SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
จัดทำโดย
นำงสำวกิตติยำ วิริยะวีรวัฒน์
 อารยธรรมเมโสโปเมเมีย กาเนิดขึ้นในบริเวณลุ่มแม่น้า 2 สาย คือ แม่น้าไทกริสและ
แม่น้ายูเฟรทีส เป็นแหล่งอารยธรรมแห่งแรกของโลก บริเวณนี้เป็นเขตที่ราบลุ่มแม่น้า
อันอุดมสมบูรณ์ ท่ามกลางอาณาบริเวณที่เป็นทะเลทรายและเขตภูเขา แม่น้าทั้งสอง
ไหลลงสู่ทะเลที่อ่าวเปอร์เซีย ดินแดนเมโสโปเตเมียเป็นดินแดนที่ควบคุมอาณาเขต
กว้างขวาง พื้นที่ตอนบนของลุ่มแม่น้ามีลักษณะเป็นพื้นที่ราบสูงกว่าตอนใต้และจะ
ลาดต่าลงมายังพื้นที่ราบลุ่มตอนล่าง พื้นที่ตอนบนของลุ่มแม่น้าจึงมีความแห้งแล้ง การ
กสิกรรมจะต้องใช้ระบบชลประทาน ส่วนพื้นที่่ราบลุ่มตอนล่างเป็นที่ราบต่าเป็นที่ราบ
ดินดอนที่อุดมสมบูรณ์ เกิดจาการทับถมของดินตะกอนที่แม่น้าทั้งสองสายพัดเอา
โคลนตมมาทับถมไว้บริเวณ ปากน้า ทาให้เกิดพื้นดินงอกตรงปากแม่น้าทุกปี บริเวณนี้
เรียกว่า “บาบิโบเนีย”
เป็นดินแดนที่มีฝนตกน้อยมาก เพราะมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายกึ่ง
ทะเลทราย อากาศจึงแห้งแล้ง ส่วนทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ ได้แก่ ดิน
อันอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะดินเหนียวซึ่งนามาทาอิฐในการสร้าง
บ้านเรือนและศาสนา สถาน ส่วนแร่ธาตุ คือ เหล็กและเกลือลักษณะ
ชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในแหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมีย เป็นชนหลายกลุ่ม
เผ่าผลัดกันมาตั้งถิ่นฐานและมีอานาจในดินแดนแถบนี้ ได้แก่ พวกสุเม
เรียน ต่อมาเป็นพวกเผ่าเซเมติก ได้แก่ แอคคัด และพวกอามอไรต์หลัก
จากนั้นมีพวกอินโดอารยัน ได้แก่ พวกฮิตไทต์และพวกเปอร์เซีย
ชาวสุเมเรียนเป็นชนเผ่าแรกที่มีอานาจครอบครองดินแดนเมโสโปเตเมีย
ยังอยู่ ระหว่างแม่น้าไทกริสและแม่น้ายูเฟรทีส ชาวสุเมเรียนเอาชนะ
ธรรมชาติด้วยการสร้างทานบใหญ่สองฟากฝั่งแม่น้า สร้างครองระบาย
น้า เขื่อนกั้นน้า ประตูน้าและอ่างเก็บน้าเพื่อระบายน้าไปยังบริเวณที่แห้ง
แล้งที่อยู่ไกลออกไป ชาวสุเมเรียนจึงเป็นพวกแรกที่ทาระบบชลประทาน
ได้
วัฒนธรรมสุเมเรียนส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนาแทบทั้งสิ้น พวกสุ
เมเรียนจึงนิยมสร้างศาสนสถานขนาดใหญ่เรียกว่า “ซิกรูแลต” ซึ่งมี
รูปร่างแบบสถาปัตยกรรมคล้ายภูเขาขนาดใหญ่ เป็นสัญลักษณ์ที่ประทับ
ของเทพเจ้าต่างๆ ซิกรูแรตสร้างด้วยอิฐตากแห้ง
ได้จัดตั้งอาณาจักรบาบิโลเนีย ขึ้นมาซึ่งเป็นอาณาจักรที่เข้มแข็งมีการ
ปกครองแบบศูนย์รวม มีการเก็บภาษีอากร การเกณฑ์ทหาร รัฐควบคุม
การค้าอย่างใกล้ชิด ผลงานสาคัญได้แก่ ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี (
The Code of Hammurabi ) ยึดถือหลัก ตาต่อตา ฟันต่อฟัน ( an eye for
an eye , a tooth for a tooth ) ในการลงโทษ กล่าวคือ ให้ใช้การทดแทน
ความผิดด้วยการกระทาอย่างเดียวกัน เป็นแบบอย่างของความพยายามที่
จะให้เกิดความยุติธรรมในการปกครอง นับเป็น กฎหมายที่เก่าแก่ที่สุดใน
โลก
 ได้เข้ายึดครองกรุงบาบิโลนและอาณาจักรต่างๆ ในเอเชียไมเนอร์ อัส
ซีเรียเป็นนักรบที่ กล้าหาญ มีศูนย์กลางการปกครองที่เมืองนิเนเวห์ (
Nineveh ) ผลงานที่สาคัญ ได้แก่
การสลักภาพนูนต่า ( base relief ) เป็นมรดกทางศิลปกรรมที่สาคัญ
แสดงภาพเกี่ยวกับชีวิตประจาวันของชาวอัสซีเรีย ได้แก่ การล่าสัตว์การ
ทาสงคราม ศิลปวัฒนธรรมเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าอัสซูร์บานิปาล
ห้องสมุดนิเนเวห์ มีการเก็บรวบรวมงานเขียนที่เป็นแผ่นจารึกต่าง ๆไว้
ถึง 22,000 แผ่น นับเป็นห้องสมุดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสมัยนั้น สร้างโดย
พระเจ้าอัสซูร์บานิปาล
 ด้านการปกครอง การจัดการปกครองจักรวรรดิเปอร์เซียสมัยพระเจ้าดาริอุส
ทาให้เปอร์เซียได้รับการยกย่องว่าเปนชาติแรกที่ริเริ่ม
ระบบการปกครองส่นภูมิภาค
 ทรงสร้างถนนชั้นดีเชื่อมโยงทั่วจักรวรรดิ การใช้ม้าเร็วสื่อสารและจัดให้มี
สถานที่พักม้าระหว่างราชสานักกับหัวเมืองทุกแห่ง ทาให้เปอร์เซียได้รับ
การยกย่องว่าเป็นชาติแรกที่ให้กาเนิดไปรษณีย์
 สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม แม้จะได้รับการถ่ายทอดมาจากชาติอื่นทั้งสิ้น
แต่ก็ได้รับความยกย่องด้านความงาม การรู้จักนาเอาส่วนดีของสถาปัตยกรรม
และศิลปกรรมของชาติอื่นมาผสมกลมกลืนเข้าอย่างเหมาะเจาะ
 เปอร์เซียเป็นชาติแรกที่ให้กาเนิดศาสนาที่มีศาสดาและพระธรรมคาสั่งสอน
 พวกฮิบบรูว์นี้เป็นชนชาติที่มีอิทธิพลเป็นอย่างมากแก่คริสตศาสนา บัญญัติต่างๆตลอดจน
เรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างโลก น้าท่วมโลกและความเชื่อที่ว่า
พระผู้เป็นเจ้าเป็นผู้ออกกฎต่างๆ และเป็นผู้ตัดสินเรื่องราวต่างๆในคัมภีร์ไบเบิล ส่วนที่พวก
ฮิบบรูว์จะมีกาเนิดมาแต่ไหนนั้นยังเป็นเพียงแค่การสันนิษฐาน
ว่าเป็นชนเผ่าเซไมท์เผ่าหนึ่งในเขตทะเลทราเบีย และเป็นผู้สร้างชาติอิสราเอลในราวปี 1800
B.C. หลังจากนั้นได้เกิดเหตุการณ์ข้าวยากหมากแพงขึ้น
พวกฮิบบรูว์อดอยากจึงหนีเข้าไปอยู่ในอียิปต์ ในราว 1600 B.C. ได้ไปตั้งถิ่นฐานในแถบเดล
ตา แต่ถูกฟาโรห์จับไปเป็นทาสในราว ค.ศ. 1300-1250
พวกฮิบบรูว์มีผู้นาคนใหม่คือ โมเสส ได้ทาการปลดปล่อยพวกฮิบบรูเป็นอิสระและพาไปอยู่ที่
คาบสมุทรซีนาย โมเสสได้รวบรวมพวกฮิบบรูว์เผ่าต่างๆเข้าด้วยกัน
เป็นการรวมแบบสมาพันธรัฐ และแนะนาให้พวกฮิบบรูว์นับถือยาห์เวห์ หือยะโฮวาห์ การที่
รวมกันได้ครั้งนี้เองทาให้พวกฮิบบรูว์พยายามจะยึดดินแดนปาเลสไตน์
ให้หมด ซึ่งบริเวณดังกล่าวเป็นอาณาจักรของพวกเจริญที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนช้านานแล้ว
เรียกว่าพวก “เคนันไนท์” (Canannite)
เคนันไนท์เป็นชนเผ่ำเซมิติคอีกสำขำหนึ่ง ซึ่งเจริญขึ้นได้เพรำะได้รับ
อำรยธรรมจำกอียิปต์และบำบิโลเนีย สำมำรถสร้ำงบ้ำนเมือง
ใหญ่โต
มีป้ อมปรำกำรแข็งแรงล้อมรอบเรียกว่ำ “นครเยลูซำ
เล็ม” (Jerusalem) พวกฮิบบรูที่อพยพมำตอนแรกๆต้อง
อำศัยพวกเคนันไนท์อยู่นอกกำแพงเมือง
พวกเคนันไนท์เรียกผู้อพยพมำใหม่เหล่ำนี้ว่ำ “ฮิบบรู” แปลว่ำ “พวก
ข้ำงโน้น”
อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ หรืออารยธรรมอียิปต์โบราณ เป็นสังคม
เกษตรกรรมริมฝั่งแม่น้าไนล์ ชาวอียิปต์นับถือเทพเจ้าหลายองค์โดยมีสุ
ริยเทพ หรือ เทพเจ้าเร ( Re ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด นอกจากนี้ยังมี โอซิรีส (
Osiris ) เทพแห่งแม่น้าไนล์ไอซีส ( Isis ) เทพีแห่งพื้นดิน
• ความเจริญของอารยธรรม
การประดิษฐ์อักษรภาพที่เรียกว่า “เฮียโรกลิฟิก” ( hieroglyphic ) โดย
เขียนลงบนกระดาษปาปิรุส ซึ่งทาจากต้นปาปิรุส ใช้ปล้องหญ้ามาตัดเป็น
ปากกาจิ้มหมึก ส่วนหมึกที่ใช้เขียนทาด้วยถ่านป่นผสมยางไม้
 ด้านสถาปัตยกรรม มีการสร้าง พีระมิด ( pyramid ) เป็นสุสานฝังพระศพของ
ฟาโรห์ (Pharaoh) ตลอดจนพระราชวงศ์และขุนนาง พีระมิดที่ใหญ่ที่สุดคือ
มหาพีระมิดแห่งเมืองกิเซห์
 ด้านการแพทย์
รู้จักการเก็บรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อยที่เรียกว่า“มัมมี่” (Mummy)ซึ่งสะท้อน
ความเชื่อของชาวอียิปต์ในเรื่องการฟื้นคืนชีพของผู้ตาย
 วรรณกรรม หนังสือว่าด้วยความตาย หรือบันทึกของผู้ตาย ( Book of the
Dead )กล่าวว่าทุกคนเมื่อตายไปแล้ววิญญาณจะต้องไปพบกับเทพเจ้า เพื่อรับ
การพิพากษา โดยการนาเอาหัวใจไปชั่งกับขนนกแห่งความจริง ถ้าวิญญาณ
นั้นมีบาปติดตัว จะมีสัตว์ร้ายมากินหัวใจนั้นทันที
 สมัยอาณาจักรเก่า (The Old Kingdom) ประมาณ 3,200 - 2,300 ปีก่อนคริสตกาล เป็น
สมัยที่อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของอียิปต์เริ่มปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก ฟาโรห์เมเนสได้ทรง
รวมอียิปต์บนและอียิปต์ล่างเข้าด้วยกันและสถาปนาราชวงศ์ที่1 ขึ้นเมื่อประมาณ
3,200 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยอาณาจักรเก่านี้มีฟาโรห์ปกครองทั้งสิ้นรวม 6 ราชวงศ์
จนกระทั่งถึง 2,300 ปีก่อนคริสตกาล ระหว่างสองศตวรรษแรกมีเมืองหลวงคือธีบส์
(Thebes) ในอียิปต์บน ในราชวงศ์ที่สามย้ายมาอยู่ที่เมืองเมมฟิส และอยู่นานถึง 5
ศตวรรษ เรียกว่าสมัยเมมฟิส (Memphis period) ในสมัยนี้มีการสร้างพีระมิดมาก จึงมี
ผู้เรียกยุคนี้ว่ายุคปิรามิด (Pyramid Age) ในสมัยนี้มีฟาโรห์ทรงพระนามว่า ซีนุตเรต
(Senusret) ได้โปรดให้ขุดคลองจากแม่น้าไนล์ไปเชื่อมกับทะเลแดง สมัยอาณาจักรเก่า
เริ่มเสื่อมในสมัยราชวงศ์ที่ 6 ข้าหลวงที่ฟาโรห์ส่งไปปกครองมณฑลต่างๆก็กระด้าง
กระเดื่อง ก่อให้เกิดจลาจล ชิงอานาจความเป็นใหญ่อยู่ประมาณ 200 ปี ระยะเวลาของ
ความระส่าระส่ายที่มากั้นระหว่างอาณาจักรเก่า (Old Kingdom) กับอาณาจักรกลาง
(Middle Kingdom) เรียกว่ายุคฟิวดัล (Feudal Age) ของอียิปต์
 สมัยอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom) ประมาณ 200-1580 ปีก่อน
คริสตกาล หลังจากที่เกิดความระส่าระส่ายและบรรดาขุนนางที่ตั้งตัวเป็นใหญ่
ต่างรบพุ่งแย่งชิงความเป็นใหญ่กันจนอ่อนกาลังลงแล้วฟาโรห์ในสมัย
ราชวงศ์ที่ 12 ได้ตั้งตัวเป็นใหญ่ รวบรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง
เนื่องจากพระองค์ได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือจากประชาชนอียิปต์ส่วน
ใหญ่ พระองค์จึงได้แต่งตั้งประชาชนอียิปต์ให้ดารงตาแหน่งต่างๆในรัฐบาล
สมัยนี้เป็นสมัยหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองและเป็นประชาธิปไตยที่สุด เรียกกันว่า “ยุค
ทองของอียิปต์” ต่อมาอานาจของฟาโรห์เริ่มเสื่อมลง ในที่สุดได้ถูกพวกฮิก
ซอส (Hyksos) ซึ่งเป็นพวกเรเร่อนทางตะวันตกของทวีปเอเชียเข้ามารุกราน
และยึดครองนานเกือบ 200 ปี เป็นผลให้อียิปต์ลืมความแตกแยกภายในอย่าง
สิ้นเชิง กลับมาผนึกกาลังกันขับไล่พวกฮิกซอสให้ออกจากประเทศได้ก่อน
1580 ปีก่อนคริสตกาล
 สมัยจักรวรรดิ (The Empire) ประมาณ 1580-1090 ปีก่อนคริสตกาล ผู้เป็น
กาลังในการขับไล่พวกฮิกซอสคือ ฟาโรห์อาห์โมสที่หนึ่ง (Ahmos I) ได้
สถาปนาราชวงศ์ที่ 18 ขึ้น ทรงเป็นฟาโรห์ที่ทรงอานาจยิ่งใหญ่ของอียิปต์
อาณาจักรอียิปต์เป็นปึกแผ่นยิ่งกว่าสมัยใดทั้งสิ้น พระองค์ยังทรงตีได้ดินแดน
ใกล้เคียงเข้ามาอยู่ใต้จักรวรรดิอีกเป็นจานวนมาก ทรงทาให้อียิปต์มีความรู้สึก
รักชาติและสามารถผนึกกาลังขับไล่พวกฮิกซอสออกไปได้สาเร็จ ในสมัย
จักรวรรดินี้มีฟาโรห์ปกครองอยู่3 ราชวงศ์จนถึงราชวงศ์ที่ 20 เป็นสมัยที่
อียิปต์ทาสงครามแผ่ขยายอานาจ เนื่องจากมีกองทัพที่มีประสิทธิภาพมาก
ฟาโรห์อาห์โมสได้ยกกองทัพเข้าไปยังดินแดนปาเลสไตน์และประกาศยึด
ครองประเทศซีเรีย
ความเจริญในหลายดลายๆด้านของอียิปต์สืบเนื่องมาจากความเชื่อเรื่อง
วิญญาณความก้าวหน้าทางด้านคณิตศาสตร์และ วิศวกรรมในการสร้าง
พีระมิดขนาดใหญ่เพื่อแป็นสุสานเก็บพระศพฟาโรห์ ความเจริญทางด้าน
การแพทย์ในการเก็บรักษาศพด้วยการกระทามัมี่เพื่อรอวันที่ฟาโรห์จะ
ฟื้นคืนชีพอีกครั้ง
ชำวอียิปต์มีควำมรู้ด้ำนสถำปัตยกรรมและวิศวกรรม สำมำรถ
สร้ำงพีระมิดขนำดใหญ่รู้จักคิดค้นเครื่องทุ่นแรง ป็นชำติที่
วำงรำกฐำนคณิตศำสตร์ไว้เป็น2แขนง คือ เลขคณิตและเรขำคณิต
กำรบวก ลบ หำร หำรคำนวนหำปริมำตรของพีระมิด
ชำวอียิปต์ศึกษำตำแหน่งและกำรโคจรของดวงดำวบนท้องฟ้ ำจน
สำมำรถคิดค้นทำปฎิทินทำงสุริยคติได้ และยังรู้จักทำนำฬิกำแดด
บอกเวลำ
ชำวอียิปต์มีควำมรู้ด้ำนกำรเก็บศพไม่ให้เน่ำเปื่อยนอกจำกนั้นยังมี
ควำมรู้ทำงด้ำนกำรผ่ำตัดและรักษำโรคเฉพำะทำง มีจักษุแพทย์
ทันตแพทย์ ศัลยแพทย์ และยังคิดปรับปรุงยำชนิดต่ำงๆ
อารยธรรมกรีกกาเนิดบนผืนแผ่นดินบริเวณที่ราบชายฝั่งทะเลอีเจียน
บนเกาะครีต
อารยธรรมทีเกิดเรียกว่า อารยธรรมไมนวน ความเจริญของกรีก
แบ่งเป็น 2 ยุคดังนี้
มีการปกครองแบบนครรัฐ มีนครเอเธนส์ เป็นศูนย์กลางมีการวางรากฐานการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย
นิยมยกย่องในเสรีภาพ
• สถาปัตยกรรม สร้างด้วยหินอ่อน หลังคาหน้าจั่ว มีเสาหินเรียงรายจานวนมาก
 หัวเสาของกรีกมี 3 ลักษณะ ได้แก่
ดอริก เป็นแบบดั้งเดิม ตัวเสาส่วนล่างใหญ่และเรียวขึ้นเล็กน้อย ตามลา
เสา แกะเป็นทางยาว ข้างบนมีแผ่นหินปิดวางทับอยู่ เน้นความงามที่
เรียบ แต่ให้ความรู้สึกมั่นคงแข็งแรง เช่น วิหารพาร์เธนอน (Partenon)
ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียง
ไอโอนิก เสามีลักษณะเรียกว่าแบบ ดอริก แผ่นหินบนหัวเสา เปลี่ยน
จากแบบเรียบ มาเป็นม้วนย้อยออกมาสองข้าง มีลักษณะงามแช่มช้อย
มากขึ้น
โครินเธียน ดัดแปลงจาก ไอโอนิก ลักษณะเสาเรียวกว่าแบบ ไอโอนิก
หัวเสาตกแต่งเป็นรูปใบไม้ มีความหรูหรามากกว่า
งานประติมากรรม เน้นแสดงสัดส่วนสรีระของมนุษย์งานสาคัญ เช่น
เทพวีนัส เทพเจ้าซีอุส
วรรณคดี เป็นความเชื่อในเรื่องของศาสนา การเคารพบูขาเทพเจ้า
วรรณกรรมที่มีชื่อเสียง ได้แก่ มหากาพย์อิเลียด และ โอดิสซีย์ของโฮ
เมอร์
การแข่งขันกีฬาระหว่างนครรัฐต่าง ๆเพื่อบูชาเทพเจ้าที่ภูเขาโอลิมปัส จน
กลายเป็น การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในสมัยปัจจุบันความรู้ด้านดารา
ศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
2. ยุคเฮเลนนิสติก เป็นยุคที่อารยธรรมกรีกถูกเผยแพร่ไปยังดินแดน
ตะวันออก เอเชียไมเนอร์และเอเชียใต้โดยมีนครรัฐมาซิโดเนีย เป็นนคร
รัฐที่มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ในสมัยของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหา
ราช ศิลปวัฒนธรรมกรีกในยุคนี้จึงมีลักษณะผสมผสานกับวัฒนธรรม
ตะวันออก
ประติมากรรม แสดงถึงความทุกข์ยาก ความทรมาน ความเจ็บปวด และ
ความชราของมนุษย์
จิตรกรรม มีการวาดภาพประดับฝาผนังขนาดใหญ่โดย ใช้หินหรือ
กระเบื้องสีมาประดับ เรียกว่า โมเสก ( mosaic )
 ชาวโรมันเป็นกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในแหลมอิตาลี ต่อมาเมื่อประมาณ 753 ปี
ก่อนคริสตร์ศักราช มีชาวโรมันกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่า“ลาติน ”( Latin ) ได้สร้าง
กรุงโรมขึ้นและทาสงครามขับไล่ชนพื้นเมืองชาวอีทรัสกัน ( Etruscan
) ออกไปได้สาเร็จ ลักษณะอารยธรรมโรมัน คือได้รับอิทธิพลอารยธรรมมา
จากกรีก แต่สะท้อนให้เห็นบุคลิกภาพของชาวโรมันชาวโรมันเป็นนักปฏิบัติ
ต่างจากชาวกรีกซึ่งเป็นนักคิดชาวโรมันเน้นให้มนุษย์รับผิดชอบต่อรัฐและ
เน้นระเบียบวินัยกฎหมายเข้มงวดอาณาจักรโรมันระยะแรกปกครองแบบ
สาธารณรัฐต่อมาจักรพรรดิออคตาเวียน สถาปนาจักรวรรดิโรมันสมัย
จักรวรรดิโรมันเป็นยุคที่เจริญสูงสุด แพร่ขยายดินแดนได้ทั่วยุโรปสุดท้าย
จักรวรรดิโรมันล่มสลาย เพราะถูกชาวอนารยชนเผ่าเยอรมัน บุกทาลาย เมื่อ
ค.ศ.476 ทาให้ยุโรปเข้าสู่ประวัติศาสตร์สมัยกลาง
การปกครองและกฎหมาย
โรมันเป็นชาติแรกที่ก่อตั้งระบบสาธารณรัฐ
กฎหมายสิบสองโต๊ะ และประมวลกฎหมายของจักรพรรดิจัสติเนียน ได้กลายเป็น
รากฐาน ของกฎหมายที่ใช้ในยุโรปต่อมา
สถาปัตยกรรม ไม่นิยมสร้างวิหารถวายเทพเจ้าขนาดใหญ่อย่างกรีก แต่
สร้างอาคารต่างๆ เพื่อประโยชน์ใช้สอยของสาธารณชน เช่นโคลอส
เซียม เป็นสนามกีฬาสถานที่อาบน้าสาธารณะ เพื่อเป็นสถานที่พบปะ
สังสรรค์ออกกาลังกาย งานด้านสถาปัตยกรรมจะเน้นความใหญ่โต
แข็งแรง ทนทาน ประตูโค้ง ( arch ) หลังคาแบบจั่วเป็นโดม
ประติมากรรม สะท้อนบุคลิกภาพมนุษย์สมจริงตามธรรมชาติ สัดส่วน
สวยงามเหมือนสมัยกรีก แต่จะแกะสลักรูปเหมือนของบุคคลสาคัญ ๆ
เช่น จักรพรรดิ นักการเมือง (โดยเฉพาะในท่าครึ่งท่อนบน)
ภาษา ใช้ภาษาละตินเป็นทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ซึ่งต่อมาเป็นพื้นฐาน
ของภาษาประจาชาติต่าง ๆ เช่น ภาษาฝรั่งเศส อิตาลี สเปน และโปรตุเกส
การคมนาคม ชาวโรมันได้ชื่อว่าเป็นชาติแรกที่รู้จักสร้างถนนเพื่อ
ประโยชน์ในการปกครอง สมัยจักรวรรดิโรมันเป็นยุคที่เจริญสูงสุด สร้าง
ถนนทั่วทั้งจักรวรรดิ จนได้สมญานาม “ถนนทุกสายมุ่งสู่กรุงโรม”

More Related Content

What's hot

เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียbew lertwassana
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilizationtimtubtimmm
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2Napatrapee Puttarat
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียhmiw
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22pnmn2122
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกDraftfykung U'cslkam
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันmminmmind
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2itsadaphon
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันJungko
 

What's hot (16)

เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 

Viewers also liked

Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.
Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.
Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.Serhii Stasko
 
Emotional intelligence pt
Emotional intelligence   ptEmotional intelligence   pt
Emotional intelligence ptNirankar Royal
 
Diosa Artemis
Diosa ArtemisDiosa Artemis
Diosa Artemisnnoeliax
 
Relacion con las autoridades
Relacion con las autoridadesRelacion con las autoridades
Relacion con las autoridadesjesus suarez
 
Electromagnetic pollution in every day’s Life
Electromagnetic pollution in every day’s LifeElectromagnetic pollution in every day’s Life
Electromagnetic pollution in every day’s LifeJayaprakash Balachandran
 
Las polillas de darwin
Las polillas de darwinLas polillas de darwin
Las polillas de darwinPaulo Arieu
 
Como preparar un_bosquejo
Como preparar un_bosquejoComo preparar un_bosquejo
Como preparar un_bosquejoTensor
 
Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200
Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200
Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200Markku Rehberger
 
MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211
MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211
MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211由佳 青木
 

Viewers also liked (12)

Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.
Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.
Эффективные кампании в интернете для разных задач МСБ.
 
Emotional intelligence pt
Emotional intelligence   ptEmotional intelligence   pt
Emotional intelligence pt
 
Diosa Artemis
Diosa ArtemisDiosa Artemis
Diosa Artemis
 
Renata xavier Fotografia Social
Renata xavier Fotografia Social Renata xavier Fotografia Social
Renata xavier Fotografia Social
 
GET-ACT at Youth4work
GET-ACT at Youth4workGET-ACT at Youth4work
GET-ACT at Youth4work
 
Conférence_20150928_Linkedin
Conférence_20150928_LinkedinConférence_20150928_Linkedin
Conférence_20150928_Linkedin
 
Relacion con las autoridades
Relacion con las autoridadesRelacion con las autoridades
Relacion con las autoridades
 
Electromagnetic pollution in every day’s Life
Electromagnetic pollution in every day’s LifeElectromagnetic pollution in every day’s Life
Electromagnetic pollution in every day’s Life
 
Las polillas de darwin
Las polillas de darwinLas polillas de darwin
Las polillas de darwin
 
Como preparar un_bosquejo
Como preparar un_bosquejoComo preparar un_bosquejo
Como preparar un_bosquejo
 
Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200
Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200
Nem360 2017 setting technology trends into the strategic context v200
 
MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211
MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211
MBSハッカソン協賛品_ハンズラボ20170211
 

อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว