SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ชุดความรู้ที่ 3
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ชุดความรู้ด้านระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แบ่งการอธิบายเป็น 5 หัวข้อ
ได้แก่ 1) แนวคิดและการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์ 2) การดาวโหลดแอพพลิเคชันขยะเหลือศูนย์
3) การใช้แอพพลิเคชันกับถังธนาคารขยะรีไซเคิล 4) การตรวจสอบข้อมูลปริมาณขยะรีไซเคิล และ 5) การพัฒนา
ในอนาคต มีรายละเอียดดังนี้
1) แนวคิดและการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์
แนวคิดและการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์มาจากแนวคิดระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์ มี
รายละเอียดดังภาพที่ 1 สามารถอธิบายองค์ประกอบเชิงระบบดังนี้
• การสร้างระบบการมีส่วนร่วมคัดแยกขยะในชุมชน
• เกิด Wallet / Credit ในรูปแบบกองทุนหมู่บ้าน เกิดความยั่งยืน
• เชื่อมโยงข้อมูลของ Korat Zero Waste Platform ด้วย IOC (Intelligence Operation Center) และ
Mobile Application
• ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการขยะ นําไปสู่กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ได้แผนพัฒนา
เมืองด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นขยะเหลือศูนย์
• เกิดเครือข่ายจนมีผลกระทบในระดับเมือง และประยุกต์ใช้กับเมืองอื่น ๆ
• การคัดแยกขยะรีไซเคิลเกิดผลกระทบด้านธุรกิจสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น
2
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดระบบนิเวศการบริหารจัดการขยะหมู่บ้านด้วยแนวคิดขยะเหลือศูนย์
จากกรอบแนวคิดระบบนิเวศการบริหารจัดการขยะในพื้นที่หมู่บ้านหรือชุมชนหนึ่ง ๆ ด้วยแนวคิดขยะ
เหลือศูนย์ สามารถนำมาสู่การออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์ สามารถสรุปกรอบแนวคิดสำหรับการ
สร้างระบบแอพพลิเคชันได้ดังภาพที่ 2-3
ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์
• Area Database
• User Database
• Module Database
JVIS Platform
• Smart Recycle Bank
• Recycle Waste
Statistics
Scavenger Platform
• Module
• Statistics
• News & Campaign
Mobile User
Application
3
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 3 การพัฒนากรอบแนวคิดการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์สู่รายละเอียดการสร้างผลิตภัณฑ์
จากภาพที่ 2-3 อธิบายองค์ประกอบได้ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) JVIS Platform 2) Scavenger
Platform และ 3) Mobile User Application อธิบายรายละเอียดได้ดังนี้
• JVIS Platform หลักการออกแบบในรายละเอียด มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) Area Database 2)
User Database และ 3) Module Database
• Scavenger Platform หลักการออกแบบในรายละเอียด มี 2 องค์ประกอบ 1) Smart Recycle
Bank มุ่งเน้น User เชื่อมโยงในเชิงพื้นที่ อาทิ หมู่บ้านจัดสรร สถาบันการศึกษา เป็นต้น และ 2)
Recycle Waste Statistics
• Mobile User Application หลักการออกแบบในรายละเอียด มี 3 องค์ประกอบ 1) Module 2)
Statistics และ 3) News & Campaign
ทั้งนี้ในแต่ละองค์ประกอบนำไปสู่รายละเอียดของการสร้างผลิตภัณฑ์ สำหรับชุดความรู้นี้จะกล่าวใน
รายละเอียดของส่วน Mobile User Application ที่มีการทำงานร่วมกับ Scavenger Platform
4
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
2) การดาวโหลดแอพพลิเคชันขยะเหลือศูนย์
ทั้งการพิจารณาพื้นที่นำร่อง 2 ประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1) ทีมดำเนินงาน เป็นผู้มีความสัมพันธ์ในการสร้าง
การมีส่วนร่วมทางสังคมในแต่พื้นที่นำร่องเป็นอย่างดี และ 2) ภาพรวมพื้นที่นำร่องทั้ง 5 พื้นที่ มีความหลากหลาย
ของประเภทสถานที่ติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ ได้แก่ สถานศึกษา สถานราชการ และหมู่บ้านจัดสรร
เอกชน ในมุมมองเชิงวิจัยถือว่ามีความหลากหลายของพฤติกรรมผู้ใช้ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะและพฤติกรรม
การมีส่วนร่วมกิจกรรมขยะเหลือศูนย์ จะสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างประเภทสถานที่ เพื่อนำไปสู่การ
กำหนดรายละเอียดนโยบาย แผนงาน และโครงการ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
2.1) Pilot-Area Project
ภาพที่ 3 ตำแหน่งพื้นที่นำร่องทดลองติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ 5 พื้นที่ของเมืองโคราช
2.2) Application สำหรับการเชื่อมโยงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมรวบรวมขยะรีไซเคิลกับธนาคารขยะรี
ไซเคิลอัจฉริยะ ผ่านระบบการประมวลข้อมูลสำคัญระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ใช้ ด้วย Application
กับพื้นที่นำร่อง (Pilot-Area Project) ทั้ง 5 โครงการ ได้แก่ พื้นที่ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา หมู่บ้านซิกเนเจอร์ และ
หมู่บ้านเดอะฟอร์เรส
มีรายละเอียดขอ Link การดาวโหลดผ่าน Mobile Application ทั้งระบบ iOS และ Android มี
รายละเอียด ดังนี้
5
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
พื้นที่ 1: ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อแอพพริเคชั่น: NRCH Scavenger
ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/nrch-scavenger/id1536384349
ลิงค์ดาวโหลด Andriod: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wolves.NRCH_villag
พื้นที่ 2: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
ชื่อแอพพริเคชั่น: RMUTI Scavenger
ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/rmuti-scavenger/id1536383965
ลิงค์ดาวโหลด Andriod: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wolves.RMUTI_village
พื้นที่ 3: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ชื่อแอพพริเคชั่น: NRRU Scavenger
ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/nrru-scavenger/id1536384247
ลิงค์ดาวโหลด Andriod: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wolves.NRRU_village
พื้นที่ 4: The4rest
ชื่อแอพพริเคชั่น: THE 4rest
ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/the-4rest/id1491906342
ลิงค์ดาวโหลด Andriod:
พื้นที่ 5: the Sixnature
ชื่อแอพพริเคชั่น: THE SIXNATURE
ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/the-sixnature/id1491906089NRCH
ลิงค์ดาวโหลด Andriod:
6
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 4 ชุดแอพพลิเคชันนำร่องเชิงพื้นที่และบริหารโครงการ (ซ้าย) แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
พื้นที่สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา (ขวา) ระบบ iOS
ภาพที่ 5 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่มหาวิทยาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ซ้าย) และ
พื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา (ขวา) ระบบ iOS
7
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 6 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่หมู่บ้าน The 4REST (ซ้าย) และพื้นที่หมู่บ้าน The
SIXNATURE (ขวา) ระบบ iOS
ภาพที่ 7 ชุดแอพพลิเคชันนำร่องเชิงพื้นที่และบริหารโครงการ (ซ้าย) แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
พื้นที่สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา (ขวา) ระบบ Android
8
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 8 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่มหาวิทยาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ซ้าย) และ
พื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา (ขวา) ระบบ Android
ภาพที่ 9 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่หมู่บ้าน The 4REST (ซ้าย) และพื้นที่หมู่บ้าน The
SIXNATURE (ขวา) ระบบ Android
9
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
3) การใช้แอพพลิเคชันกับถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
สำหรับ Mobile User Application1 ออกแบบพื้นที่นำร่องไว้จำนวน 5 พื้นที่ ได้แก่ 1) ศาลากลางจังหวัด
นครราชสีมา 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 3) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา 4) หมู่บ้านจัดสรร
The Sixnature และ 5) หมู่บ้านจัดสรร The4Rest ปัจจุบันได้มีผู้ประกอบการของเข้าร่วมอีกโครงการ เป็น
โครงการที่ 6 ได้แก่ 6) Rise Condo
ภาพที่ 10 ตำแหน่งที่ตั้งพื้นที่นำร่องเข้าร่วมโครงการทดสอบระบบเปิดของเมืองโคราช (ที่มา JVIS System)
ภาพที่ 11 Mobile User Application เชื่อมโยงกับ Smart Recycle Bank
ของศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา (ซ้าย)2 และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ขวา)
1 หมายเหตุ - Mobile User Application ทั้ง 6 สถานที่ ได้เตรียมการไว้สามารถดาวโหลดใช้ได้ทั้งระบบ iOS และ Android
2 ใช้ระบบ Android เข้า Mobile User Application
10
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 12 Mobile User Application เชื่อมโยงกับ Smart Recycle Bank
ของมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา (ซ้าย) และ หมู่บ้านจัดสรร The Sixnature (ขวา)3
ภาพที่ 13 Mobile User Application เชื่อมโยงกับ Smart Recycle Bank
ของหมู่บ้านจัดสรร The4Rest และ Rise Condo
3 ใช้ระบบ Android เข้า Mobile User Application
11
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
Smart Recycle Bank หรือ ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ คือ ผลผลิตโครงการเชิงนวัตกรรม โดยบูรณา
การระหว่างแนวคิดด้านธนาคารขยะ กับ การบริหารจัดการชุดข้อมูลด้วย IoT (Internet of Think) ด้วยชุด
Platform ผ่าน Mobile User Application และ Web Browser ของ Scavenger Platform ตลอดจนการ
ออกแบบเชื่อมโยงกับระบบต่าง ๆ ผ่านชุด Platform นี้ อาทิ เครดิตการรวบรวมขยะรีไซเคิล การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรม ฯลฯ ซึ่งจะเป็นการศึกษาขั้นต่อไปเมื่อสามารถพัฒนา Smart Recycle Bank ในระดับการผลิตและ
ให้บริการเชิงอุตสาหกรรมและธุรกิจได้แล้ว
การดำเนินงานในปัจจุบันในเบื้องต้นคณะวิจัยพิจารณาการจำแนกประเภทขยะรีไซเคิล ตำแหน่งถัง
Smart Recycle Bank เพื่อส่งข้อมูลเข้าระบบ Cloud Computing ผ่าน Scavenger Platform ด้วยระบบ QR
Code ซึ่งผู้ใช้หรือผู้รวบรวมขยะรีไซเคิลในพื้นที่ติดตั้ง Smart Recycle Bank สามารถบันทึกข้อมูลผ่านระบบ QR
Code
ภาพที่ 14 การ Generate QR code สำหรับ User Mobile Application ในการเชื่อมโยงข้อมูลขยะรีไซเคิลกับ
Smart Recycle Bank
QR Code นี้เป็นข้อมูลสำหรับการทดลองความเสถียรเชิงระบบการรับส่งข้อมูลระหว่าง Mobile User
Application >>> Smart Recycle Bank >>> Scavenger Platform on Cloud Computing
ระบบ Smart Recycle Bank เป็นการพัฒนาโครงงานนวัตกรรม โดยบูรณาการระหว่างแนวคิดด้าน
ธนาคารขยะ กับ การบริหารจัดการชุดข้อมูลโดยใช้ Internet of Think :IoT ซึ่งเป็นการพัฒนาทั้งส่วนของ
ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์โดยการออกแบบถังคัดแยกที่เหมาะสมและสะดวกทั้งในการใช้งาน และการรวบรวมขยะที่
มีการคัดแยกไว้แต่ละประเภท
12
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ถังที่ออกแบบจะทำการติดตั้งอุปกรณ์เซ็นเซอร์ประเภทต่าง ๆ ที่จะเชื่อมต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
Arduino และการใช้คำสั่งในการควบคุมอุปกรณ์และส่งข้อมูลต่าง ๆ ไปยังหน่วยบันทึกข้อมูลผ่านระบบสัญญาณ
Wi-Fi
ภาพที่ 15 การขึ้นต้นแบบ Smart Recycle Bank พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ IoT เพื่อรับ-ส่งข้อมูลเข้าระบบ
Scavenger Platform
ถังคัดแยกขยะอัจฉริยะจะประกอบด้วย sensor ประเภทต่าง ๆ แบ่งเป็น 6 ประกอบ (ดูรายละเอียดใน
ภาคผนวก จ ประกอบ) มีรายละเอียด
1) เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ จับสิ่งกีดขวาง ( Infrared Proximity Sensor) ใช้เพื่อตรวจจับขยะคัดแยกที่
ถูกทิ้งผ่านช่องทางที่จำแนกประเภทชนิดของขยะ ซึ่งเซ็นเซอร์นี้จะทำหน้าที่นับจำนวนของการทิ้งใน
แต่ละครั้ง จากนั้นเซ็นเซอร์จะทำการส่งข้อมูลที่ตรวจนับได้นี้ไปยังส่วนบริหารจัดการระบบเพื่อบันทึก
ข้อมูลจำนวนชิ้นของการทิ้งของสมาชิกผู้ใช้งาน รวมทั้งจำนวนสะสมของการทิ้ง โดยสามารถรายงาน
กลับไปยังผู้ใช้งานระบบผ่านทางแอปพลิเคชั่น
2) เซ็นเซอร์วัดระดับ (Level sensor) ใช้ตรวจสอบและวัดระดับของขยะที่อยู่ในถัง โดยหากปริมาณ
ขยะมีปริมาณมาก หรือปริมาตรความจุที่เหลือของถังขยะอยู่ในระดับต่าง ๆ เซ็นเซอร์จะทำหน้าที่วัด
ระดับปริมาตรความจุที่คงเหลือของถังและจะทำการแจ้งเตือนไปยังระบบบริหารจัดการ (Admin)
เพื่อส่งการแจ้งเตือนไปยังส่วนแสดงผลและส่วนดำเนินการจัดเก็บขยะออกจากถังเพื่อให้ถังขยะอยู่ใน
สภาพที่พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
13
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
3) ระบบบันทึกภาพ เพื่อทำการบันทึกข้อมูลภาพทุกครั้งที่ผู้ใช้เริ่มใช้งานทำการแสกน QR-code เพื่อ
เริ่มต้นการใช้งานระบบการทิ้งขยะในถังคัดแยกขยะอัจฉริยะ
4) ระบบการแสดงผล (LED) โดยใช้จอแสดงผล LED โมดูล LCD 16x2 เพื่อแสดงผลการอ่านค่าการ
ทำงานของอุปกรณ์เซ็นเซอร์ ค่าที่อ่านได้จากเซ็นเซอร์จะถูกแสดงผลบนจอ LED พร้อมกับที่จะถูก
ส่งไปยัง server ที่จะบันทึกข้อมูล
5) ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและพัฒนาออกแบบถังคัดแยกขยะอัจฉริยะ จะเป็นการใช้โปรแกรม
Arduino ร่วมกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่งจะเป็นตัวที่จะช่วยในการควบคุมอุปกรณ์ใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ
6) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management) คือ การบริหารแหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บ
รวบรวมไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อตอบสนองต่อการใช้ของ Mobile Application
4) การตรวจสอบข้อมูลปริมาณขยะรีไซเคิล
การดำเนินการในระบบปิดผ่าน Mobile User Application ทั้ง 6 แอพพลิเคชัน ได้แก่ 1) ศาลากลาง
จังหวัดนครราชสีมา 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 3) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา 4) หมู่บ้าน
จัดสรร The Sixnature 5) หมู่บ้านจัดสรร The4Rest และ 6) Rise Condo
มีรายละเอียดขั้นตอนดำเนินการผ่าน Mobile User Application กับการสแกน QR Code ที่มีการ
Generate ค่าเชื่อมโยงระหว่าง Smart Recycle Bank และ Scavenger Platform มีรายละเอียดดังนี้
14
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 16 ขั้นตอนการใช้ Mobile User Application สแกน QR Code เพื่อส่งข้อมูลการอ่านค่าผ่าน Smart
Recycle Bank เข้าระบบ Cloud Computing ของ Scavenger Platform
ภาพที่ 17 ขั้นตอนการใช้ Mobile User Application สแกน QR Code ระบบตอบสนอง
กับแอพพลิเคชันผู้ใช้และมีการบันทึกข้อมูลการรวบรวมขยะรีไซเคิลเข้าระบบฐานข้อมูล
15
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 18 การทดสอบความเสถียรการอ่านค่าจาก Mobile User Application จาก QR Code ของ Smart
Cycle Bank
ภาพที่ 19 การทดสอบความเสถียรการอ่านค่าจาก Mobile User Application จาก QR Code ของ Smart
Cycle Bank (ต่อ)
16
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 20 การประมวลผลข้อมูลของระบบ Cloud Computing จาก Scavenger Platform ที่เชื่อมโยงจาก QR
Code ของ Smart Recycle Bank ที่มีการอ่านค่าโดย Mobile User Application ระยะเวลา 4 วัน จำนวน
1,112 ครั้ง
5) การพัฒนาในอนาคต
การประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มกลไกระบบสารสนเทศในประเด็นการพัฒนาที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะด้านอื่น ๆ จากข้อกำหนดโดยสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัล จำเป็นต้องมีกลไกหรืองบประมาณสนับสนุน
การขับเคลื่อน ทั้งนี้โครงการวิจัยนี้พยายามเป็นต้นแบบของแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในลักษณะของ
ภาพรวมและแพลตฟอร์มด้านกลไกระบบสารสนเทศเมือง ซึ่งคณะวิจัยเชื่อว่าเป็นหัวใจหลักของการเป็นเมือง
อัจฉริยะ แต่อย่างไรก็ดีในเชิงเนื้อหาของการเป็นเมืองอัจฉริยะจำเป็นต้องพัฒนาเป็นภาพรวมให้ครอบคลุมทั้ง 7
ด้านของการเป็นเมืองอัจฉริยะ
อาจมีการต่อยอดความร่วมมือกับโครงการวิจัยความเป็นเมืองอัจฉริยะด้านต่าง ๆ โดยมีกลไกระบบ
สารสนเทศเมืองและ Urban Informatics Center เป็นต้นทุนในการต่อยอด และเชื่อมโยงกับภาคส่วนต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
17
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
การดำเนินการตามกรอบแนวคิดขยะเหลือศูนย์อัจฉริยะ (ดูภาพที่ 21) ซึ่งมีทั้งสิ้น 4 องค์ประกอบ ปัจจุบัน
สามารถดำเนินการไปได้ จำนวน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ผลผลิตโครงการ คือ Compost รับขยะ
อินทรีย์ ดำเนินการโดยบริษัท คอมโพสบิน จำกัด และสมาคมอสังหาริมทรัยพ์ และองค์ประกอบที่ 2 ผลผลิตจาก
โครงการวิจัยนี้ จะมี Scavenger Platform & Smart Recycle Bank และสามารถเก็บข้อมูลประเภทขยะรีไซเคิล
จำแนกรายบุคคล เชื่อมโยงเชิงพื้นที่ ส่งเข้าระบบ Cloud Computing จะสามารถนำชุดข้อมูลดังกล่าวนำไป
ประยุกต์ใช้ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจผู้ใช้ การกระจายรายได้ การลดปริมาณขยะในพื้นที่ฝังขยะ
ตลอดจนถือว่าเป็นนวัตกรรมเมืองทั้งเชิงกระบวน เชิงผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นทั้งพื้นที่ทางกายภาพและพื้นที่ออนไลน์
ภาพที่ 21 กรอบแนวคิดระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์อัจฉริยะ
อย่างไรก็ตาม สำหรับการดำเนินโครงการวิจัยนี้ สามารถนำผลผลิตและองค์ความรู้สามารถนำไปสู่การ
บรรจุประเด็นการพัฒนา ตัวชี้วัด แผนงานและโครงการในร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา
ร่างแผนยุทธศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา 5 ปี พ.ศ.2566-2570 และร่างแผนยุทธศาสตร์เทศบาลนครนครราชสีมา
พ.ศ.2566
แต่สิ่งที่จำเป็นต้องดำเนินการต่อเนื่องเพื่อให้องค์ประกอบของระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์อัจฉริยะกลายเป็น
กลไกที่สมบูรณ์ สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมทั้งเมืองได้ ควรต้องมีการส่งเสริมโครงการวิจัย ในองค์ประกอบ
ที่ 3-4 โดยมีประเด็นเสนอในการวิจัยต่อเนื่อง ดังนี้
1) กลไกเครดิตและค่าแลกเปลี่ยนของผู้ใช้ในการรวบรวมขยะรีไซเคิลจากฐานข้อมูลที่ได้จากระบบ
Scavenger Platform and Smart Recycle Bank ควรมีรายละเอียดและเงื่อนไขอย่างไร เพื่อสร้าง
18
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
แรงจูงใจมากขึ้นจนกลายเป็นวัฒนธรรมขยะรีไซเคิลระดับบุคคล สามารถเกิดสมดุลทางธุรกิจเพื่อ
ระบบสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน และสามารถ Scale up ได้มากขึ้น
2) การประยุกต์หรือศึกษาเกี่ยวกับการนำขยะรีไซเคิลแต่ละประเภทไปแปรรูปและเพิ่มมูลค่าทางตลาด
และธุรกิจได้มากขึ้น เพียงใด จนเกิดค่านิยมการใช้ผลิตภัณฑ์ขยะรีไซเคิลในการเป็นกระแสหลักของ
การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
3) การประยุกต์ใช้ Scavenger Platform กลายเป็น Module ด้านต่าง ๆ อาทิ การหาช่างซ่อมบ้าน
ร้านค้าร่วมโครงการขยะเหลือศูนย์ เคมเปญและโปรโมชัน เป็นต้น

More Related Content

What's hot

วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...Gritiga Soothorn
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาCheve Jirattiwat
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 

What's hot (20)

2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยา
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Similar to คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ

ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...Research team Silpakorn University
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนFURD_RSU
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1Prachyanun Nilsook
 

Similar to คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ (20)

ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
Android report
Android reportAndroid report
Android report
 
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen CityUrban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
3
33
3
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 
e-Government Cloud Computing
e-Government Cloud Computinge-Government Cloud Computing
e-Government Cloud Computing
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from Sarit Tiyawongsuwan

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfSarit Tiyawongsuwan
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandSarit Tiyawongsuwan
 

More from Sarit Tiyawongsuwan (20)

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
 
02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City
 
01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
 
Urban Heat Island
Urban Heat IslandUrban Heat Island
Urban Heat Island
 
10 Conclusion
10 Conclusion10 Conclusion
10 Conclusion
 
09 Data Transfer
09 Data Transfer09 Data Transfer
09 Data Transfer
 

คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ

  • 1. 1 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ชุดความรู้ที่ 3 คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ ชุดความรู้ด้านระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แบ่งการอธิบายเป็น 5 หัวข้อ ได้แก่ 1) แนวคิดและการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์ 2) การดาวโหลดแอพพลิเคชันขยะเหลือศูนย์ 3) การใช้แอพพลิเคชันกับถังธนาคารขยะรีไซเคิล 4) การตรวจสอบข้อมูลปริมาณขยะรีไซเคิล และ 5) การพัฒนา ในอนาคต มีรายละเอียดดังนี้ 1) แนวคิดและการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์ แนวคิดและการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์มาจากแนวคิดระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์ มี รายละเอียดดังภาพที่ 1 สามารถอธิบายองค์ประกอบเชิงระบบดังนี้ • การสร้างระบบการมีส่วนร่วมคัดแยกขยะในชุมชน • เกิด Wallet / Credit ในรูปแบบกองทุนหมู่บ้าน เกิดความยั่งยืน • เชื่อมโยงข้อมูลของ Korat Zero Waste Platform ด้วย IOC (Intelligence Operation Center) และ Mobile Application • ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการขยะ นําไปสู่กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม ได้แผนพัฒนา เมืองด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นขยะเหลือศูนย์ • เกิดเครือข่ายจนมีผลกระทบในระดับเมือง และประยุกต์ใช้กับเมืองอื่น ๆ • การคัดแยกขยะรีไซเคิลเกิดผลกระทบด้านธุรกิจสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น
  • 2. 2 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดระบบนิเวศการบริหารจัดการขยะหมู่บ้านด้วยแนวคิดขยะเหลือศูนย์ จากกรอบแนวคิดระบบนิเวศการบริหารจัดการขยะในพื้นที่หมู่บ้านหรือชุมชนหนึ่ง ๆ ด้วยแนวคิดขยะ เหลือศูนย์ สามารถนำมาสู่การออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์ สามารถสรุปกรอบแนวคิดสำหรับการ สร้างระบบแอพพลิเคชันได้ดังภาพที่ 2-3 ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์ • Area Database • User Database • Module Database JVIS Platform • Smart Recycle Bank • Recycle Waste Statistics Scavenger Platform • Module • Statistics • News & Campaign Mobile User Application
  • 3. 3 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 3 การพัฒนากรอบแนวคิดการออกแบบแอพพลิเคชันระบบขยะเหลือศูนย์สู่รายละเอียดการสร้างผลิตภัณฑ์ จากภาพที่ 2-3 อธิบายองค์ประกอบได้ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) JVIS Platform 2) Scavenger Platform และ 3) Mobile User Application อธิบายรายละเอียดได้ดังนี้ • JVIS Platform หลักการออกแบบในรายละเอียด มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) Area Database 2) User Database และ 3) Module Database • Scavenger Platform หลักการออกแบบในรายละเอียด มี 2 องค์ประกอบ 1) Smart Recycle Bank มุ่งเน้น User เชื่อมโยงในเชิงพื้นที่ อาทิ หมู่บ้านจัดสรร สถาบันการศึกษา เป็นต้น และ 2) Recycle Waste Statistics • Mobile User Application หลักการออกแบบในรายละเอียด มี 3 องค์ประกอบ 1) Module 2) Statistics และ 3) News & Campaign ทั้งนี้ในแต่ละองค์ประกอบนำไปสู่รายละเอียดของการสร้างผลิตภัณฑ์ สำหรับชุดความรู้นี้จะกล่าวใน รายละเอียดของส่วน Mobile User Application ที่มีการทำงานร่วมกับ Scavenger Platform
  • 4. 4 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ 2) การดาวโหลดแอพพลิเคชันขยะเหลือศูนย์ ทั้งการพิจารณาพื้นที่นำร่อง 2 ประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1) ทีมดำเนินงาน เป็นผู้มีความสัมพันธ์ในการสร้าง การมีส่วนร่วมทางสังคมในแต่พื้นที่นำร่องเป็นอย่างดี และ 2) ภาพรวมพื้นที่นำร่องทั้ง 5 พื้นที่ มีความหลากหลาย ของประเภทสถานที่ติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ ได้แก่ สถานศึกษา สถานราชการ และหมู่บ้านจัดสรร เอกชน ในมุมมองเชิงวิจัยถือว่ามีความหลากหลายของพฤติกรรมผู้ใช้ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะและพฤติกรรม การมีส่วนร่วมกิจกรรมขยะเหลือศูนย์ จะสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างประเภทสถานที่ เพื่อนำไปสู่การ กำหนดรายละเอียดนโยบาย แผนงาน และโครงการ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ 2.1) Pilot-Area Project ภาพที่ 3 ตำแหน่งพื้นที่นำร่องทดลองติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ 5 พื้นที่ของเมืองโคราช 2.2) Application สำหรับการเชื่อมโยงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมรวบรวมขยะรีไซเคิลกับธนาคารขยะรี ไซเคิลอัจฉริยะ ผ่านระบบการประมวลข้อมูลสำคัญระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ใช้ ด้วย Application กับพื้นที่นำร่อง (Pilot-Area Project) ทั้ง 5 โครงการ ได้แก่ พื้นที่ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา หมู่บ้านซิกเนเจอร์ และ หมู่บ้านเดอะฟอร์เรส มีรายละเอียดขอ Link การดาวโหลดผ่าน Mobile Application ทั้งระบบ iOS และ Android มี รายละเอียด ดังนี้
  • 5. 5 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ พื้นที่ 1: ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา ชื่อแอพพริเคชั่น: NRCH Scavenger ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/nrch-scavenger/id1536384349 ลิงค์ดาวโหลด Andriod: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wolves.NRCH_villag พื้นที่ 2: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ชื่อแอพพริเคชั่น: RMUTI Scavenger ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/rmuti-scavenger/id1536383965 ลิงค์ดาวโหลด Andriod: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wolves.RMUTI_village พื้นที่ 3: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชื่อแอพพริเคชั่น: NRRU Scavenger ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/nrru-scavenger/id1536384247 ลิงค์ดาวโหลด Andriod: https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wolves.NRRU_village พื้นที่ 4: The4rest ชื่อแอพพริเคชั่น: THE 4rest ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/the-4rest/id1491906342 ลิงค์ดาวโหลด Andriod: พื้นที่ 5: the Sixnature ชื่อแอพพริเคชั่น: THE SIXNATURE ลิงค์ดาวโหลด iOS: https://apps.apple.com/th/app/the-sixnature/id1491906089NRCH ลิงค์ดาวโหลด Andriod:
  • 6. 6 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 4 ชุดแอพพลิเคชันนำร่องเชิงพื้นที่และบริหารโครงการ (ซ้าย) แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ พื้นที่สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา (ขวา) ระบบ iOS ภาพที่ 5 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่มหาวิทยาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ซ้าย) และ พื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา (ขวา) ระบบ iOS
  • 7. 7 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 6 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่หมู่บ้าน The 4REST (ซ้าย) และพื้นที่หมู่บ้าน The SIXNATURE (ขวา) ระบบ iOS ภาพที่ 7 ชุดแอพพลิเคชันนำร่องเชิงพื้นที่และบริหารโครงการ (ซ้าย) แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ พื้นที่สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา (ขวา) ระบบ Android
  • 8. 8 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 8 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่มหาวิทยาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ซ้าย) และ พื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา (ขวา) ระบบ Android ภาพที่ 9 แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะพื้นที่หมู่บ้าน The 4REST (ซ้าย) และพื้นที่หมู่บ้าน The SIXNATURE (ขวา) ระบบ Android
  • 9. 9 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ 3) การใช้แอพพลิเคชันกับถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ สำหรับ Mobile User Application1 ออกแบบพื้นที่นำร่องไว้จำนวน 5 พื้นที่ ได้แก่ 1) ศาลากลางจังหวัด นครราชสีมา 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 3) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา 4) หมู่บ้านจัดสรร The Sixnature และ 5) หมู่บ้านจัดสรร The4Rest ปัจจุบันได้มีผู้ประกอบการของเข้าร่วมอีกโครงการ เป็น โครงการที่ 6 ได้แก่ 6) Rise Condo ภาพที่ 10 ตำแหน่งที่ตั้งพื้นที่นำร่องเข้าร่วมโครงการทดสอบระบบเปิดของเมืองโคราช (ที่มา JVIS System) ภาพที่ 11 Mobile User Application เชื่อมโยงกับ Smart Recycle Bank ของศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา (ซ้าย)2 และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ขวา) 1 หมายเหตุ - Mobile User Application ทั้ง 6 สถานที่ ได้เตรียมการไว้สามารถดาวโหลดใช้ได้ทั้งระบบ iOS และ Android 2 ใช้ระบบ Android เข้า Mobile User Application
  • 10. 10 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 12 Mobile User Application เชื่อมโยงกับ Smart Recycle Bank ของมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา (ซ้าย) และ หมู่บ้านจัดสรร The Sixnature (ขวา)3 ภาพที่ 13 Mobile User Application เชื่อมโยงกับ Smart Recycle Bank ของหมู่บ้านจัดสรร The4Rest และ Rise Condo 3 ใช้ระบบ Android เข้า Mobile User Application
  • 11. 11 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ Smart Recycle Bank หรือ ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ คือ ผลผลิตโครงการเชิงนวัตกรรม โดยบูรณา การระหว่างแนวคิดด้านธนาคารขยะ กับ การบริหารจัดการชุดข้อมูลด้วย IoT (Internet of Think) ด้วยชุด Platform ผ่าน Mobile User Application และ Web Browser ของ Scavenger Platform ตลอดจนการ ออกแบบเชื่อมโยงกับระบบต่าง ๆ ผ่านชุด Platform นี้ อาทิ เครดิตการรวบรวมขยะรีไซเคิล การมีส่วนร่วมใน กิจกรรม ฯลฯ ซึ่งจะเป็นการศึกษาขั้นต่อไปเมื่อสามารถพัฒนา Smart Recycle Bank ในระดับการผลิตและ ให้บริการเชิงอุตสาหกรรมและธุรกิจได้แล้ว การดำเนินงานในปัจจุบันในเบื้องต้นคณะวิจัยพิจารณาการจำแนกประเภทขยะรีไซเคิล ตำแหน่งถัง Smart Recycle Bank เพื่อส่งข้อมูลเข้าระบบ Cloud Computing ผ่าน Scavenger Platform ด้วยระบบ QR Code ซึ่งผู้ใช้หรือผู้รวบรวมขยะรีไซเคิลในพื้นที่ติดตั้ง Smart Recycle Bank สามารถบันทึกข้อมูลผ่านระบบ QR Code ภาพที่ 14 การ Generate QR code สำหรับ User Mobile Application ในการเชื่อมโยงข้อมูลขยะรีไซเคิลกับ Smart Recycle Bank QR Code นี้เป็นข้อมูลสำหรับการทดลองความเสถียรเชิงระบบการรับส่งข้อมูลระหว่าง Mobile User Application >>> Smart Recycle Bank >>> Scavenger Platform on Cloud Computing ระบบ Smart Recycle Bank เป็นการพัฒนาโครงงานนวัตกรรม โดยบูรณาการระหว่างแนวคิดด้าน ธนาคารขยะ กับ การบริหารจัดการชุดข้อมูลโดยใช้ Internet of Think :IoT ซึ่งเป็นการพัฒนาทั้งส่วนของ ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์โดยการออกแบบถังคัดแยกที่เหมาะสมและสะดวกทั้งในการใช้งาน และการรวบรวมขยะที่ มีการคัดแยกไว้แต่ละประเภท
  • 12. 12 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ถังที่ออกแบบจะทำการติดตั้งอุปกรณ์เซ็นเซอร์ประเภทต่าง ๆ ที่จะเชื่อมต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino และการใช้คำสั่งในการควบคุมอุปกรณ์และส่งข้อมูลต่าง ๆ ไปยังหน่วยบันทึกข้อมูลผ่านระบบสัญญาณ Wi-Fi ภาพที่ 15 การขึ้นต้นแบบ Smart Recycle Bank พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ IoT เพื่อรับ-ส่งข้อมูลเข้าระบบ Scavenger Platform ถังคัดแยกขยะอัจฉริยะจะประกอบด้วย sensor ประเภทต่าง ๆ แบ่งเป็น 6 ประกอบ (ดูรายละเอียดใน ภาคผนวก จ ประกอบ) มีรายละเอียด 1) เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ จับสิ่งกีดขวาง ( Infrared Proximity Sensor) ใช้เพื่อตรวจจับขยะคัดแยกที่ ถูกทิ้งผ่านช่องทางที่จำแนกประเภทชนิดของขยะ ซึ่งเซ็นเซอร์นี้จะทำหน้าที่นับจำนวนของการทิ้งใน แต่ละครั้ง จากนั้นเซ็นเซอร์จะทำการส่งข้อมูลที่ตรวจนับได้นี้ไปยังส่วนบริหารจัดการระบบเพื่อบันทึก ข้อมูลจำนวนชิ้นของการทิ้งของสมาชิกผู้ใช้งาน รวมทั้งจำนวนสะสมของการทิ้ง โดยสามารถรายงาน กลับไปยังผู้ใช้งานระบบผ่านทางแอปพลิเคชั่น 2) เซ็นเซอร์วัดระดับ (Level sensor) ใช้ตรวจสอบและวัดระดับของขยะที่อยู่ในถัง โดยหากปริมาณ ขยะมีปริมาณมาก หรือปริมาตรความจุที่เหลือของถังขยะอยู่ในระดับต่าง ๆ เซ็นเซอร์จะทำหน้าที่วัด ระดับปริมาตรความจุที่คงเหลือของถังและจะทำการแจ้งเตือนไปยังระบบบริหารจัดการ (Admin) เพื่อส่งการแจ้งเตือนไปยังส่วนแสดงผลและส่วนดำเนินการจัดเก็บขยะออกจากถังเพื่อให้ถังขยะอยู่ใน สภาพที่พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
  • 13. 13 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ 3) ระบบบันทึกภาพ เพื่อทำการบันทึกข้อมูลภาพทุกครั้งที่ผู้ใช้เริ่มใช้งานทำการแสกน QR-code เพื่อ เริ่มต้นการใช้งานระบบการทิ้งขยะในถังคัดแยกขยะอัจฉริยะ 4) ระบบการแสดงผล (LED) โดยใช้จอแสดงผล LED โมดูล LCD 16x2 เพื่อแสดงผลการอ่านค่าการ ทำงานของอุปกรณ์เซ็นเซอร์ ค่าที่อ่านได้จากเซ็นเซอร์จะถูกแสดงผลบนจอ LED พร้อมกับที่จะถูก ส่งไปยัง server ที่จะบันทึกข้อมูล 5) ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและพัฒนาออกแบบถังคัดแยกขยะอัจฉริยะ จะเป็นการใช้โปรแกรม Arduino ร่วมกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่งจะเป็นตัวที่จะช่วยในการควบคุมอุปกรณ์ใน อุตสาหกรรมต่าง ๆ 6) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management) คือ การบริหารแหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บ รวบรวมไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อตอบสนองต่อการใช้ของ Mobile Application 4) การตรวจสอบข้อมูลปริมาณขยะรีไซเคิล การดำเนินการในระบบปิดผ่าน Mobile User Application ทั้ง 6 แอพพลิเคชัน ได้แก่ 1) ศาลากลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 3) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา 4) หมู่บ้าน จัดสรร The Sixnature 5) หมู่บ้านจัดสรร The4Rest และ 6) Rise Condo มีรายละเอียดขั้นตอนดำเนินการผ่าน Mobile User Application กับการสแกน QR Code ที่มีการ Generate ค่าเชื่อมโยงระหว่าง Smart Recycle Bank และ Scavenger Platform มีรายละเอียดดังนี้
  • 14. 14 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 16 ขั้นตอนการใช้ Mobile User Application สแกน QR Code เพื่อส่งข้อมูลการอ่านค่าผ่าน Smart Recycle Bank เข้าระบบ Cloud Computing ของ Scavenger Platform ภาพที่ 17 ขั้นตอนการใช้ Mobile User Application สแกน QR Code ระบบตอบสนอง กับแอพพลิเคชันผู้ใช้และมีการบันทึกข้อมูลการรวบรวมขยะรีไซเคิลเข้าระบบฐานข้อมูล
  • 15. 15 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 18 การทดสอบความเสถียรการอ่านค่าจาก Mobile User Application จาก QR Code ของ Smart Cycle Bank ภาพที่ 19 การทดสอบความเสถียรการอ่านค่าจาก Mobile User Application จาก QR Code ของ Smart Cycle Bank (ต่อ)
  • 16. 16 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 20 การประมวลผลข้อมูลของระบบ Cloud Computing จาก Scavenger Platform ที่เชื่อมโยงจาก QR Code ของ Smart Recycle Bank ที่มีการอ่านค่าโดย Mobile User Application ระยะเวลา 4 วัน จำนวน 1,112 ครั้ง 5) การพัฒนาในอนาคต การประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มกลไกระบบสารสนเทศในประเด็นการพัฒนาที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดการพัฒนา เมืองอัจฉริยะด้านอื่น ๆ จากข้อกำหนดโดยสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัล จำเป็นต้องมีกลไกหรืองบประมาณสนับสนุน การขับเคลื่อน ทั้งนี้โครงการวิจัยนี้พยายามเป็นต้นแบบของแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในลักษณะของ ภาพรวมและแพลตฟอร์มด้านกลไกระบบสารสนเทศเมือง ซึ่งคณะวิจัยเชื่อว่าเป็นหัวใจหลักของการเป็นเมือง อัจฉริยะ แต่อย่างไรก็ดีในเชิงเนื้อหาของการเป็นเมืองอัจฉริยะจำเป็นต้องพัฒนาเป็นภาพรวมให้ครอบคลุมทั้ง 7 ด้านของการเป็นเมืองอัจฉริยะ อาจมีการต่อยอดความร่วมมือกับโครงการวิจัยความเป็นเมืองอัจฉริยะด้านต่าง ๆ โดยมีกลไกระบบ สารสนเทศเมืองและ Urban Informatics Center เป็นต้นทุนในการต่อยอด และเชื่อมโยงกับภาคส่วนต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 17. 17 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ การดำเนินการตามกรอบแนวคิดขยะเหลือศูนย์อัจฉริยะ (ดูภาพที่ 21) ซึ่งมีทั้งสิ้น 4 องค์ประกอบ ปัจจุบัน สามารถดำเนินการไปได้ จำนวน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ผลผลิตโครงการ คือ Compost รับขยะ อินทรีย์ ดำเนินการโดยบริษัท คอมโพสบิน จำกัด และสมาคมอสังหาริมทรัยพ์ และองค์ประกอบที่ 2 ผลผลิตจาก โครงการวิจัยนี้ จะมี Scavenger Platform & Smart Recycle Bank และสามารถเก็บข้อมูลประเภทขยะรีไซเคิล จำแนกรายบุคคล เชื่อมโยงเชิงพื้นที่ ส่งเข้าระบบ Cloud Computing จะสามารถนำชุดข้อมูลดังกล่าวนำไป ประยุกต์ใช้ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจผู้ใช้ การกระจายรายได้ การลดปริมาณขยะในพื้นที่ฝังขยะ ตลอดจนถือว่าเป็นนวัตกรรมเมืองทั้งเชิงกระบวน เชิงผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นทั้งพื้นที่ทางกายภาพและพื้นที่ออนไลน์ ภาพที่ 21 กรอบแนวคิดระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์อัจฉริยะ อย่างไรก็ตาม สำหรับการดำเนินโครงการวิจัยนี้ สามารถนำผลผลิตและองค์ความรู้สามารถนำไปสู่การ บรรจุประเด็นการพัฒนา ตัวชี้วัด แผนงานและโครงการในร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ร่างแผนยุทธศาสตร์จังหวัดนครราชสีมา 5 ปี พ.ศ.2566-2570 และร่างแผนยุทธศาสตร์เทศบาลนครนครราชสีมา พ.ศ.2566 แต่สิ่งที่จำเป็นต้องดำเนินการต่อเนื่องเพื่อให้องค์ประกอบของระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์อัจฉริยะกลายเป็น กลไกที่สมบูรณ์ สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมทั้งเมืองได้ ควรต้องมีการส่งเสริมโครงการวิจัย ในองค์ประกอบ ที่ 3-4 โดยมีประเด็นเสนอในการวิจัยต่อเนื่อง ดังนี้ 1) กลไกเครดิตและค่าแลกเปลี่ยนของผู้ใช้ในการรวบรวมขยะรีไซเคิลจากฐานข้อมูลที่ได้จากระบบ Scavenger Platform and Smart Recycle Bank ควรมีรายละเอียดและเงื่อนไขอย่างไร เพื่อสร้าง
  • 18. 18 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ แรงจูงใจมากขึ้นจนกลายเป็นวัฒนธรรมขยะรีไซเคิลระดับบุคคล สามารถเกิดสมดุลทางธุรกิจเพื่อ ระบบสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน และสามารถ Scale up ได้มากขึ้น 2) การประยุกต์หรือศึกษาเกี่ยวกับการนำขยะรีไซเคิลแต่ละประเภทไปแปรรูปและเพิ่มมูลค่าทางตลาด และธุรกิจได้มากขึ้น เพียงใด จนเกิดค่านิยมการใช้ผลิตภัณฑ์ขยะรีไซเคิลในการเป็นกระแสหลักของ การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน 3) การประยุกต์ใช้ Scavenger Platform กลายเป็น Module ด้านต่าง ๆ อาทิ การหาช่างซ่อมบ้าน ร้านค้าร่วมโครงการขยะเหลือศูนย์ เคมเปญและโปรโมชัน เป็นต้น