SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗
ถิ่นที่เกิดและบรรพบุรุษ
 ภูมิประเทศอันเป็นที่อาศัยของชาวยิว (เฮบรู) โบราณ ได้แก่
แผ่นดินปาเลสไตน์ (Palestine) เป็นแผ่นดินแคบๆ กว้าไม่เกิน
๑๒๕ ตารางไมล์ แต่เป็นแผ่นดินสมบรูณ์ อยู่ระหว่างฝั่งทะเลเมดิ
เตอร์เรเนียนตะวันออกกับทะเลทรายอาหรับ
สมัยอับบราฮัมการนับถือหัวหน้า-อานาจสูงสุด
 ศาสนาของเฮบรูโบราณเริ่มต้นจากการนับถือหัวหน้าคน ได้แก่
อับบราฮัม คัมภีร์เก่ายกย่องอับราฮัมไว้ว่า เป็นบรรพบุรุษคน
แรกของพวกเฮบรูหรือยิวโบราณ สืบสายตระกูลมาจากเซม
(Shem) ซึ่งเป็นปฐมบรรพบุรุษของเผ่าเซมิติคทั้งสิ้น
 สมัยอับราฮัมเกิด คนเจ้าถิ่น บูชาดวงดาว ธรรมชาติอื่น และ
ดวงไฟ แต่การทามาหากินในถิ่นคับแค้น อับบราฮัมจึงพาพวก
เร่ร่อนออกจากคาลเดีย ไปตามทะเลทรายและขุนเขา พบที่ใด
เหมาะก็ตั้งถิ่นฐานลงในที่นั้น
ศาสนาเฮบรูสมัยอับบราฮัม
 พงศาสดารโบราณของเฮบรู ในสมัยที่อับบราฮัมสามารถ
ควบคุมได้โดยอ้างอานาจสูงสุดของพระเจ้าเข้ามาคุ้มครองวงศ์
ตระกูลและหมู่คณะนั้น นักปราชญ์นิยามลงว่า ศาสนายิวใน
สมัยสมัยอับราฮัม เป็นลัทธิสั่งสอนกันเพียงภายในครอบครัว
หรือวงศตระกูลเท่านั้น (Family Worship of Supreme) ต่อล่วง
มาอีกเป็นเวลานาน จึงเป็นลัทธิศาสนาของคนทั้งชาติ
 ศรัทธาที่คนทั้งหลายมอบให้อับราฮัมในตอน
นั้นสูงมาก ถ้ามีเรื่องทะเลาะวิวาทอะไรขึ้นมา
ก็จะมาให้อับราฮัมไกล่เกลี่ย อับราฮัมอ้าง
อานาจความเป็นธรรมมาตัดสิน (ซึ่งมาจาก
พระเจ้า)
การเผยแผ่ธรรมในกลุ่มคน
 การเกิดขึ้นของนักบวชยิว ก็เหมือนกับนักบวชของศาสนา
โบราณทั้งหลาย คือเกิดขึ้นเพราะมนุษย์ต้องการทาพลีกรรมต่อ
พระเจ้า ต้องการติดต่อขออานาจจากพระเจ้า
 เมื่อไม่มีใครทาได้ ก็มีคนสาคัญพวกหนึ่งใช้ความเฉลียวฉลาด
ของตน แสดงตนว่าเป็นผู้ติดต่อได้ เป็นผู้รู้วิธีพลีกรรมของ
มนุษย์ถึงพระเจ้า
 ในโบราณ ศูนย์กลางการนับถือพระเจ้าที่สาคัญของพวกยิว ได้แก่
แผ่นหินสองแผ่น คือแผ่นหนึ่งที่จารึกบอกคาสั่ง ๑๐ ประการ ซึ่ง
บรรจุไว้ภายในหีบ หรือภาชนะชนิดหนึ่งที่เรียกว่า Ark
 เมื่อพวกยิวพเนจรไปทางใด ก็แบกหีบนี้ไปในขบวนเหมือนกับมี
คาสอนหรือพระเจ้าเสด็จตามไปด้วย
คติเรื่องโลกและชีวิต
 ตามคติศรัทธาของชาวเฮบรู เกี่ยวด้วยการสร้างโลก สร้าง
มนุษย์ สร้างชีวิตสรรพสิ่งต่างๆ และการล้างโลก ปรากฏเป็น
เทพนิยายส่วนใหญ่อยู่ในคัมภีร์ไบเบิลเก่า โดยเฉพาะเล่ม
Genesis อันแสดงเรื่องปฐมการ
โลกหน้าและชีวิตหน้า
 ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของเฮบรู มีส่วนเป็นปรัชญา มากขึ้น
กว่าเผาเซเมติคอื่น คือเชื่อว่าชีวิตอยู่ได้ด้วยอานาจ ๓ ประการ
ได้แก่
 ความมีเลือดเป็นเครื่องหล่อเลี้ยงร่างกายและหัวใจ
 ความมีลมหายใจ
 และการพักผ่อนนอนหลับ
 เรื่องเลือดในร่างกาย และเรื่องการมีลมหายใจ เกี่ยวข้องอยู่กับ
พระเจ้าผู้ประทานชีวิต
 เรื่องการพักผ่อนนอนหลับ เป็นการต่อชีวิต ข้อนี้เซมิติคโบราณ
ถือว่า การนอนหลับเท่ากับการตายไปชั่วขณะหนึ่ง แต่ความ
ตายในเวลาหลับ เป็นความตายที่ทาให้ชีวิตได้พักผ่อน เพื่อ
ความมีชีวิตอยู่ต่อไป ความมีชีวิตอยู่ต่อไปเป็นความกรุณาของ
พระเจ้า ความหลับเป็นสิ่งที่พระเจ้าประทาน
 วรรณคดีเฮบรูยุคหลัง กล่าวถึงความเกี่ยวพันทางจิตของ
มนุษย์กับพระเจ้าว่าเมื่อ “พระจิต” เสด็จเข้าสู่มนุษย์ เป็น
นามธาตุที่ทาให้มนุษย์มีปัญญา สติ อารมณ์ สูงกว่าดิรัจฉาน
ทาให้มนุษย์เชื่อมชีวิตของตนใกล้ชิดพระเจ้ายิ่งขึ้น ครั้น
สิ้นลมหายใจแล้ว วิญญาณของมนุษย์นั้น ย่อมขึ้นไปอยู่ใน
กับเทพเจ้าตามคติของเฮบรู
 อธิบายตรงนี้จะเห็นว่า ภายหลังมนุษย์หมดลมหายใจแล้ว
ความต่อเนื่องของชีวิตแยกออกเป็น ๒ ทาง คือทางดีและ
ทางชั่ว คติอันนี้ ทาให้เกิดอันดับของดวงวิญญาณที่เหลืออยู่
และก่อให้เกิดคติภูมิสวรรค์ ที่สถิตย์พระเจ้าเบื้องสูงและภูมิ
นรก ที่อาศัยของคนชั่วร้าย ภูตผี ชั้นต่า
วิญญาณ-การปฏิบัติต่อผู้ตาย
 การแต่งหลุมฝังศพก็ดี การบงสรวงหรือสัการะศพก็ดี เป็น
ประเพณีต้องห้ามของพวกเฮบรูมาแต่โบราณ
 กล่าวคือ ลูกหลานกลัวพ่อแม่จะตกไปเป็นภูตชั้นเลว จึงแต่ง
หลุมฝั่งศพผู้ตายให้แระนีต เพื่อผู้ตายจะได้มีฐานะชีโอลชั้นสูง
พวกลูกหลานจึงเอาใจใส่ต่อหลุมฝังศพ ตกแต่งให้เป็นระเบียบ
ทาพลีกรรมแก่ผู้ตายตามกาลังที่จะพึงกระทาได้
พระเจ้า-เลือด-พ่อแม่-ชาติ
 ชาวเฮบรูโบราณถือรุนแรงว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับลูก
เป็นอมตะ
 ความสัมพันธ์อันเป็นอมตะเพราะสายเลือดอันเนื่องถึงกัน
สายเลือดคือเหตุแห่งอมตะ เปลี่ยนไม่ได้ สายเลือดคือชีวิตและ
ความตาย
พระเจ้า-เลือด-พ่อแม่-ชาติ
 ลัทธิถือสายเลือดเป็นอมตะระหว่างพ่อแม่กับลูก สั่งสอนกัน
มาตั้งแต่เริ่มประวัติศาสตร์ของชนชาติเฮบรู
 เหตุผลการสั่งสอน เพราะเฮบรูเป็นชาติกระจัดกระจายตั้งไม่
ติด จึงสอนกันว่าเฮบรูมีเลือดเดียวกันทั้งชาติ
 เลือดเป็นสิ่งสาคัญสาหรับสร้างชาติ เลือดเป็นเครื่องหมาย
แห่งความเป็นอยู่ของชาติ ถ้าหมดเลือดก็หมดชีวิต เท่ากับ
ชาติต้องสูญ
ชีวิต-การกลับมาเกิดใหม่
 คาตอบเกี่ยวกับการกลับมาเกิดใหม่ มีดังนี้
“หลุมฝังศพ ที่อาศัยของวิญญาณเหมือนกับครรภ์มารดา
เป็นที่อาศัยของทารก ความเหนื่อยอ่อนของดวงวิญญาณ
เหมือนกับความเหนื่อยอ่อนของหญิงที่กาลังทางานหนัก และ
พยายามจะหนีออกจากความหนักแห่งงานนั้น เมื่อหมดงาน
หนักก็มีเวลาพักผ่อน คือกลับมาเกิด”
 ข้อนี้แสดงว่า ผู้ทากรรมไว้ ต้องใช้กรรมให้หมดก่อน
จบบทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

Viewers also liked

ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)Padvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องPadvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู