครออกนอกบ้าน เพราะ ถือว่าวันนั้นดวงวิญญาณของโอสิริสเสด็จเข้าไปสถิตในตัวนก Wennu จะต้องปล่อยให้ดวงวิญญาณเลื่อนลอยไปตามสะดวก วันที่ 14 เดือน โทบี (Tobi) คนทั้งหลายต้องร้องเพลงโศกเพื่อร่วม เศร้าใจกับพระนางไอสิสผู้ร่าไห้อาลัยรักถึงพระสวามี เป็นต้น
  • 24.  พิธีกรรมเหล่านี้ต้องอาศัย นักบวชหรือพระเป็นผู้กระทา คนต้อง ง้อนักบวช นักบวชอียิปต์จึงมีอานาจมาก  ประวัติศาสตร์ของชาวอียิปต์โบราณ ขึ้นอยู่กับอานาจนักบวช นักบวชอียิปต์เป็นบุคคลพวกเดี่ยวที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ของคน ตั้งแต่เกิดไปจนกระทั่งตาย
  • 25. ๓.๗หมวดหมู่ของเทพเจ้า  ตามจดหมายเหตุเฮโรโดตุส เรื่องเทพเจ้าของชาวอียิปต์โบราณ นั้น พวกนักบวชแบ่งออกไว้เป็น 3 พวก พวกที่ 1 มี 8 องค์ พวกที่ 2 มี 12 องค์ และพวกที่ 3 มี 7 องค์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
  • 26.  เทพเจ้าพวกที่ 1 เป็นเทพเจ้าชั้นสูง มีหน้าที่เกี่ยวกับดวงวิญญาณ และความตายของมนุษย์ เป็นเทพชั้นสูงกว่าเทพเจ้าพวกอื่น มี เฉพาะนักบวชที่สามารถติดต่อได้ คนธรรมดาถ้าต้องการติดต่อ กับเทพเจ้าในกลุ่มนี้ ต้องอาศัยนักบวชเท่านั้น เทพในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย 1. อัมน์ หรือ อัมมอน (Amm, Ammon) เป็นเจ้าแห่งชีวิต 2. มูต (Mut) เจ้าแม่ธรณี 3. เคม หรือ เคมมิส (Kem, Chemmis) พระสวามีของเจ้าแม่ธรณี 4. นัม หรือ คเนฟ์ ( Num, Kneph) เทพเจ้าผู้มีหน้าที่กาหนดเวลาโคจรของพระอาทิตย์ และพระจันทร์ (ตามนิยายว่า เป็นผู้สร้างพาหนะถวายแต่มหาเทพโอซิริส และเป็น สถาปนิกด้วย) 5. เซติ หรือ เซต (Setti, Sete) 6. ปตาห์ (Phtah) เทพแห่งศิลปะ 7. เนต หรือ (Net, Neith) เจ้าแม่ประจาเมืองซาอิส 8.รา (Ra) เทพดวงอาทิตย์ เป็นเทพประจาเมืองเฮลิโอโปลิสด้วย
  • 27.  กลุ่มที่ 2 จานวน 12 องค์ และ กลุ่มที่ 3จานวน 7 องค์นั้น เป็น เทพเจ้าที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่่ของมนุษย์และมักมีภาพ อภินิหารมองเห็นได้ด้วยสายตา ไม่ใช่เทพเจ้าที่เกิดจากปัญญา (การคิดเอาเอง) ของนักบวชซึ่งประชาชนไม่สามารถเข้าถึงได้  เทพเจ้า 2 กลุ่มนี้ มิได้มีการระบุนาม แต่บันทึกเพียงว่าเป็นเทพ เจ้าที่เกี่ยวข้องกับธาตุทั้ง4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ อันเป็นสิ่งที่มี ประจาอยู่ในโลก เป็นธาตุที่ประกอบกันขึ้นเป็โลก เป็นมนุษย์ และ สัตว์ ในสมัยต่อมามีการเพิ่มอากาศธาตุ ขึ้นเป็นอีกธาตุ หนึ่ง
  • 28.  ดังได้กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้น เทพเจ้าของอียิปต์องค์หนึ่ง อาจจะ ได้รับความนับถือจากเมืองหนึ่ง แต่ไม่ได้รับความสนใจจาก เมืองอื่นเลย ความยุ่งยากในการจัดระเบียบเทพเจ้านั้น เกิดจาก ลักษณะการนับถือเทพเจ้าของชาวอียิปต์นั่นเอง ต่อมาได้ทีการ มองเห็นประโยชน์ของศรัทธา ได้จัดระเบียบเทพเจ้าขึ้นใหม่ให้ เป็นระบบสาม หรือแบบรัตนตรัย(Tri-ad) ซึงนักศาสนาในยุค หลังๆ ถือเป็นแบบอย่างการจัดระบบทางศาสนาของตนเกือบ ทุกศาสนา
  • 30.