SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
อารยธรรมอินคา




มาชู ปิกชู หรือที่นิยมเรียกอีกอย่ างว่ า เมืองทีสาบสู ญแห่ งอินคา
                                                ่
คณะผูจดทา
                      ้ั
นาย        รัฐพล       กาญจนสาร เลขที่10
นาย        อัฐสิ ทธิ์ เข็มเพชร         เลขที่24
นางสาว    วรพร         เหล่าจินดา เลขที่27
นางสาว    ปิ ยาภรณ์ ดีสม               เลขที่34
นางสาว    ประภาพร บุญพันธ์             เลขที่42
              ชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่5/2
                      เสนอ
         อาจารย์ สฤษดิ์ศกดิ์ ชิ้นเขมจารี
                          ั
สถานที่ต้งของอารยธรรมอินคา
         ั




  ภาพแผนที่ตัง Machu Picchu
             ้
่               ่
         อยูทวีปอเมริ กาใต้ อยูบริ เวณที่ราบสู งของประเทศเปรู ในทางทิศ
ตะวันออกเฉี ยงเหนือของเมืองกุสโก อดีตเมืองหลวงของอินคา ซึ่งเป็ นทั้ง
ศูนย์กลางการปกครอง การเมืองและการทหารประมาณ70กิโลเมตร Machu
             ่
Picchu อยูในแถบเซาเธิร์นเซียร์ราส์ ประเทศเปรู
                 ่
         ตั้งอยูบนที่ราบสู งแอนดีส ระหว่างภูเขา Machu Picchกับ uayna
Picchu ในเขตของป่ าอะเมซอน มีแม่น้ าอารู บน(Urubamba) อยูเ่ บื้อง
                                                ั
ล่าง ภูมิประเทศรายล้อมด้วยหน้าผาสู งราว 600 เมตร ด้วยภูมิประเทศที่ต้ งอยู่
                                                                       ั
บนหน้าผาสู งชัน ทาให้กลายเป็ นเกราะป้ องกันตามธรรมชาติของผูที่จะรุ กรานเ
                                                                  ้
มืองแห่งนี้
จักรวรรดิอนคา
          ิ
จักรวรรดิอนคา
                                  ิ
       จักรวรรดิอนคา (ค.ศ. 1438-1533) เป็ นจักรวรรดิโบราณที่ใหญ่ที่สด
                 ิ                                                  ุ
ในทวีปอเมริกาใต้ ในยุคก่อนโคลัมบัสจักรวรรดิอินคามีอานาจขึ ้นบริเวณที่
ราบสูงของประเทศเปรูในช่วงต้ นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ช่วงปี ค.ศ. 1438 ถึง
1533อินคาขยายอาณาจักรโดยทังสันติวิธีและวิธีทางการทหาร ชาวอินคา
                                 ้
เชื่อกษัตริย์ของตนเป็ น "บุตรของพระอาทิตย์" ภาษาราชการคือภาษาเกชัว
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
      ชาวอินคาไม่มีการประดิษฐ์ ตวอักษร แต่ชาวอินคามีการบันทึกโดยใช้ การ
                                 ั
ผูกเชือกหลากสีเป็ นปมรูปแบบต่าง ๆ ที่เรี ยกว่ากีปู
     สังคมอินคาเป็ นสังคมที่มีการแบ่งวรรณะ โดยชาวอินคาที่มีวรรณะต่า
จะต้ องมีหน้ าที่ทาเกษตรกรรมและต้ องนาผลิตผลที่ได้ ไปถวายกษัตริย์อินคา
    ชาวอินคาเลี ้ยงลามา (lama) ซึงเป็ นสัตว์ในตระกูลอูฐไว้ เป็ นสัตว์บรรทุก
                                    ่
สัมภาระข้ ามภูเขา
     ชาวอินคาเชื่อว่าดวงอาทิตย์เป็ นผู้ให้ กาเนิดเผ่าพันธุ์ของตน และยังนับถือ
ดวงจันทร์ ดาว และโลกด้ วย หรื อแม้ แต่ภเู ขา แม่น ้า ต้ นไม้ ชาวอินคาก็เชื่อว่ามี
เทพเจ้ าประจา
ประวัติศาสตร์ อนคา
               ิ
ราชอาณาจักรกุสโก
      ชาวอินคาเริ่มอาศัยในบริเวณกุสโกในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พวกเขา
ตังนครรัฐกุสโกภายใต้ การนาของมันโก กาปั ก ในปี 1438 พวกเขาเริ่ม
  ้
ขยายดินแดน ตามคาสังของซาปา อินคา ปาชากูตี จนทาให้ นครรัฐเล็ก ๆ
                      ่
มีอานาจควบคุมบริเวณส่วนใหญ่ของเทือกเขาแอนดีส
การเปลียนระบบเป็ นจักรวรรดิตาวันตินซูยู
       ่




      การขยายอาณาเขตของอินคา (1438–1527)
ปาชากูตีจดระบบราชอาณาจักรกุสโกใหม่ให้กลายเป็ นจักรวรรดิตา
                    ั
วันตินซูยู ซึ่งใช้ระบบสหพันธรัฐ โดยมีรัฐบาลกลางที่มีกษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
และรัฐบาลท้องถิ่นสี่ เขต ได้แก่ชินไชย์ซูยู (เขตเหนือ) อันตีซูยู (เขต
ตะวันออก) กุนตีซูยู (เขตตะวันตก) และกูยาซูยู (เขตใต้) สันนิษฐานกันว่า
ปาชากูตีเป็ นผูสร้างมาชูปิกชูข้ ึนเป็ นบ้านพักในหน้าร้อน
                ้
ปาชากูตีมกส่ งสายสื บไปหาข้อมูลเกี่ยวกับระบบการปกครอง อานาจ
                  ั
ทางการทหารและความร่ ารวยของพื้นที่ที่พระองค์ตองการจะขยายอาณา
                                                     ้
                                                 ่
เขต แล้วจึงส่ งสารอธิบายถึงประโยชน์ของการอยูใต้การปกครองของ
จักรวรรดิไปยังหัวหน้าของดินแดนนั้น ๆ ซึ่งส่ วนใหญ่ตอบรับและถูกผนวก
เข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของจักรวรรดิโดยสันติ บุตรของผูนาจะถูกนาตัวเข้ามายัง
                                                   ้
กุสโกเพื่อให้ศึกษาระบบบริ หารของอินคาแล้วจึงส่ งกลับดินแดนของตน
ซึ่งระบบนี้ทาให้ดินแดนใหม่รับแนวคิดของอินคาเข้าไป
การขยายอาณาเขต




การขยายอาณาเขตของอินคา (1438–1527)
ตูปัก ยูปันกี พระราชโอรสของปาชากูตีเริ่มบุกขึ ้นทางเหนือใน 1463
และขยายอานาจต่อเมื่อขึ ้นดารงตาแหน่งกษัตริย์หลังปาชากูตี ชัยชนะที่
สาคัญที่สดของพระองค์คือการเอาชนะราชอาณาจักรชีมอร์ ซึงเป็ นศัตรูที่
           ุ                                                ่
สาคัญของอินคาในเขตชายฝั่ งเปรู ในสมัยของตูปัก จักรวรรดิขยายไปทาง
เหนือถึงบริเวณที่ในปั จจุบนคือประเทศเอกวาดอร์ และโคลอมเบีย อวยนา
                          ั
กาปั กซึงเป็ นพระราชโอรสของตูปักสามารถขยายดินแดนส่วนเล็ก ๆ
        ่
บริเวณเอกวาดอร์ และบางส่วนของเปรู
ในช่วงที่รุ่งเรื องที่สด จักรวรรดิตาวันตินซูยครอบคลุมบริเวณเปรูแล
                            ุ                     ู
โบลิเวีย เกือบทังหมดของประเทศเอกวาดอร์ และดินแดนของชิลีจนถึง
                   ้
ตอนเหนือของแม่น ้าเมาเล ซึงพวกอินคาโดนต่อต้ านจากเผ่ามาปูเช
                                 ่
นอกจากนี ้ยังกินบริเวณไปถึงอาร์ เจนตินาและโคลอมเบียอีกด้ วย แต่เขตกู
ยาซูยทางใต้ พื ้นที่สวนใหญ่เป็ นทะเลทรายที่ใช้ ประโยชน์ไม่ได้
      ู                ่
การเข้ ายึดครองของสเปน
ฟรันซิสโก ปี ซาร์โร
               ฟรันซิสโก ปี ซาร์ โร กอนซาเลซ
               เป็ นนักสารวจและกองกิสตาดอร์
               ชาวสเปนผูพิชิตอาณาจักรอินคา
                          ้
               ในอเมริ กาใต้ และก่อตั้งเมืองลิมา
กลุ่มนักสารวจดินแดนชาวสเปนนาโดย ฟรันซิสโก ปี ซาร์โร ได้เดินทาง
จากปานามาเพื่อสารวจดินแดนทางใต้และค้นพบจักรวรรดิอินคาในปี ค.ศ.
1526 พวกเขาเห็นโอกาสที่จะได้คนพบมหาสมบัติในดินแดนแห่งนี้ จึง
                                 ้
กลับมาสารวจอีกครั้งในปี ค.ศ. 1529 และเดินทางกลับไปสเปนเพื่อขอ
พระราชานุญาตและกาลังสนับสนุนเพื่อยึดครองดินแดนอินคา เมื่อพวกเขา
                                                  ่
กลับมายังเปรู ในปี ค.ศ. 1532 บ้านเมืองอินคากาลังวุนวายและอ่อนแอ
                                                ั
เนื่องจากสงครามแย่งชิงบัลลังก์ระหว่างอวสการ์กบอาตาอวลปาเพิงจบลง
                                                             ่
และเกิดโรคฝี ดาษที่แพร่ ระบาดมาจากอเมริ กากลาง นับเป็ นโชคร้ายของชาว
อินคาที่มีขาศึกบุกมาในช่วงเวลานี้
            ้
ปี ซาร์โรมีกาลังทหารเพียง 168 คน ปื นใหญ่ 1 กระบอก และม้า 27
ตัว แต่เมื่อเปรี ยบเทียบกับชาวพื้นเมืองแล้ว นับว่าเขามีอาวุธและยุทธวิธีใน
การรบที่เหนือกว่ามาก กองทัพสเปนปะทะกับพวกอินคาที่เมืองกาคามาร์
กา ในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1532 และสามารถจับตัวอาตาอวลปาไว้
เป็ นตัวประกัน อาตาอวลปาเห็นว่าชาวสเปนสนใจทองคาและเงินมาก จึง
เสนอค่าไถ่เป็ นทองปริ มาณมากพอที่จะเติมห้องขนาดกว้าง 4.8 เมตร ยาว
6.2 เมตร ให้สูงถึง 2.5 เมตร และเงินปริ มาณสองเท่าของห้องนั้น แต่เมื่อ
ชาวอินคาสามารถหาค่าไถ่มาได้ ปี ซาร์ โรกลับไม่ยอมปล่อยตัวประกันตาม
สัญญา
พระอาทิตย์ เทพเจ้ าชาวอินคา
ประชาชนชาวอินคาทังมวลต่างยกย่องพระอาทิตย์เป็ นเทพเจ้ าผู้
                              ้
ยิ่งใหญ่เป็ นที่ประจักษ์ ทวไปว่าชาวอินคามักจะบูชาพระอาทิตย์ ขณะ
                          ั่
เดินทางบนที่สงช่วงเวลากลางคืน ชาวอินคาเชื่อว่าลมปิ ศาจซึงเป็ นลมที่
                 ู                                       ่
หนาวเหน็บถึงกระดูกพัดลงมาตามแนวเทือกเขาแอนดิส ในช่วงเวลา
กลางคืนหลังพระอาทิตย์ตกและมักจะพัดผ่านใต้ พื ้นโลกตลอดเวลา
้
        ทุกๆเมืองของชาวอินคา จะมีกอนหิ นสลักขนาดใหญ่ ซึ่งเรี ยกว่า "อิน
ติฮวตานา" ซึ่งเป็ นเครื่ องหมายบอกวันที่พระอาทิตย์โคจรข้ามศีรษะใน
     ั
ช่วงเวลาเที่ยง ซึ่งเวลาดังกล่าวชาวอินคาและนักบวชจะไปร่ วมชุมนุมทาพิธี
บูชาพระอาทิตย์ โดยสวดมนต์ขอบคุณพระอาทิตย์ที่ให้แสงสว่าง ให้ความ
อบอุ่น และขอบคุณซา-ปา อินคา โอรสของพระอาทิตย์ชาวอินคาส่ วนใหญ่
เชื่อว่ากษัตริ ยหรื อจักรพรรดิของพวกเขาเป็ นโอรสของสุ ริยเทพ อาณาจักร
                ์
                           ่
อินคายืนยันว่าทุกเผ่าที่อยูภายใต้การปกครองของอาณาจักรอินคาต้อง
สร้างวิหารบูชาสุ ริยเทพ โดยเฉพาะแต่วิหารบูชาพระอาทิตย์ที่เป็ นหลักเป็ น
                     ่
ศูนย์กลางถือว่าอยูในนครคูซโค นครหลวงของอาณาจักรเท่านั้น
ความเชื่อเกี่ยวกับชีวตหลังความตาย
                                  ิ
          ชาวอินคาเชื่อว่าพลังชีวิตของมนุษย์ไม่ได้ หายสาบสูญไปหลังจาก
ตายแล้ ว มันยังอยูใกล้ ร่างคนตาย ได้ รับประทานอาหาร และได้ ดื่มสิ่งต่างๆ
                       ่
ราวกับคนมีชีวิต ด้ วยเหตุนี ้พวกเขาจึงพยายามรักษาศพของบรรพบุรุษไว้
ให้ คงความอมตะเช่นเดียวกับ ชนเผ่าไอยคุปต์โบราณ นอกจากนันชาวอิน        ้
คายังเชื่อว่ากษัตริย์หรื อจักรพรรดิของพวกเขา ที่เสด็จสวรรคตแล้ วคือเทพ
เจ้ า ด้ วยเหตุนี ้ จึงมีพิธีกรรมทามัมมีพระศพไว้ เพื่อเป็ นที่เคารพบูชา
ตลอดไป หรื อเท่ากับรักษาวิญญาณของกษัตริย์ให้ คงอยู่ มันมีของกษัตริย์
ชาวอินคามันจะอยูในท่าประทับนังบนบัลลังก์
                         ่            ่
ในช่วงวันเฉลิมฉลองพิธีกรรมทางศาสนา มักจะแห่มมมีกษัตริย์ไป
                                                         ั
ตามถนนสายสาคัญในกลางนครคูซโคเมืองหลวงของอาณาจักร อินคา
เสมอ ชาวอินคาถือว่าพิธีกรรมเกี่ยวกับคนตายมีความสาคัญมากมาย
หลายประการ พวกเขาเชื่อว่าผลบุญกุศลของบรรพบุรุษ เป็ นความ
ปรารถนาหรื อพรอันศักดิสทธิ์แก่การเก็บเกี่ยวพืชผล และศพนันถือเป็ น
                        ์ ิ                                ้
สื่อกลางนาข่าวสารมาสูคนที่มีชีวิต ด้ วยเหตุดงกล่าวชาวอินคาจึงมี
                      ่                     ั
พิธีกรรมทามัมมีบคคลที่สาคัญ
                 ุ
นับตังแต่ระดับกษัตริย์หรื อจักรพรรดิลงมา ลักษณะการทามัมมี
                 ้
คล้ าย กับการทามัมมีของชาวไกอัยคุปต์บางส่วน เช่น นาอวัยวะจาพวกตับ
ไตไส้ พงออกมา แล้ วเก็บไว้ ในภาชนะที่เตรี ยมไว้ ภายในและภายนอก ร่าง
        ุ
ศพทาด้ วยน ้ามันชนิดหนึง จากนันก็ทาให้ แห้ งด้ วยวิธีเดียวกันกับการถนอม
                          ่       ้
อาหารจาพวกเนื ้อหรื อมันฝรั่ง ด้ วยวิธีการอาศัย พลังงานแสงอาทิตย์ ที่
แปลกและแตกต่างจากมัมมีไอยคุปต์ก็คือมัมมีของชาวอินคามักจะงอตัว
หรื อคุดคู้ในท่าเด็กทารก ในครรภ์มารดา
การทามัมมี่ วิญญาณ และพลังประหลาด
มัมมี่ชาวอินคา
มัมมี่ของชาวอินคา ได้มีการค้นพบมัมมี่ของชาวอินคาเป็ นสุ สาน
    ่
อยูบนยอดเขาในประเทศเปรู ยอดเขานี้มีชื่อว่า เนวาโด แอมปาโต
(Nevado Ampato) มีความสู ง 20,700 ฟิ ต เป็ นภูเขาไฟซึ่งดับ
สุ สานของชาวอินคาจริ งๆนั้น เป็ นหลุมตื้นๆที่ฝังมัมมี่เด็กสาวชาวอินคา
                                                         ่
อายุราว 15 ปี ตัวหลุมเป็ นรู ปทรงกลม ตัวมัมมี่ถูกฝัง อยูในท่านังกลาง
                                                               ่
                 ั
หลุมแคบๆ ใกล้กบมัมมี่พบเปลือกหอย กระดูกลามา ถุงใส่ เสื้ อผ้า 2 ถุง
และภาชนะดินเผา ที่มีท้ งเมล็ดข้าวโพด
                        ั
ชาวอินคามีความเชื่อมันและเคารพในมัมมีศพบรรพบุรุษ มีการ
                                   ่
ตกแต่งมัมมีนงห่มด้ วยเสื ้อผ้ าชนิดคุณภาพดี และสวยงามคลุมด้ วย
                  ุ่
เครื่ องประดับจาพวกเพชร พลอย ทองคา และสิงมีคาเป็ นจานวนมาก ด้ วย
                                              ่ ่
เหตุนี ้จึง เป็ นสิ่งล่อใจทาให้ พวกทหารสเปนหลายกลุมในสมัยนัน รวมทังนัก
                                                 ่         ้      ้
แสวงโชคจากที่ตางๆเข้ าไปขโมยทรัพย์สมบัติ ในหลุมฝั งศพเป็ นจานวน
                      ่
มาก
ชาวดินคามีพิธีกรรมทามัมมีบคคลที่สาคัญ นับตังแต่ระดับ
                                    ุ                ้
กษัตริย์หรื อจักรพรรดิลงมา ลักษณะการทามัมมีคล้ ายกับการทามัมมีของ
ชาวไอยคุปต์บางส่วนต่างกันที่มมมีชาวอินคามักจะงอตัวหรื อคุดคู้ในท่า
                               ั
เด็กทารกในครรภ์มารดา ชาวอินคาไม่นิยมฝั งมัมมีแต่จะวางไว้ ตามธรรม
ขาติในโพรง หลุมหรื อถ ้า
ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณและพลังที่แอบแฝงชาวอินคามีความ
เชื่อว่า บ้ านเรือน สิงก่อสร้ างหรื อวัตถุตางๆมีพลังลึกลับแฝงอยู่ โดยเฉพาะ
                       ่                    ่
                     ั                  ั ์ ิ
สถานที่ ต่างๆก็นบว่าเป็ นสถานที่ศกดิสทธ์ และสิงเหล่านี ้มีชื่อสรุปว่า "ฮัว
                                                    ่
คา“ นอจากนันชาวอินคายังเชื่อว่า ไม่เพียงแต่มนุษย์เท่านันที่มีวิญญาณ
                 ้                                           ้
อาศัยอยู่ พวกพืชและสัตว์ตางๆก็มีวิญญาณแฝงอยูด้วย ชาวอินคาทัวไปมี
                                ่                      ่               ่
ความเชื่อว่าการรักษาศพคนตายไว้ ให้ ดีราวกับมีชีวิตอยู่ เพื่อว่าวิญญาณ
จะกลับมาสูร่างเดิมอีก ชาวอินคาวางมัมมี ของคนตายไว้ ในบ้ านผู้ที่มีฐานะ
               ่
ดีจะสร้ างรูปปั นทองคาเล็กๆแทนคนตายไว้ หน้ ามัมมีศพ
                   ้
ศาสนาและพิธีกรรมประหลาดของชาวอินคา
ศาสนาของชนเผ่าอินคาเกี่ยวพันกับเทพเจ้ าอย่างลึกซึ ้ง เทพเจ้ าที่
ชาวอินคาเคารพบูชา มักจะเป็ นเทพที่เป็ น สัญลักษณ์อานาจของธรรมชาติ
โดยเฉพาะดวงอาทิตย์ หรื อสุริยเทถที่เรี ยกว่า "อินติ" เทพีแห่งดวงจันทร์
หรื อจันทราเทวี ที่เรี ยก ว่า "ควิลลา" ชาวอินคาถือว่าบิดาแห่งเทถและเทพี
ทังปวงคือ"เทพวิราโคชา"ซึงได้ รับการยกย่องว่าเป็ นผู้สร้ างโลก เป็ นทังพระ
  ้                           ่                                      ้
บิดาและพระ มารดาของสุริยเทพและจันทราเทวี เล่ากันว่าเทพวิราโคชา
สร้ างมนุษย์คนแรกบนโลกด้ วยดินเหนียว พิธีเฉลิมฉลองของชาวอินคาใน
โอกาสต่างๆมักเกี่ยวพันกับศาสนาเสมอ
เอกสารอ้ างอิง
        วิกิพเี ดีย สารานุกรมเสรี . “อารยธรรมอินคา,”อารยธรรมอินคา. 5
กันยายน 2554. < http://th.wikipedia.org/wiki/ tle=%E0%B8%AA%E0%
B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%88%E0% >                              5
กันยายน 2554.
         Show thfp. “อารยธรรมอินคา,”อารยธรรมอินคา. 5
กันยายน 2554. <http://www.showthep.com/>
5 กันยายน 2554
     วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . “ผู้ค้นพบอินคา,”อารยธรรมอินคา. 5
กันยายน 2554. < http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์:Francisco_Pizarro.jpeg >       5
กันยายน 2554.

More Related Content

What's hot

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 

What's hot (20)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 

Viewers also liked

Instagram and your Business
Instagram and your BusinessInstagram and your Business
Instagram and your BusinessDrew Carter
 
Speaking to Global Audiences
Speaking to Global AudiencesSpeaking to Global Audiences
Speaking to Global AudiencesShawanda_Arielle
 
UEA Journal (Spring 2014)
UEA Journal (Spring 2014)UEA Journal (Spring 2014)
UEA Journal (Spring 2014)ggiaroli
 
Power unificado
Power unificadoPower unificado
Power unificadoEscuela
 
PEShare.co.uk Shared Resource
PEShare.co.uk Shared ResourcePEShare.co.uk Shared Resource
PEShare.co.uk Shared Resourcepeshare.co.uk
 

Viewers also liked (7)

12007
1200712007
12007
 
Instagram and your Business
Instagram and your BusinessInstagram and your Business
Instagram and your Business
 
Speaking to Global Audiences
Speaking to Global AudiencesSpeaking to Global Audiences
Speaking to Global Audiences
 
Miss you home
Miss you homeMiss you home
Miss you home
 
UEA Journal (Spring 2014)
UEA Journal (Spring 2014)UEA Journal (Spring 2014)
UEA Journal (Spring 2014)
 
Power unificado
Power unificadoPower unificado
Power unificado
 
PEShare.co.uk Shared Resource
PEShare.co.uk Shared ResourcePEShare.co.uk Shared Resource
PEShare.co.uk Shared Resource
 

Similar to อารยธรรมอินคา

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22pnmn2122
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 

Similar to อารยธรรมอินคา (20)

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

อารยธรรมอินคา

  • 1. อารยธรรมอินคา มาชู ปิกชู หรือที่นิยมเรียกอีกอย่ างว่ า เมืองทีสาบสู ญแห่ งอินคา ่
  • 2. คณะผูจดทา ้ั นาย รัฐพล กาญจนสาร เลขที่10 นาย อัฐสิ ทธิ์ เข็มเพชร เลขที่24 นางสาว วรพร เหล่าจินดา เลขที่27 นางสาว ปิ ยาภรณ์ ดีสม เลขที่34 นางสาว ประภาพร บุญพันธ์ เลขที่42 ชั้นมัธยมศึกษาปี่ ที่5/2 เสนอ อาจารย์ สฤษดิ์ศกดิ์ ชิ้นเขมจารี ั
  • 3. สถานที่ต้งของอารยธรรมอินคา ั ภาพแผนที่ตัง Machu Picchu ้
  • 4. ่ อยูทวีปอเมริ กาใต้ อยูบริ เวณที่ราบสู งของประเทศเปรู ในทางทิศ ตะวันออกเฉี ยงเหนือของเมืองกุสโก อดีตเมืองหลวงของอินคา ซึ่งเป็ นทั้ง ศูนย์กลางการปกครอง การเมืองและการทหารประมาณ70กิโลเมตร Machu ่ Picchu อยูในแถบเซาเธิร์นเซียร์ราส์ ประเทศเปรู ่ ตั้งอยูบนที่ราบสู งแอนดีส ระหว่างภูเขา Machu Picchกับ uayna Picchu ในเขตของป่ าอะเมซอน มีแม่น้ าอารู บน(Urubamba) อยูเ่ บื้อง ั ล่าง ภูมิประเทศรายล้อมด้วยหน้าผาสู งราว 600 เมตร ด้วยภูมิประเทศที่ต้ งอยู่ ั บนหน้าผาสู งชัน ทาให้กลายเป็ นเกราะป้ องกันตามธรรมชาติของผูที่จะรุ กรานเ ้ มืองแห่งนี้
  • 6. จักรวรรดิอนคา ิ จักรวรรดิอนคา (ค.ศ. 1438-1533) เป็ นจักรวรรดิโบราณที่ใหญ่ที่สด ิ ุ ในทวีปอเมริกาใต้ ในยุคก่อนโคลัมบัสจักรวรรดิอินคามีอานาจขึ ้นบริเวณที่ ราบสูงของประเทศเปรูในช่วงต้ นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ช่วงปี ค.ศ. 1438 ถึง 1533อินคาขยายอาณาจักรโดยทังสันติวิธีและวิธีทางการทหาร ชาวอินคา ้ เชื่อกษัตริย์ของตนเป็ น "บุตรของพระอาทิตย์" ภาษาราชการคือภาษาเกชัว
  • 8. อารยธรรมอินคา ชาวอินคาไม่มีการประดิษฐ์ ตวอักษร แต่ชาวอินคามีการบันทึกโดยใช้ การ ั ผูกเชือกหลากสีเป็ นปมรูปแบบต่าง ๆ ที่เรี ยกว่ากีปู สังคมอินคาเป็ นสังคมที่มีการแบ่งวรรณะ โดยชาวอินคาที่มีวรรณะต่า จะต้ องมีหน้ าที่ทาเกษตรกรรมและต้ องนาผลิตผลที่ได้ ไปถวายกษัตริย์อินคา ชาวอินคาเลี ้ยงลามา (lama) ซึงเป็ นสัตว์ในตระกูลอูฐไว้ เป็ นสัตว์บรรทุก ่ สัมภาระข้ ามภูเขา ชาวอินคาเชื่อว่าดวงอาทิตย์เป็ นผู้ให้ กาเนิดเผ่าพันธุ์ของตน และยังนับถือ ดวงจันทร์ ดาว และโลกด้ วย หรื อแม้ แต่ภเู ขา แม่น ้า ต้ นไม้ ชาวอินคาก็เชื่อว่ามี เทพเจ้ าประจา
  • 10. ราชอาณาจักรกุสโก ชาวอินคาเริ่มอาศัยในบริเวณกุสโกในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พวกเขา ตังนครรัฐกุสโกภายใต้ การนาของมันโก กาปั ก ในปี 1438 พวกเขาเริ่ม ้ ขยายดินแดน ตามคาสังของซาปา อินคา ปาชากูตี จนทาให้ นครรัฐเล็ก ๆ ่ มีอานาจควบคุมบริเวณส่วนใหญ่ของเทือกเขาแอนดีส
  • 11. การเปลียนระบบเป็ นจักรวรรดิตาวันตินซูยู ่ การขยายอาณาเขตของอินคา (1438–1527)
  • 12. ปาชากูตีจดระบบราชอาณาจักรกุสโกใหม่ให้กลายเป็ นจักรวรรดิตา ั วันตินซูยู ซึ่งใช้ระบบสหพันธรัฐ โดยมีรัฐบาลกลางที่มีกษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข และรัฐบาลท้องถิ่นสี่ เขต ได้แก่ชินไชย์ซูยู (เขตเหนือ) อันตีซูยู (เขต ตะวันออก) กุนตีซูยู (เขตตะวันตก) และกูยาซูยู (เขตใต้) สันนิษฐานกันว่า ปาชากูตีเป็ นผูสร้างมาชูปิกชูข้ ึนเป็ นบ้านพักในหน้าร้อน ้
  • 13. ปาชากูตีมกส่ งสายสื บไปหาข้อมูลเกี่ยวกับระบบการปกครอง อานาจ ั ทางการทหารและความร่ ารวยของพื้นที่ที่พระองค์ตองการจะขยายอาณา ้ ่ เขต แล้วจึงส่ งสารอธิบายถึงประโยชน์ของการอยูใต้การปกครองของ จักรวรรดิไปยังหัวหน้าของดินแดนนั้น ๆ ซึ่งส่ วนใหญ่ตอบรับและถูกผนวก เข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของจักรวรรดิโดยสันติ บุตรของผูนาจะถูกนาตัวเข้ามายัง ้ กุสโกเพื่อให้ศึกษาระบบบริ หารของอินคาแล้วจึงส่ งกลับดินแดนของตน ซึ่งระบบนี้ทาให้ดินแดนใหม่รับแนวคิดของอินคาเข้าไป
  • 15. ตูปัก ยูปันกี พระราชโอรสของปาชากูตีเริ่มบุกขึ ้นทางเหนือใน 1463 และขยายอานาจต่อเมื่อขึ ้นดารงตาแหน่งกษัตริย์หลังปาชากูตี ชัยชนะที่ สาคัญที่สดของพระองค์คือการเอาชนะราชอาณาจักรชีมอร์ ซึงเป็ นศัตรูที่ ุ ่ สาคัญของอินคาในเขตชายฝั่ งเปรู ในสมัยของตูปัก จักรวรรดิขยายไปทาง เหนือถึงบริเวณที่ในปั จจุบนคือประเทศเอกวาดอร์ และโคลอมเบีย อวยนา ั กาปั กซึงเป็ นพระราชโอรสของตูปักสามารถขยายดินแดนส่วนเล็ก ๆ ่ บริเวณเอกวาดอร์ และบางส่วนของเปรู
  • 16. ในช่วงที่รุ่งเรื องที่สด จักรวรรดิตาวันตินซูยครอบคลุมบริเวณเปรูแล ุ ู โบลิเวีย เกือบทังหมดของประเทศเอกวาดอร์ และดินแดนของชิลีจนถึง ้ ตอนเหนือของแม่น ้าเมาเล ซึงพวกอินคาโดนต่อต้ านจากเผ่ามาปูเช ่ นอกจากนี ้ยังกินบริเวณไปถึงอาร์ เจนตินาและโคลอมเบียอีกด้ วย แต่เขตกู ยาซูยทางใต้ พื ้นที่สวนใหญ่เป็ นทะเลทรายที่ใช้ ประโยชน์ไม่ได้ ู ่
  • 18. ฟรันซิสโก ปี ซาร์โร ฟรันซิสโก ปี ซาร์ โร กอนซาเลซ เป็ นนักสารวจและกองกิสตาดอร์ ชาวสเปนผูพิชิตอาณาจักรอินคา ้ ในอเมริ กาใต้ และก่อตั้งเมืองลิมา
  • 19. กลุ่มนักสารวจดินแดนชาวสเปนนาโดย ฟรันซิสโก ปี ซาร์โร ได้เดินทาง จากปานามาเพื่อสารวจดินแดนทางใต้และค้นพบจักรวรรดิอินคาในปี ค.ศ. 1526 พวกเขาเห็นโอกาสที่จะได้คนพบมหาสมบัติในดินแดนแห่งนี้ จึง ้ กลับมาสารวจอีกครั้งในปี ค.ศ. 1529 และเดินทางกลับไปสเปนเพื่อขอ พระราชานุญาตและกาลังสนับสนุนเพื่อยึดครองดินแดนอินคา เมื่อพวกเขา ่ กลับมายังเปรู ในปี ค.ศ. 1532 บ้านเมืองอินคากาลังวุนวายและอ่อนแอ ั เนื่องจากสงครามแย่งชิงบัลลังก์ระหว่างอวสการ์กบอาตาอวลปาเพิงจบลง ่ และเกิดโรคฝี ดาษที่แพร่ ระบาดมาจากอเมริ กากลาง นับเป็ นโชคร้ายของชาว อินคาที่มีขาศึกบุกมาในช่วงเวลานี้ ้
  • 20. ปี ซาร์โรมีกาลังทหารเพียง 168 คน ปื นใหญ่ 1 กระบอก และม้า 27 ตัว แต่เมื่อเปรี ยบเทียบกับชาวพื้นเมืองแล้ว นับว่าเขามีอาวุธและยุทธวิธีใน การรบที่เหนือกว่ามาก กองทัพสเปนปะทะกับพวกอินคาที่เมืองกาคามาร์ กา ในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1532 และสามารถจับตัวอาตาอวลปาไว้ เป็ นตัวประกัน อาตาอวลปาเห็นว่าชาวสเปนสนใจทองคาและเงินมาก จึง เสนอค่าไถ่เป็ นทองปริ มาณมากพอที่จะเติมห้องขนาดกว้าง 4.8 เมตร ยาว 6.2 เมตร ให้สูงถึง 2.5 เมตร และเงินปริ มาณสองเท่าของห้องนั้น แต่เมื่อ ชาวอินคาสามารถหาค่าไถ่มาได้ ปี ซาร์ โรกลับไม่ยอมปล่อยตัวประกันตาม สัญญา
  • 22. ประชาชนชาวอินคาทังมวลต่างยกย่องพระอาทิตย์เป็ นเทพเจ้ าผู้ ้ ยิ่งใหญ่เป็ นที่ประจักษ์ ทวไปว่าชาวอินคามักจะบูชาพระอาทิตย์ ขณะ ั่ เดินทางบนที่สงช่วงเวลากลางคืน ชาวอินคาเชื่อว่าลมปิ ศาจซึงเป็ นลมที่ ู ่ หนาวเหน็บถึงกระดูกพัดลงมาตามแนวเทือกเขาแอนดิส ในช่วงเวลา กลางคืนหลังพระอาทิตย์ตกและมักจะพัดผ่านใต้ พื ้นโลกตลอดเวลา
  • 23. ทุกๆเมืองของชาวอินคา จะมีกอนหิ นสลักขนาดใหญ่ ซึ่งเรี ยกว่า "อิน ติฮวตานา" ซึ่งเป็ นเครื่ องหมายบอกวันที่พระอาทิตย์โคจรข้ามศีรษะใน ั ช่วงเวลาเที่ยง ซึ่งเวลาดังกล่าวชาวอินคาและนักบวชจะไปร่ วมชุมนุมทาพิธี บูชาพระอาทิตย์ โดยสวดมนต์ขอบคุณพระอาทิตย์ที่ให้แสงสว่าง ให้ความ อบอุ่น และขอบคุณซา-ปา อินคา โอรสของพระอาทิตย์ชาวอินคาส่ วนใหญ่ เชื่อว่ากษัตริ ยหรื อจักรพรรดิของพวกเขาเป็ นโอรสของสุ ริยเทพ อาณาจักร ์ ่ อินคายืนยันว่าทุกเผ่าที่อยูภายใต้การปกครองของอาณาจักรอินคาต้อง สร้างวิหารบูชาสุ ริยเทพ โดยเฉพาะแต่วิหารบูชาพระอาทิตย์ที่เป็ นหลักเป็ น ่ ศูนย์กลางถือว่าอยูในนครคูซโค นครหลวงของอาณาจักรเท่านั้น
  • 24. ความเชื่อเกี่ยวกับชีวตหลังความตาย ิ ชาวอินคาเชื่อว่าพลังชีวิตของมนุษย์ไม่ได้ หายสาบสูญไปหลังจาก ตายแล้ ว มันยังอยูใกล้ ร่างคนตาย ได้ รับประทานอาหาร และได้ ดื่มสิ่งต่างๆ ่ ราวกับคนมีชีวิต ด้ วยเหตุนี ้พวกเขาจึงพยายามรักษาศพของบรรพบุรุษไว้ ให้ คงความอมตะเช่นเดียวกับ ชนเผ่าไอยคุปต์โบราณ นอกจากนันชาวอิน ้ คายังเชื่อว่ากษัตริย์หรื อจักรพรรดิของพวกเขา ที่เสด็จสวรรคตแล้ วคือเทพ เจ้ า ด้ วยเหตุนี ้ จึงมีพิธีกรรมทามัมมีพระศพไว้ เพื่อเป็ นที่เคารพบูชา ตลอดไป หรื อเท่ากับรักษาวิญญาณของกษัตริย์ให้ คงอยู่ มันมีของกษัตริย์ ชาวอินคามันจะอยูในท่าประทับนังบนบัลลังก์ ่ ่
  • 25. ในช่วงวันเฉลิมฉลองพิธีกรรมทางศาสนา มักจะแห่มมมีกษัตริย์ไป ั ตามถนนสายสาคัญในกลางนครคูซโคเมืองหลวงของอาณาจักร อินคา เสมอ ชาวอินคาถือว่าพิธีกรรมเกี่ยวกับคนตายมีความสาคัญมากมาย หลายประการ พวกเขาเชื่อว่าผลบุญกุศลของบรรพบุรุษ เป็ นความ ปรารถนาหรื อพรอันศักดิสทธิ์แก่การเก็บเกี่ยวพืชผล และศพนันถือเป็ น ์ ิ ้ สื่อกลางนาข่าวสารมาสูคนที่มีชีวิต ด้ วยเหตุดงกล่าวชาวอินคาจึงมี ่ ั พิธีกรรมทามัมมีบคคลที่สาคัญ ุ
  • 26. นับตังแต่ระดับกษัตริย์หรื อจักรพรรดิลงมา ลักษณะการทามัมมี ้ คล้ าย กับการทามัมมีของชาวไกอัยคุปต์บางส่วน เช่น นาอวัยวะจาพวกตับ ไตไส้ พงออกมา แล้ วเก็บไว้ ในภาชนะที่เตรี ยมไว้ ภายในและภายนอก ร่าง ุ ศพทาด้ วยน ้ามันชนิดหนึง จากนันก็ทาให้ แห้ งด้ วยวิธีเดียวกันกับการถนอม ่ ้ อาหารจาพวกเนื ้อหรื อมันฝรั่ง ด้ วยวิธีการอาศัย พลังงานแสงอาทิตย์ ที่ แปลกและแตกต่างจากมัมมีไอยคุปต์ก็คือมัมมีของชาวอินคามักจะงอตัว หรื อคุดคู้ในท่าเด็กทารก ในครรภ์มารดา
  • 29. มัมมี่ของชาวอินคา ได้มีการค้นพบมัมมี่ของชาวอินคาเป็ นสุ สาน ่ อยูบนยอดเขาในประเทศเปรู ยอดเขานี้มีชื่อว่า เนวาโด แอมปาโต (Nevado Ampato) มีความสู ง 20,700 ฟิ ต เป็ นภูเขาไฟซึ่งดับ สุ สานของชาวอินคาจริ งๆนั้น เป็ นหลุมตื้นๆที่ฝังมัมมี่เด็กสาวชาวอินคา ่ อายุราว 15 ปี ตัวหลุมเป็ นรู ปทรงกลม ตัวมัมมี่ถูกฝัง อยูในท่านังกลาง ่ ั หลุมแคบๆ ใกล้กบมัมมี่พบเปลือกหอย กระดูกลามา ถุงใส่ เสื้ อผ้า 2 ถุง และภาชนะดินเผา ที่มีท้ งเมล็ดข้าวโพด ั
  • 30. ชาวอินคามีความเชื่อมันและเคารพในมัมมีศพบรรพบุรุษ มีการ ่ ตกแต่งมัมมีนงห่มด้ วยเสื ้อผ้ าชนิดคุณภาพดี และสวยงามคลุมด้ วย ุ่ เครื่ องประดับจาพวกเพชร พลอย ทองคา และสิงมีคาเป็ นจานวนมาก ด้ วย ่ ่ เหตุนี ้จึง เป็ นสิ่งล่อใจทาให้ พวกทหารสเปนหลายกลุมในสมัยนัน รวมทังนัก ่ ้ ้ แสวงโชคจากที่ตางๆเข้ าไปขโมยทรัพย์สมบัติ ในหลุมฝั งศพเป็ นจานวน ่ มาก
  • 31. ชาวดินคามีพิธีกรรมทามัมมีบคคลที่สาคัญ นับตังแต่ระดับ ุ ้ กษัตริย์หรื อจักรพรรดิลงมา ลักษณะการทามัมมีคล้ ายกับการทามัมมีของ ชาวไอยคุปต์บางส่วนต่างกันที่มมมีชาวอินคามักจะงอตัวหรื อคุดคู้ในท่า ั เด็กทารกในครรภ์มารดา ชาวอินคาไม่นิยมฝั งมัมมีแต่จะวางไว้ ตามธรรม ขาติในโพรง หลุมหรื อถ ้า
  • 32. ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณและพลังที่แอบแฝงชาวอินคามีความ เชื่อว่า บ้ านเรือน สิงก่อสร้ างหรื อวัตถุตางๆมีพลังลึกลับแฝงอยู่ โดยเฉพาะ ่ ่ ั ั ์ ิ สถานที่ ต่างๆก็นบว่าเป็ นสถานที่ศกดิสทธ์ และสิงเหล่านี ้มีชื่อสรุปว่า "ฮัว ่ คา“ นอจากนันชาวอินคายังเชื่อว่า ไม่เพียงแต่มนุษย์เท่านันที่มีวิญญาณ ้ ้ อาศัยอยู่ พวกพืชและสัตว์ตางๆก็มีวิญญาณแฝงอยูด้วย ชาวอินคาทัวไปมี ่ ่ ่ ความเชื่อว่าการรักษาศพคนตายไว้ ให้ ดีราวกับมีชีวิตอยู่ เพื่อว่าวิญญาณ จะกลับมาสูร่างเดิมอีก ชาวอินคาวางมัมมี ของคนตายไว้ ในบ้ านผู้ที่มีฐานะ ่ ดีจะสร้ างรูปปั นทองคาเล็กๆแทนคนตายไว้ หน้ ามัมมีศพ ้
  • 34. ศาสนาของชนเผ่าอินคาเกี่ยวพันกับเทพเจ้ าอย่างลึกซึ ้ง เทพเจ้ าที่ ชาวอินคาเคารพบูชา มักจะเป็ นเทพที่เป็ น สัญลักษณ์อานาจของธรรมชาติ โดยเฉพาะดวงอาทิตย์ หรื อสุริยเทถที่เรี ยกว่า "อินติ" เทพีแห่งดวงจันทร์ หรื อจันทราเทวี ที่เรี ยก ว่า "ควิลลา" ชาวอินคาถือว่าบิดาแห่งเทถและเทพี ทังปวงคือ"เทพวิราโคชา"ซึงได้ รับการยกย่องว่าเป็ นผู้สร้ างโลก เป็ นทังพระ ้ ่ ้ บิดาและพระ มารดาของสุริยเทพและจันทราเทวี เล่ากันว่าเทพวิราโคชา สร้ างมนุษย์คนแรกบนโลกด้ วยดินเหนียว พิธีเฉลิมฉลองของชาวอินคาใน โอกาสต่างๆมักเกี่ยวพันกับศาสนาเสมอ
  • 35. เอกสารอ้ างอิง วิกิพเี ดีย สารานุกรมเสรี . “อารยธรรมอินคา,”อารยธรรมอินคา. 5 กันยายน 2554. < http://th.wikipedia.org/wiki/ tle=%E0%B8%AA%E0% B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%88%E0% > 5 กันยายน 2554. Show thfp. “อารยธรรมอินคา,”อารยธรรมอินคา. 5 กันยายน 2554. <http://www.showthep.com/> 5 กันยายน 2554 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . “ผู้ค้นพบอินคา,”อารยธรรมอินคา. 5 กันยายน 2554. < http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์:Francisco_Pizarro.jpeg > 5 กันยายน 2554.