SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ชุดความรู้ที่ 5
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ชุดความรู้ด้านกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แบ่งการอธิบายเป็น 2
หัวข้อ ได้แก่ 1) แนวคิดและการออกแบบกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม 2) กระบวนการร่างแผนพัฒนาเมือง
อัจฉริยะ มีรายละเอียดได้นี้
1) แนวคิดและการออกแบบกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม
การจัดทำแผนพัฒนาที่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรเป็นแผนที่ได้มาจากการมีส่วนร่วม
ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนร่วมกัน เพื่อนําไปสู่การสร้างเป้าหมายร่วมกัน
ที่ชัดเจน อันจะนําไปสู่การกําหนดรายละเอียดของแผนพัฒนาเมืองที่มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม
ดังแสดงในภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การจัดทำร่างแผนพัฒนาเมืองโคราช
อัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
1. ระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
2. ระดับให้ความคิดเห็น ได้แก่
การแสดงความคิดเห็น และการ
ให้ข้อมูลบริบทและพื้นที่
3. ระดับร่วมดำเนินการ ได้แก่
การมีบทบาทในการจัดทำ
ได้ร่วมตัดสินใจ และเป็นหุ้นส่วนในการ
ดำเนินงาน
2
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้แผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะจากการมีส่วนร่วม
ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำหรับเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายเพื่อขับเคลื่อนให้จังหวัดนครราชสีมา
สามารถบริหารจัดการเรื่องขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดทำ
แผนพัฒนาเมืองที่ก่อให้เกิดการนำเสนอรูปแบบที่เป็นรูปธรรมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง และเป็นที่ยอมรับของ
ทุกภาคส่วน
ตารางที่ 1 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบโครงการวิจัย
วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ
1) เพื่อจัดทำแผนพัฒนาเมือง
โคราชอัจฉริยะด้าน
สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
ยกร่างแผนยุทธศาสตร์เมือง
อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา โดย
มีประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
และเตรียมการขยายผลใน
โครงการที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด
ขยะเหลือศูนย์ (ดูภาคผนวก ก
ประกอบ)
ยกร่างแผนยุทธศาสตร์จังหวัด
นครราชสีมา 5 ปี พ.ศ.2566-
2570 โดยมีตัวชี้วัดด้านการ
ยกระดับความเป็นเมืองอัจฉริยะ
และโครงการกิจกรรมหลักที่
เกี่ยวข้องกับแนวคิดขยะเหลือศูนย์
อยู่ในแผนฯ และสามารถต่อยอด
ประยุกต์ครอบคลุมความเป็นเมือง
อัจฉริยะทั้ง 7 ด้านได้ (ดู
ภาคผนวก ข ประกอบ)
ยกระดับคุณภาพของเมือง
สอดคล้องตามตัวชี้วัดความเป็น
เมืองอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน โดย
สำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัล ได้แก่
- Smart Environment ลด
CO2 Emission มากกว่า
1% ต่อปี
- Smart Energy เพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
หรือใช้พลังงานทดแทนใน
พื้นที่ มากกว่า 1% ต่อปี
- Smart Economy เพิ่ม
รายได้รายปีต่อหัวประชา
การ มากกว่า 250,000 บาท
- Smart Living ค่าดัชนีสุข
ภาวะ มากกว่า 80% ต่อปี
- Smart People สัดส่วน
จำนวนประชาชน มากกว่า
70% ในพื้นที่มี Digital
Literacy
- Smart Mobility ความพึง
พอใจต่อขนส่งสาธารณะหรือ
ระบบขนส่งจราจรที่สะดวก
มากกว่า 60% ผู้เสียชีวิตจาก
3
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ
การเดินทางบนถนน น้อย
กว่า 12 คน ต่อ ประชากร 1
แสนคน (หรือลดลง 50%
ต่อปี)
- Smart Governance
สัดส่วนประชาชนเข้าถึง
บริการข้อมูลข่าวสารผ่าน
ช่องทางดิจิทัล มากกว่า
60% สัดส่วนประชาชนมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ
บริการสาธารณะมากกว่า
60%
2) เพื่อประเมินผลการมีส่วน
ร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ในการทำแผนพัฒนาเมือง
โคราชอัจฉริยะ
ในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
ระดับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้
เสียในการพัฒนากลไกระบบ
สารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผน
และพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
เป็นแบบหุ้นส่วนร่วมดำเนินการ
เกิดเครือข่ายองค์กรเข้าร่วมเพิ่ม
มากขึ้น
- เครือข่ายบูรณาการแผน
ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ
- โมเดลธุรกิจต่อยอดจาก
ผลผลิตการวิจัยเพิ่มขึ้น
เกิดกลุ่มเครือข่ายจัดทำแผน
เฉพาะด้านเมืองอัจฉริยะเพิ่มมาก
ขึ้นครอบคลุมทั้ง 7 ด้าน ตาม
กรอบแนวคิดของสำนักงาน
เศรษฐกิจดิจิทัล ส่งผลต่อการ
พัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะได้มี
คุณภาพและรวดเร็วมากขึ้น
2) กระบวนการร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
แผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะแบ่งการอธิบายเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย 1) ร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ
จังหวัดนครราชสีมากับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ และ 2) ระดับการมีส่วนร่วม
ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา และประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์
การยกร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ และ
ประเมินการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยใช้การประชุมกลุ่มเฉพาะ (Focus group) 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1
ประชุมเพื่อยกร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ และประเมิน
4
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และครั้งที่ 2 ประชุมเพื่อทำประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียต่อร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์
ภาพที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา โดยมีรองผู้ว่าราชการ เป็น
ประธาน ท่ามกลางผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันอุดมศึกษา
ภาพที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติประชาวิจารณ์และทบทวนร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา โดยมี
รองผู้ว่าราชการ เป็นประธาน ท่ามกลางผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันอุดมศึกษา
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทั้ง 2 ครั้ง สามารถสรุปร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ทั้ง 7
ด้านของความเป็นเมืองอัจฉริยะตามกรอบแนวคิดของสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัล มีรายละเอียดดังตารางที่ 2 ซึ่งจะ
นำไปสู่การนำเสนอให้คณะกรรมการสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัลพิจารณาเสนอประกาศเป็นเมืองโคราชอัจฉริยะ เพื่อ
ส่งเสริมและกระตุ้นด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI: Thailand Board of
Investment) และมีงบประมาณส่งเสริมกลุ่มผู้ประกอบการดิจิทัลอีกด้วย (Digital Provider)
5
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
สำหรับร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครรราชสีมา พ.ศ. 2566 ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
ประเด็นขยะเหลือศูนย์ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) เป้าหมายของร่างแผนฯ การจัดการขยะ
มูลฝอยชุมชนอย่างครบวงจรถูกต้องตามหลักวิชาการ และมีนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้าน Smart Environment
ตารางที่ 2 ร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครรราชสีมา พ.ศ. 2566
ลักษณะการเป็นเมือง
อัจฉริยะ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
1. ด้านคมนาคมอัจฉริยะ
(Smart Mobility)
1.1 ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะมีความ
ปลอดภัย
- มีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยในพาหนะของระบบขนส่งสาธารณะ
ครบถ้วน ตามมาตรฐาน (CCTV, ค้อนทุบกระจก, อุปกรณ์ดับเพลิง,
ประตู/ทางออกฉุกเฉิน, ระบบ GPS ควบคุมความเร็ว)
- มีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยในอาคาร/สถานี ขนส่งสาธารณะ
ครบถ้วน ตามมาตรฐาน
1.2 ความสะดวกและปลอดภัยในโครงข่าย
คมนาคม
- สัดส่วนของพื้นที่ที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับการฝ่าฝืนด้าน
จราจรแบบอัตโนมัติ (CCTV, เครื่องตรวจจับความเร็ว)
- ระดับของการบังคับใช้ระบบควบคุมการฝ่าฝืนระเบียบจราจรต่าง
ๆ แบบอัตโนมัติ
- มีการฝึกซ้อมแผนด้านความปลอดภัยและสถานการณ์ฉุกเฉินของ
ระบบคมนาคมขนส่งอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- มีแผนการบริหารจัดการขนส่งสินค้า และศูนย์ข้อมูลการเดินรถ
ขนส่งสินค้าในจังหวัด
1.3 การส่งเสริมการใช้ยานพาหนะลดมลพิษ
(Green Mobility)
- มีแผนการพัฒนาทางเท้า/ทางจักรยาน/จักรยานไฟฟ้า
- สัดส่วนของผู้ใช้งานทางเดินเท้า/ทางจักรยาน/จักรยานไฟฟ้า
- สัดส่วนของจำนวนรถในพื้นที่ที่ลงทะเบียนกับพื้นที่พัฒนาเมือง
อัจฉริยะ ที่ใช้ยานพาหนะประหยัดพลังงานและปล่อยมลพิษต่ำ
- มีสถานีอัดประจุในพื้นที่/ สถานีชาร์ตรถพลังงานไฟฟ้า
1.4 การสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม เมือง
อัจฉริยะ ด้าน Smart Mobility ให้เกิดขึ้นได้
อย่างเป็นรูปธรรม
- มีข้อเสนอเชิงนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่ง
ให้มีความอัจฉริยะมากขึ้น (ยกตัวอย่างเช่น จุดแสดงสถานะที่จอด
รถแล้วแสดงผลแบบ Real Time ในสถานที่สำคัญ ระบบจองตั๋ว
ขนส่งออนไลน์เพื่อลดความหนาแน่นแออัดบริเวณสถานีขนส่ง ,
ระบบแสดงแผนที่จราจรแบบอัจฉริยะที่สะท้อนสถานะการณ์บน
ท้องถนน แบบ Real Time และแบบคาดการณ์ล่วงหน้าเพื่อการ
ตัดสินใจการเดินทาง ฯลฯ)
1.5 การเข้าถึงโครงข่ายคมนาคมอัจฉริยะ
การบริการด้านคมนาคมขนส่ง และการ
บริการข้อมูล
- สัดส่วนของเส้นทางขนส่งสาธารณะที่มีการติดตั้งระบบ real time
- มีระบบการบริการข้อมูลเกี่ยวกับระบบการขนส่งสาธารณะ
(Information System)
6
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ลักษณะการเป็นเมือง
อัจฉริยะ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
- มีระบบจ่ายค่าบริการขนส่งไร้เงินสด เพื่อลดการรอคิวและการ
สัมผัส
- สัดส่วนของจำนวนถนนที่มีระบบการให้ข้อมูลจราจรอัตโนมัติ
- จำนวนช่องทางการให้ข้อมูลการเดินทางในรูปแบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ
2. ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
(Smart Environment)
2.1 การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างครบ
วงจรถูกต้องตามหลักวิชาการ
- มีระบบการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง และขยะตกค้าง
อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
- มีนวัตกรรมในการจัดการขยะได้อย่างอัจฉริยะ
2.2 มีการพัฒนาระบบการจัดการน้ำเสีย
อย่างมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน
- มีฐานข้อมูลการปล่อยน้ำเสีย และระบบวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้ง
- มีการส่งเสริมให้อาคารบ้านเรือน ร้านค้า สถานประกอบการ ฯลฯ
บำบัดน้ำเสียขันต้น โดยติดตั้งถังดักไขมัน ถังบำบัดน้ำเสีย ฯลฯ
- มีระบบจัดการน้ำเสียชุมชน
- พื้นที่ให้บริการระบบบำบัดน้ำเสียรวมชุมชน ครอบคลุมพื้นที่
ชุมชนมากกว่าร้อยละ 50
2.3 มีคุณภาพอากาศที่ไม่ส่งผลกระทบต่อคน
ในชุมชน
- มีการจัดให้มีระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- มีการส่งเสริมการเดินทางทางเลือก
- มีระบบติดตามคุณภาพอากาศ ฝุ่น ควัน มลพิษ และระบบจัดการ
เมื่อเกิดข้อร้องเรียน
2.4 เมืองมีพื้นที่สีเขียวเพียงพอและได้
มาตรฐาน
- มีสัดส่วนของพื้นที่สีเขียวสาธารณะที่ประชาชนเข้าถึง/ใช้บริการได้
ไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตร/คน
2.5 มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มี
ประสิทธิภาพ
- มีแผนจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ภูมินิเวศ
ภูมิทัศน์ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและปลอดภัย
- มีแผนหรือระบบเฝ้าระวังภัยจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
ภูมิอากาศ อุทกภัย
- มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการปัญหามลพิษ
และสิ่งแวดล้อม
- มีเครือข่ายความร่วมมือการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง
- มีระบบและการจัดการข้อร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้ง
ทางด้าน ดิน น้ำ อากาศ มลพิษ ขยะ อุทกภัย เป็นต้น
2.6 ประชาชนมีวิถีและการบริโภคที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม
- มีการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การ
ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ถุงซ้ำ กล่องกระดาษแทนกล่องโฟม
เป็นต้น
- ประชาชนมีการใช้บริการจุดแยกขยะอัจฉริยะ เช่น แยกขยะรี
ไซเคิลออกจากขยะทั่วไป เป็นต้น
7
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ลักษณะการเป็นเมือง
อัจฉริยะ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
2.7 มีนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการ
พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้าน Smart
Environment
-มีข้อเสนอนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้าน Smart Environment อย่างเป็นรูปธรรม อย่างน้อย 1
โครงการ
3. ด้านพลังงานอัจฉริยะ
(Smart Energy)
3.1 การบริหารจัดการใช้พลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
- สัดส่วนของอาคารหรือสถานประกอบการที่เข้าร่วมมาตรการ
จัดทำดัชนีการใช้พลังงานให้เป็นไปตามมาตรฐาน
-
3.2 การพัฒนาระบบพลังงานทดแทนอย่าง
ยั่งยืน
- มีการผลิตพลังงานหมุนเวียนได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
- ผลิตพลังงานในพื้นที่ได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของความ
ต้องการพลังงาน
- มีระบบจัดเก็บพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่ขนาดไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 30 ของพลังงานที่ผลิตในพื้นที่
3.3 ความครอบคลุมของระบบการจ่าย
พลังงาน และการส่งเสริมการใช้พลังงานที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- ผลิตพลังงานความเย็นหรือความร้อนจากส่วนกลางครอบคลุม
พื้นที่ใช้สอยของสถานประกอบการ บ้านเรือน หรืออาคารประเภท
ต่าง ๆ ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
- ออกแบบระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่รองรับการใช้งานยานยนต์
ที่รักษาสิ่งแวดล้อมได้ครอบคลุมประชากรในพื้นที่ ในสัดส่วนไม่น้อย
กว่าร้อยละ 50
3.4 การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก - มีแผน/มาตรการในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก
- มีมาตรการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่าร้อยละ 20 ของ
ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในสถานะปกติ ภายใน 5 ปีแรกของ
โครงการ
- สามารถลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของ
ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในสถานะปกติ (Business As Usual,
BAU)
3.5 ส่งเสริมพัฒนาระบบเครือข่ายอัจฉริยะ
(Smart Grid System)
- มีระบบการจัดการพลังงาน สำหรับพื้นที่ต่าง ๆ ครอบคลุมพื้นที่
เมืองในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
- มีการติดตั้งอุปกรณ์พื้นฐานสำหรับระบบโครงข่ายอัจฉริยะ
(Smart Grid System) เช่น มิเตอร์อัจฉริยะ (Smart Meters) แบบ
AMI (Advance
Metering Infrastructure) ทำงานร่วมกับชุดส่งสัญญาณ
อินเทอร์เน็ต และส่งรายงานเข้าศูนย์ข้อมูลในรูปแบบ Real time,
โครงข่ายระบบไฟฟ้าย่อย (Micro-grid) ที่เป็นอิสระจากโครงข่าย
ไฟฟ้าหลัก (Island Mode) ที่ทำงานได้ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
- มีอาคาร/สถานประกอบการ/หน่วยงาน ที่ใช้ระบบ Smart
Home/Smart Building แบบร้อยละ 100
8
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ลักษณะการเป็นเมือง
อัจฉริยะ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
- นำเสนอนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้าน Smart Energy
4. ด้านชุมชนอัจฉริยะ (Smart
Living)
4.1 เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
ข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
- มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลสุขภาพ และเปิดโอกาสให้
ประชาชนเข้าถึงข้อมูลด้านส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพ
- มีระบบช่องทางในการสื่อสาร 2 ทาง เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของ
ประชาชน
- มีระบบเครือข่ายสำหรับส่งต่อผู้ป่วย ระบบนัดหมาย และระบบ
แจ้งเตือนการนัดหมายที่ทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างรวดเร็ว
4.2 มีระบบบริการสุขภาพที่ทั่วถึงครอบคลุม
และคุ้มค่า
- มีศูนย์ดูแลสุขภาพสำหรับประชากรทุกกลุ่ม (กลุ่มอนามัยเจริญ
พันธ์ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้พิการ)
- มีระบบการจัดการเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขให้เพียงพอต่อ
จำนวนประชากรในชุมชน
4.3 สภาพแวดล้อมของเมืองที่น่าอยู่อาศัย
และถูกสุขลักษณะ
- มีเครื่องมือในการวัดผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสุขภาพและ
แจ้งเตือนประชาชน เช่น อุณหภูมิ คุณภาพอากาศ คลื่นความร้อน
- มีโครงการด้านพัฒนาสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของชุมชน
4.4 การพัฒนาระบบและกายภาพของเมือง
เพื่อความปลอดภัยในการดำรงชีวิตของ
ประชาชน
- มีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากสาธารภัยต่าง ๆ ของ
เมือง และเปิดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้
- มีการวางผัง วางแผน และออกแบบระบบป้องกัน
สาธารณภัยแก่ประชาชน
- มีระบบและอุปกรณ์เฝ้าระวังความปลอดภัย ที่สามารถแจ้งเตือน
ให้ประชาชนทราบได้ แบบ Real Time City Alerts
4.5 การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขั้น
พื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ
- มีระบบสื่อสาร 2 ทาง และระบบ Feed back ปัญหา
สาธารณูปโภคพื้นฐานของเมือง (ไฟฟ้า ประปา อินเทอร์เน็ต
โทรคมนาคม) เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ทันท่วงที และเพื่อการ
วางแผนปรับปรุงระบบ
5. ด้านเศรษฐกิจอัจฉริยะ
(Smart Economy)
5.1 การส่งเสริมการขยายตัวของธุรกิจใหม่ - มีแผนพัฒนา/แผนบูรณาการทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดความคุ้มค่า
ทางเศรษฐกิจและการเงิน
- มีการจัดตั้งศูนย์บริการ ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้ประกอบการ
ชุมชน วิสาหกิจชุมชน ในการดำเนินธุรกิจ
- มีแผนการสร้าง Business Eco-system ที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ
ชุมชน/ผู้ประกอบการท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับความต้องการของคน
ในพื้นที่
- จำนวนผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่เมืองอัจฉริยะ
9
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ลักษณะการเป็นเมือง
อัจฉริยะ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
5.2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน
เศรษฐกิจดิจิทัล
- มีการจัดให้มีระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล Big data ระบบ
หรืออุปกรณ์สำหรับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ
- สัดส่วนเงินลงทุนของผู้ประกอบการที่ลงทุนในเทคโนโลยี/
โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล ที่เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ
5.3 การส่งเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้าง
Value added
- มีแผนการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการจัดเก็บและวิเคราะห์
ข้อมูลใน Big data และ/หรือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
- มีการพัฒนาแรงงานให้มีทักษะฝีมือสูง เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต/
การค้า/บริการ
- มีข้อเสนอโครงการสร้างนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มมูลค่าทาง
เศรษฐกิจได้โดยใช้ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย
5.4 การประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนา
ธุรกิจ ให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจใน
ระยะยาวอย่างยั่งยืน
- มีแผนสร้างกลไกการขับเคลื่อนการเสริมสร้างธุรกิจที่ยั่งยืนอย่าง
เป็นรูปธรรม
- มีการส่งเสริมการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Digital payment
system)
- จำนวนผู้ประกอบการ/ธุรกิจที่เน้นการสร้างรายได้บนโครงสร้าง
พื้นฐานทางดิจิทัล
6. ด้านประชากรอัจฉริยะ
(Smart People)
6.1 พลเมืองมีความรู้และทักษะทาง
เทคโนโลยีที่สามารถเข้าสู่ระบบแรงงานที่มี
คุณภาพ
- มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนา
อาชีพ
- มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดหางาน ที่สามารถจับคู่ผู้
จัดหาและผู้ต้องการงานในพื้นที่ ได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว
6.2 สร้างสภาพแวดล้อมและเพิ่มช่องทางใน
การเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด
- มีแผนการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน Cyber และความรู้
เกี่ยวกับภัย Cyber
- มีระบบบูรณาการช่องทางเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งข้อมูลทาง
วิชาการ และทางวิชาชีพ (หอสมุดประชาชนออนไลน์ อบรมวิชาชีพ
ออนไลน์)
- จำนวนของการเกิด Digital Content ด้าน E-Learning)
- มีโครงการด้านการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดย
ใช้สื่อและเทคโนโลยี
- มีการให้บริการพื้นที่สร้างสรรค์ (Creative space) ทั้งในเชิงพื้นที่
เช่น Co-working space และเชิงออนไลน์ เช่น กลุ่มเพื่อแสดง
ความสามารถทางศิลปะ การพัฒนานวัตกรรม
6.3 ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมสร้าง
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม
- สัดส่วนพื้นที่ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับทุกคน ซึ่งรวมถึงผู้
พิการ เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ ชาวต่างชาติ นักเที่ยว ศาสนา ตาม
หลัก Universal Design
10
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ลักษณะการเป็นเมือง
อัจฉริยะ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด
- ช่องทางที่พลเมืองสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความ
คิดเห็น แจ้งปัญหาในการใช้บริการ
- สัดส่วนของประชากรที่ใช้ e-Governance service /e-Health
care service
6.4 การส่งเสริมพัฒนาทักษะอาชีพ - จำนวนโครงการ/หลักสูตรการอบรมด้านดิจิทัล หรือเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาอาชีพ
- จำนวนกลุ่มอาชีพทางสังคมออนไลน์ ที่มีกิจกรรมแลกเปลี่ยน
ความรู้/ทักษะ ในการพัฒนาอาชีพ
6.5 การพัฒนานวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการใช้
ชีวิตของประชาชนที่ดี
- มีนวัตกรรมใหม่ที่เข้ามาสนับสนุนการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาดของ
ประชาชนในเมือง (อย่างน้อย 1 นวัตกรรม)
7. ด้านการบริหารจัดการ
อัจฉริยะ (Smart
Governance)
7.1 การเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ และส่งเสริม
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะ
- มีหลักฐานที่แสดงถึงข้อตกลงรความร่วมมือระหว่างภาครัฐในการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อยกระดับคุณภาพบริการภาครัฐ
- มีการระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างชัดเจนครบถ้วน
- มีแผนส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่ภาครัฐให้การสนับสนุนชัดเจน มี
รูปธรรม สามารถวัดผลได้
7.2 ส่งเสริมให้มีการเข้าถึงข้อมูลและบริการ
ภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว ช่วยให้
ประชาชนสามารถพบส่วนราชการจากทุกที่
ได้อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม
- มีระบบขอรับบริการภาครัฐที่ทันสมัย รวดเร็ว ประหยัดเวลา ลด
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เช่น ระบบนัดหมายจองสิทธิ์ใช้บริการ
ล่วงหน้า ระบบส่งเรื่อง/รับเรื่องผ่านช่องทางบริการออนไลน์ ระบบ
ให้บริการเบื้องต้นเพื่อประหยัดเวลาเมื่อถึงหน้าจุดรับบริการ
- มีระบบสื่อสาร 2 ทาง ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริการภาครัฐ
7.3 การบริหารจัดการมี
ธรรมาภิบาล โปร่งใสตรวจสอบได้
- มีการเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบข้อมูลเปิด (Open Government
Data) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลภาครัฐได้อย่างสะดวก ถูกต้อง
รวดเร็ว และเกิดการนำข้อมูลเปิดจากภาครัฐ มาใช้ในการต่อยอด
นวัตกรรม
- มีตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านธรรมาภิบาล โดยได้รับการประเมินจาก
หน่วยงานภาคนอก หรือได้รายงานผลการปฏิบัติงานต่อหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
- มีหลักฐานชัดเจนว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ/ให้
ความเห็นชอบ แผนปฏิบัติการในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน
7.4 มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สร้าง
นวัตกรรมการบริการ เพื่อพัฒนาการเข้าถึง
บริการภาครัฐ ให้มีความรวดเร็ว ลดปัญหาใน
การบริหารจัดการ
- มีข้อเสนอนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้าน Smart Governance ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
- มีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่สามารถให้บริการดิจิทัลภาครัฐเพื่อ
ประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป
11
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ในรายละเอียดการร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ได้ลงรายละเอียดเป้าหมาย แนว
ทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด รายชื่อโครงการหรือกิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 รายละเอียดร่างร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์
เป้าหมาย
แนวทางการ
ดำเนินงาน
ตัวชี้วัด
รายชื่อ
โครงการ/
กิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนิน งาน
หน่วยงานผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
(คณะทำงาน)
1. การเพิ่ม
ประสิทธิภาพ
ในการบริหาร
จัดการขยะ
ต้นน้ำ
1. รณรงค์ให้
ตระหนักถึงการ
แยกขยะเปียก-ขยะ
แห้งในครัวเรือน
2. สื่อสารช่องทาง
ในการนำขยะที่
แยกแล้วไปเป็น
รายได้กลับคืน
กลางน้ำ
3. ใช้แอปพลิเคชัน
ในการเก็บข้อมูล
ขยะที่แยกในแต่ละ
ครัวเรือนและนำไป
เป็นรายได้กลับคืน
4. หาตลาดรับซื้อ
และเพิ่มช่องทางใน
การจูงใจให้ความ
ร่วมมือ
ปลายน้ำ
5. โรงผลิต RDF ได้
วัตถุดิบที่มีคุณภาพ
เข้าสู่การผลิต
6. เกิดความร่วมมือ
ในการคัดแยกขยะ
ในครัวเรือนเพิ่ม
มากขึ้น
1. ได้แอปพลิเค
ชันช่วยส่งเสริม
การแยกขยะใน
ครัวเรือน
2. ครัวเรือนที่
เข้าร่วมโครงการ
ร้อยละ 30 ของ
แต่ละโครงการ
บ้านจัดสรรที่เข้า
ร่วมโครงการ
โครงการสร้าง
แอปพลิเคชัน
และรณรงค์
ช่วยส่งเสริมใน
การแยกขยะ
เปียก-ขยะแห้ง
ในครัวเรือน
2566-2570 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสาน
1. สำนักงาน
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
จังหวัดนครราชสีมา
2. สำนักงาน
พลังงานจังหวัด
นครราชสีมา
3. สำนักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัด
นครราชสีมา
4. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล
อีสาน
5. มหาวิทยาลัยราช
ภัฏนครราชสีมา
6. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี
7.สถาบัน
การศึกษาในจังหวัด
นครราชสีมา
8. สำนักงาน
สิ่งแวดล้อมภาคที่
11 จังหวัด
นครราชสีมา
9. สำนักงานโยธาธิ
การและผังเมือง
จังหวัดนครราชสีมา
10.โครงการ
ชลประทาน
12
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
เป้าหมาย
แนวทางการ
ดำเนินงาน
ตัวชี้วัด
รายชื่อ
โครงการ/
กิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนิน งาน
หน่วยงานผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
(คณะทำงาน)
นครราชสีมา
11.สำนักงาน
ส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิ่นจังหวัด
นครราชสีมา
12.สำนักงานเจ้าท่า
ภูมิภาคที่ 7 สาขา
นครราชสีมา
13.องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด
นครราชสีมา
14.สำนักงาน
เทศบาลนคร
นครราชสีมา
15.สภาอุตสาหกรรม
จังหวัดนครราชสีมา
16.หอการค้าจังหวัด
นครราชสีมา
17.สมาคม
อสังหาริมทรัพย์
จังหวัดนครราชสีมา
18.เครือข่าย
อาสาสมัครพิทักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
หมู่บ้าน
19.สำนักงานเกษตร
จังหวัดนครราชสีมา
20.สำนักงานป้องกัน
และบรรเทาสาธารณ
ภัยจังหวัด
นครราชสีมา
21.สำนักงาน
คณะกรรมการ
กิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์และ
13
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
เป้าหมาย
แนวทางการ
ดำเนินงาน
ตัวชี้วัด
รายชื่อ
โครงการ/
กิจกรรม
ระยะเวลา
ดำเนิน งาน
หน่วยงานผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
(คณะทำงาน)
กิจการโทรคมนาคม
แห่งชาติ เขต 23
(นครราชสีมา)
22.สำนักงานขนส่ง
จังหวัดนครราชสีมา
23.สำนักงาน
ตำรวจภูธรจังหวัด
นครราชสีมา
24.สำนักงานพัฒนา
ที่ดิน เขต 3
25.สำนักบริหาร
พื้นที่อนุรักษ์ที่ 7
(นครราชสีมา)
26.สำนักจัดการ
ทรัพยากรป่าไม้ที่ 8
(นครราชสีมา)
27.สำนักทรัพยากร
น้ำภาค 5
28.สำนักทรัพยากร
น้ำบาดาล เขต 5
2. ระดับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะเสร็จสมบูรณ์รวมถึงสามารถนำไปปฏิบัติได้
อย่างมีประสิทธิภาพต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ
หน่วยงานเอกชน และสถาบันการศึกษา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม ต่างมีบทบาทและระดับการมีส่วนร่วม
ดังรายละเอียดในตารางที่ 4
14
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
ตารางที่ 4 บทบาทและระดับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
องค์กร / บุคคลในการมีส่วนร่วม
ระดับการมีส่วนร่วม
รายละเอียดการมีส่วนร่วม
รับฟัง แสดงความ
คิดเห็น
ร่วม
ดำเนินการ
ภาครัฐ
สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา และ
หน่วยงานรับผิดชอบเป็นคณะทำงานทั้ง 7
Smart City Approach
 เอื้อเชิงกระบวนการขับเคลื่อนการยกร่างแผนยุทธศาสตร์
เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมาจากการมีส่วนร่วมของ 3
ภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา
ทั้งนี้ได้กำหนดให้ส่วนราชการที่มีพันธกิจสอดคล้องกับ
เนื้อหาทั้ง 7 ด้านของความเป็นเมืองอัจฉริยะเป็นประธาน
คณะกรรมการแต่ละด้าน ได้แก่ สำนักงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครราชสีมเป็น
ประธานคณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ รับผลผลิต
ผลลัพธ์ของโครงการวิจัยสู่การบรรจุเข้าแผนยุทธศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ ซึ่งเป็นเงื่อนไขหลักของการขอ
พิจารณาประกาศความเป็นเมืองอัจฉริยะ
สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา  เลขานุการคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมือง
อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ประสานการมีส่วนร่วมในการ
จัดทำยกร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะฯ แต่ละด้าน
ตลอดจนร้อยเรียงเป็นองค์รวมของจังหวัดนครราชสีมา
สำนักงานเทศบาลนครนครราชสีมา  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเตรียมการและรายละเอียด
แผนยุทธศาสตร์เทศบาลฯ เพื่อรองรับผลผลิต ผลลัพธ์ของ
โครงการวิจัยสู่การขยายผลอย่างครอบคลุมทั้งเมืองโคราช
ภาคเอกชน
สมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัด
นครราชสีมา
 หุ้นส่วนการพัฒนาริเริ่มการพัฒนากรอบแนวคิดความ และ
ร่วมลงทุน ระบบแพลตฟอร์ม ตลอดจนลงทุนพัฒนา
โครงการ Compost Bin ถังย่อยขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ย
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมแทรกแซงพฤติกรรมผู้ใช้ระดับ
ครัวเรือน เพื่อให้การประยุกต์ใช้ Smart Recycle Bank
ผลผลิตของโครงการวิจัยมีประสิทธิภาพต่อพฤติกรรมการ
คัดแยกขยะรีไซเคิลมากขึ้น และนำไปสู่การรวบรวม
ปริมาณขยะรีไซเคิลระดับต้นทาง ทั้งนี้ประสิทธิภาพจะแปร
ผันตามกับปริมาณจำนวน Smart Recycle Bank ติดตั้ง
ณ พื้นที่ต่าง ๆ และจะมี แนวโน้มขยะมูลฝอยสู่พื้นที่ฝัง
กลบ ลดลง และอาจจะสามารถไประดับเหลือศูนย์ (Zero
Waste Ecosystem)
15
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
องค์กร / บุคคลในการมีส่วนร่วม
ระดับการมีส่วนร่วม
รายละเอียดการมีส่วนร่วม
รับฟัง แสดงความ
คิดเห็น
ร่วม
ดำเนินการ
หมู่บ้านเป้าหมาย ได้แก่ THE4REST, The
Sixnature, The House, RISE Condo
และเครือข่ายสมาคมอสังหาริมทรัยพ์
จังหวัดนครราชสีมา
 เจ้าของหมู่บ้านจัดสรร ร่วมรับฟัง เกี่ยวกับแนวคิดการใช้
ผลผลิต โครงการวิจัย สู่แนวคิดขยะเหลือศูนย์ โอกาสการ
สร้างรายได้หรือการมีส่วนร่วมจะระบบแพลตฟอร์มของ
โครงการผ่าน Smart Recycle Bank ตลอดจนการอธิบาย
SWOT และ Business Model Canvas ของ การ
ลงทุนระบบให้กับหมู่บ้าน
สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา  ร่วมออกแบบระบบนิเวศทางธุรกิจในการประยุกต์ใช้
แพลตฟอร์มและ Smart Recycle Bank ผลผลิตของ
โครงการวิจัย ตลอดจนร่วมขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ
และตอบตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ
ตลอดจนเตรียมการร่วมลงทุนในรูปแบบบริษัทพัฒนาเมือง
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา  ร่วมให้คำแนะนำขั้นตอนการผลิตซ้ำของ Smart Recycle
Bank ในรูปแบบ Mass Production และการให้
คำแนะนำเกี่ยวกับกระบวนการทดลองต้นแบบประยุกต์ใช้
กับ พฤติกรรมผู้ใช้
บริษัท สคาเวนเจอร์ และพัฒนาเมือง
จำกัด
 กลุ่มนักลงทุนชาวโคราชจากสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัด
นครราชสีมา สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา และ
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา เตรียมการระดมทุน
เพื่อขยายผลครอบคลุมทั้งเมือง สู่โมเดลธุรกิจด้าน
สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ด้านขยะเหลือศูนย์
บริษัท นครราชสีมาพัฒนาเมือง  บริษัทแพลตฟอร์มด้านการพัฒนาเมืองโคราช รวมตัวจาก
กลุ่มนักลงทุน ชาวโคราชจากสมาคม อสังหาริมทรัพย์
จังหวัดนครราชสีมา สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา
และสภาอุตสาหกรรมจังหวัด นครราชสีมา พยายามพัฒนา
แพลตฟอร์มด้านต่าง ๆ ครอบคลุมวิถีชีวิตของคนเมือง ร่วม
ออกแบบระบบนิเวศแพลตฟอร์มของ โครงการวิจัย
ตลอดจนให้ใช้โครงสร้างเชิงระบบแพลตฟอร์มขยะเหลือ
ศูนย์ของโครงการวิจัย เพื่อเตรียมขยายผล
บริษัท คอมโพสบิท นครราชสีมา จำกัด  องค์ประกอบสำคัญอีกหนึ่งประเด็นที่ไม่ได้อยู่ในเนื้อหา
โครงการวิจัย แต่เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศขยะเหลือ
ศูนย์ เอื้อพฤติกรรมผู้ใช้ในระดับครัวเรือนในการคัดแยก
ขยะอินทรีย์กับขยะอนินทรีย์ ซึ่ง Compost Bin จะทำ
หน้าที่แยกขยะอินทรีย์ให้กับขยะอนินทรีย์เพื่อไปสู่
กระบวนการพิจารณาคัดแยกและรวบรวมขยะรีไซเคิล
16
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
องค์กร / บุคคลในการมีส่วนร่วม
ระดับการมีส่วนร่วม
รายละเอียดการมีส่วนร่วม
รับฟัง แสดงความ
คิดเห็น
ร่วม
ดำเนินการ
บริษัท JVIS จำกัด  หุ้นส่วนการพัฒนาแพลตฟอร์มหลัก และลงทุนโครงสร้าง
พื้นฐานด้าน Cloud Computing and Programming
โดยมีผลผลิตโครงการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งเข้าเชื่อมโยงระบบ
นิเวศแพลตฟอร์ม
เชิดชัย คอร์ปเปอร์เรชัน จำกัด  ร่วมเตรียมพร้อมในการผลิต Smart Recycle Bank แบบ
Mass Production ด้วยเทคโนโลยีเดียวกันกับการผลิตรถ
บัส
RISE condo  ผู้ประกอบการคอนโด พิจารณา ผลผลิตงานวิจัยและพร้อม
ประยุกต์ใช้ในโครงการอสังหาริมทรัพย์ของตนเอง ทั้งนี้ได้
พัฒนาแอพพลิเคชันระดับผู้ใช้เตรียมรอเพิ่มโมดูล
Scavenger ที่เป็นผลผลิต โครงการวิจัย
สถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน  สนับสนุนสถานที่วิจัย ตลอดจนสนับสนุนการพิจารณาขอ
งบประมาณสนับสนุนประจำปี 2564 ลงทุนห้องศูนย์
วิทยาการสารสนเทศเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ปัจจุบัน
ได้ดำเนินการแล้วเสร็จเชื่อมโยงกับกลไกระบบสารสนเทศ
เมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่เป็นผลผลิตของ
โครงการวิจัย และปัจจุบันได้มีหนังสือจากผู้ว่าราชการ
จังหวัดนครราชสีมา ให้ดำเนินการเป็นสำนักงานเมือง
อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา มีหน้าที่ประสานการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการที่เกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาเพื่อนำไปสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะโคราช
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา  ร่วมดำเนินการโครงการวิจัยย่อยที่ 3 เกี่ยวกับการประเมิน
การดำเนินโครงการวิจัย ตลอดจนการวิเคราะห์ประเด็น
การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองเพื่อนำไปสู่การกำหนดตัวชี้วัด
และโครงการในแผนยุทธศาสตร์ระดับต่าง ๆ ของเมือง
โคราช และจังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี  เลขานุการสถาบันเครือข่ายเมือง อัจฉริยะจังหวัด
นครราชสีมาช่วยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน
จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การยกร่างแผน
ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการคู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
การทำโปรเจค
การทำโปรเจคการทำโปรเจค
การทำโปรเจคChaiwoot Phrombutr
 
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์BooBoo ChillChill
 
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Kanyarat Okong
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะChamp Wachwittayakhang
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการบูม บูม
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของkessara61977
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2Prachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการคู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
การทำโปรเจค
การทำโปรเจคการทำโปรเจค
การทำโปรเจค
 
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
 
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
 

Similar to กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...Saran Yuwanna
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2Prachyanun Nilsook
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailandSupawadee Bunnual
 
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)Chuta Tharachai
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...Dr.Choen Krainara
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (20)

ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 2
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 

More from Sarit Tiyawongsuwan

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfSarit Tiyawongsuwan
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandSarit Tiyawongsuwan
 

More from Sarit Tiyawongsuwan (20)

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
 
02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City
 
01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
 
Urban Heat Island
Urban Heat IslandUrban Heat Island
Urban Heat Island
 
10 Conclusion
10 Conclusion10 Conclusion
10 Conclusion
 

กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

  • 1. 1 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ชุดความรู้ที่ 5 กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ชุดความรู้ด้านกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แบ่งการอธิบายเป็น 2 หัวข้อ ได้แก่ 1) แนวคิดและการออกแบบกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม 2) กระบวนการร่างแผนพัฒนาเมือง อัจฉริยะ มีรายละเอียดได้นี้ 1) แนวคิดและการออกแบบกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม การจัดทำแผนพัฒนาที่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรเป็นแผนที่ได้มาจากการมีส่วนร่วม ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนร่วมกัน เพื่อนําไปสู่การสร้างเป้าหมายร่วมกัน ที่ชัดเจน อันจะนําไปสู่การกําหนดรายละเอียดของแผนพัฒนาเมืองที่มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม ดังแสดงในภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดทำร่างแผนพัฒนาเมืองโคราช อัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ 1. ระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร 2. ระดับให้ความคิดเห็น ได้แก่ การแสดงความคิดเห็น และการ ให้ข้อมูลบริบทและพื้นที่ 3. ระดับร่วมดำเนินการ ได้แก่ การมีบทบาทในการจัดทำ ได้ร่วมตัดสินใจ และเป็นหุ้นส่วนในการ ดำเนินงาน
  • 2. 2 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้แผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะจากการมีส่วนร่วม ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำหรับเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายเพื่อขับเคลื่อนให้จังหวัดนครราชสีมา สามารถบริหารจัดการเรื่องขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดทำ แผนพัฒนาเมืองที่ก่อให้เกิดการนำเสนอรูปแบบที่เป็นรูปธรรมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง และเป็นที่ยอมรับของ ทุกภาคส่วน ตารางที่ 1 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบโครงการวิจัย วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ 1) เพื่อจัดทำแผนพัฒนาเมือง โคราชอัจฉริยะด้าน สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ยกร่างแผนยุทธศาสตร์เมือง อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา โดย มีประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ และเตรียมการขยายผลใน โครงการที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด ขยะเหลือศูนย์ (ดูภาคผนวก ก ประกอบ) ยกร่างแผนยุทธศาสตร์จังหวัด นครราชสีมา 5 ปี พ.ศ.2566- 2570 โดยมีตัวชี้วัดด้านการ ยกระดับความเป็นเมืองอัจฉริยะ และโครงการกิจกรรมหลักที่ เกี่ยวข้องกับแนวคิดขยะเหลือศูนย์ อยู่ในแผนฯ และสามารถต่อยอด ประยุกต์ครอบคลุมความเป็นเมือง อัจฉริยะทั้ง 7 ด้านได้ (ดู ภาคผนวก ข ประกอบ) ยกระดับคุณภาพของเมือง สอดคล้องตามตัวชี้วัดความเป็น เมืองอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน โดย สำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัล ได้แก่ - Smart Environment ลด CO2 Emission มากกว่า 1% ต่อปี - Smart Energy เพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน หรือใช้พลังงานทดแทนใน พื้นที่ มากกว่า 1% ต่อปี - Smart Economy เพิ่ม รายได้รายปีต่อหัวประชา การ มากกว่า 250,000 บาท - Smart Living ค่าดัชนีสุข ภาวะ มากกว่า 80% ต่อปี - Smart People สัดส่วน จำนวนประชาชน มากกว่า 70% ในพื้นที่มี Digital Literacy - Smart Mobility ความพึง พอใจต่อขนส่งสาธารณะหรือ ระบบขนส่งจราจรที่สะดวก มากกว่า 60% ผู้เสียชีวิตจาก
  • 3. 3 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ การเดินทางบนถนน น้อย กว่า 12 คน ต่อ ประชากร 1 แสนคน (หรือลดลง 50% ต่อปี) - Smart Governance สัดส่วนประชาชนเข้าถึง บริการข้อมูลข่าวสารผ่าน ช่องทางดิจิทัล มากกว่า 60% สัดส่วนประชาชนมี ส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ บริการสาธารณะมากกว่า 60% 2) เพื่อประเมินผลการมีส่วน ร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการทำแผนพัฒนาเมือง โคราชอัจฉริยะ ในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ระดับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ เสียในการพัฒนากลไกระบบ สารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผน และพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ เป็นแบบหุ้นส่วนร่วมดำเนินการ เกิดเครือข่ายองค์กรเข้าร่วมเพิ่ม มากขึ้น - เครือข่ายบูรณาการแผน ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ - โมเดลธุรกิจต่อยอดจาก ผลผลิตการวิจัยเพิ่มขึ้น เกิดกลุ่มเครือข่ายจัดทำแผน เฉพาะด้านเมืองอัจฉริยะเพิ่มมาก ขึ้นครอบคลุมทั้ง 7 ด้าน ตาม กรอบแนวคิดของสำนักงาน เศรษฐกิจดิจิทัล ส่งผลต่อการ พัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะได้มี คุณภาพและรวดเร็วมากขึ้น 2) กระบวนการร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะแบ่งการอธิบายเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย 1) ร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ จังหวัดนครราชสีมากับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ และ 2) ระดับการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา และประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ การยกร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ และ ประเมินการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยใช้การประชุมกลุ่มเฉพาะ (Focus group) 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 ประชุมเพื่อยกร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ และประเมิน
  • 4. 4 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และครั้งที่ 2 ประชุมเพื่อทำประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่อร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ ภาพที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา โดยมีรองผู้ว่าราชการ เป็น ประธาน ท่ามกลางผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันอุดมศึกษา ภาพที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติประชาวิจารณ์และทบทวนร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา โดยมี รองผู้ว่าราชการ เป็นประธาน ท่ามกลางผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันอุดมศึกษา การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทั้ง 2 ครั้ง สามารถสรุปร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ทั้ง 7 ด้านของความเป็นเมืองอัจฉริยะตามกรอบแนวคิดของสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัล มีรายละเอียดดังตารางที่ 2 ซึ่งจะ นำไปสู่การนำเสนอให้คณะกรรมการสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัลพิจารณาเสนอประกาศเป็นเมืองโคราชอัจฉริยะ เพื่อ ส่งเสริมและกระตุ้นด้านเศรษฐกิจและการลงทุนของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI: Thailand Board of Investment) และมีงบประมาณส่งเสริมกลุ่มผู้ประกอบการดิจิทัลอีกด้วย (Digital Provider)
  • 5. 5 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ สำหรับร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครรราชสีมา พ.ศ. 2566 ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) เป้าหมายของร่างแผนฯ การจัดการขยะ มูลฝอยชุมชนอย่างครบวงจรถูกต้องตามหลักวิชาการ และมีนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้าน Smart Environment ตารางที่ 2 ร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครรราชสีมา พ.ศ. 2566 ลักษณะการเป็นเมือง อัจฉริยะ เป้าหมาย ตัวชี้วัด 1. ด้านคมนาคมอัจฉริยะ (Smart Mobility) 1.1 ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะมีความ ปลอดภัย - มีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยในพาหนะของระบบขนส่งสาธารณะ ครบถ้วน ตามมาตรฐาน (CCTV, ค้อนทุบกระจก, อุปกรณ์ดับเพลิง, ประตู/ทางออกฉุกเฉิน, ระบบ GPS ควบคุมความเร็ว) - มีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยในอาคาร/สถานี ขนส่งสาธารณะ ครบถ้วน ตามมาตรฐาน 1.2 ความสะดวกและปลอดภัยในโครงข่าย คมนาคม - สัดส่วนของพื้นที่ที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับการฝ่าฝืนด้าน จราจรแบบอัตโนมัติ (CCTV, เครื่องตรวจจับความเร็ว) - ระดับของการบังคับใช้ระบบควบคุมการฝ่าฝืนระเบียบจราจรต่าง ๆ แบบอัตโนมัติ - มีการฝึกซ้อมแผนด้านความปลอดภัยและสถานการณ์ฉุกเฉินของ ระบบคมนาคมขนส่งอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - มีแผนการบริหารจัดการขนส่งสินค้า และศูนย์ข้อมูลการเดินรถ ขนส่งสินค้าในจังหวัด 1.3 การส่งเสริมการใช้ยานพาหนะลดมลพิษ (Green Mobility) - มีแผนการพัฒนาทางเท้า/ทางจักรยาน/จักรยานไฟฟ้า - สัดส่วนของผู้ใช้งานทางเดินเท้า/ทางจักรยาน/จักรยานไฟฟ้า - สัดส่วนของจำนวนรถในพื้นที่ที่ลงทะเบียนกับพื้นที่พัฒนาเมือง อัจฉริยะ ที่ใช้ยานพาหนะประหยัดพลังงานและปล่อยมลพิษต่ำ - มีสถานีอัดประจุในพื้นที่/ สถานีชาร์ตรถพลังงานไฟฟ้า 1.4 การสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม เมือง อัจฉริยะ ด้าน Smart Mobility ให้เกิดขึ้นได้ อย่างเป็นรูปธรรม - มีข้อเสนอเชิงนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่ง ให้มีความอัจฉริยะมากขึ้น (ยกตัวอย่างเช่น จุดแสดงสถานะที่จอด รถแล้วแสดงผลแบบ Real Time ในสถานที่สำคัญ ระบบจองตั๋ว ขนส่งออนไลน์เพื่อลดความหนาแน่นแออัดบริเวณสถานีขนส่ง , ระบบแสดงแผนที่จราจรแบบอัจฉริยะที่สะท้อนสถานะการณ์บน ท้องถนน แบบ Real Time และแบบคาดการณ์ล่วงหน้าเพื่อการ ตัดสินใจการเดินทาง ฯลฯ) 1.5 การเข้าถึงโครงข่ายคมนาคมอัจฉริยะ การบริการด้านคมนาคมขนส่ง และการ บริการข้อมูล - สัดส่วนของเส้นทางขนส่งสาธารณะที่มีการติดตั้งระบบ real time - มีระบบการบริการข้อมูลเกี่ยวกับระบบการขนส่งสาธารณะ (Information System)
  • 6. 6 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ลักษณะการเป็นเมือง อัจฉริยะ เป้าหมาย ตัวชี้วัด - มีระบบจ่ายค่าบริการขนส่งไร้เงินสด เพื่อลดการรอคิวและการ สัมผัส - สัดส่วนของจำนวนถนนที่มีระบบการให้ข้อมูลจราจรอัตโนมัติ - จำนวนช่องทางการให้ข้อมูลการเดินทางในรูปแบบเทคโนโลยี สารสนเทศ 2. ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) 2.1 การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างครบ วงจรถูกต้องตามหลักวิชาการ - มีระบบการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง และขยะตกค้าง อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ - มีนวัตกรรมในการจัดการขยะได้อย่างอัจฉริยะ 2.2 มีการพัฒนาระบบการจัดการน้ำเสีย อย่างมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน - มีฐานข้อมูลการปล่อยน้ำเสีย และระบบวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้ง - มีการส่งเสริมให้อาคารบ้านเรือน ร้านค้า สถานประกอบการ ฯลฯ บำบัดน้ำเสียขันต้น โดยติดตั้งถังดักไขมัน ถังบำบัดน้ำเสีย ฯลฯ - มีระบบจัดการน้ำเสียชุมชน - พื้นที่ให้บริการระบบบำบัดน้ำเสียรวมชุมชน ครอบคลุมพื้นที่ ชุมชนมากกว่าร้อยละ 50 2.3 มีคุณภาพอากาศที่ไม่ส่งผลกระทบต่อคน ในชุมชน - มีการจัดให้มีระบบขนส่งสาธารณะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - มีการส่งเสริมการเดินทางทางเลือก - มีระบบติดตามคุณภาพอากาศ ฝุ่น ควัน มลพิษ และระบบจัดการ เมื่อเกิดข้อร้องเรียน 2.4 เมืองมีพื้นที่สีเขียวเพียงพอและได้ มาตรฐาน - มีสัดส่วนของพื้นที่สีเขียวสาธารณะที่ประชาชนเข้าถึง/ใช้บริการได้ ไม่น้อยกว่า 10 ตารางเมตร/คน 2.5 มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มี ประสิทธิภาพ - มีแผนจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ภูมินิเวศ ภูมิทัศน์ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและปลอดภัย - มีแผนหรือระบบเฝ้าระวังภัยจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ภูมิอากาศ อุทกภัย - มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการปัญหามลพิษ และสิ่งแวดล้อม - มีเครือข่ายความร่วมมือการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง - มีระบบและการจัดการข้อร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้ง ทางด้าน ดิน น้ำ อากาศ มลพิษ ขยะ อุทกภัย เป็นต้น 2.6 ประชาชนมีวิถีและการบริโภคที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม - มีการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การ ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ถุงซ้ำ กล่องกระดาษแทนกล่องโฟม เป็นต้น - ประชาชนมีการใช้บริการจุดแยกขยะอัจฉริยะ เช่น แยกขยะรี ไซเคิลออกจากขยะทั่วไป เป็นต้น
  • 7. 7 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ลักษณะการเป็นเมือง อัจฉริยะ เป้าหมาย ตัวชี้วัด 2.7 มีนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้าน Smart Environment -มีข้อเสนอนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้าน Smart Environment อย่างเป็นรูปธรรม อย่างน้อย 1 โครงการ 3. ด้านพลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) 3.1 การบริหารจัดการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ - สัดส่วนของอาคารหรือสถานประกอบการที่เข้าร่วมมาตรการ จัดทำดัชนีการใช้พลังงานให้เป็นไปตามมาตรฐาน - 3.2 การพัฒนาระบบพลังงานทดแทนอย่าง ยั่งยืน - มีการผลิตพลังงานหมุนเวียนได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ผลิตพลังงานในพื้นที่ได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของความ ต้องการพลังงาน - มีระบบจัดเก็บพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่ขนาดไม่น้อยกว่าร้อย ละ 30 ของพลังงานที่ผลิตในพื้นที่ 3.3 ความครอบคลุมของระบบการจ่าย พลังงาน และการส่งเสริมการใช้พลังงานที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ผลิตพลังงานความเย็นหรือความร้อนจากส่วนกลางครอบคลุม พื้นที่ใช้สอยของสถานประกอบการ บ้านเรือน หรืออาคารประเภท ต่าง ๆ ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - ออกแบบระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่รองรับการใช้งานยานยนต์ ที่รักษาสิ่งแวดล้อมได้ครอบคลุมประชากรในพื้นที่ ในสัดส่วนไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 3.4 การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก - มีแผน/มาตรการในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก - มีมาตรการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่าร้อยละ 20 ของ ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในสถานะปกติ ภายใน 5 ปีแรกของ โครงการ - สามารถลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของ ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในสถานะปกติ (Business As Usual, BAU) 3.5 ส่งเสริมพัฒนาระบบเครือข่ายอัจฉริยะ (Smart Grid System) - มีระบบการจัดการพลังงาน สำหรับพื้นที่ต่าง ๆ ครอบคลุมพื้นที่ เมืองในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - มีการติดตั้งอุปกรณ์พื้นฐานสำหรับระบบโครงข่ายอัจฉริยะ (Smart Grid System) เช่น มิเตอร์อัจฉริยะ (Smart Meters) แบบ AMI (Advance Metering Infrastructure) ทำงานร่วมกับชุดส่งสัญญาณ อินเทอร์เน็ต และส่งรายงานเข้าศูนย์ข้อมูลในรูปแบบ Real time, โครงข่ายระบบไฟฟ้าย่อย (Micro-grid) ที่เป็นอิสระจากโครงข่าย ไฟฟ้าหลัก (Island Mode) ที่ทำงานได้ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง - มีอาคาร/สถานประกอบการ/หน่วยงาน ที่ใช้ระบบ Smart Home/Smart Building แบบร้อยละ 100
  • 8. 8 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ลักษณะการเป็นเมือง อัจฉริยะ เป้าหมาย ตัวชี้วัด - นำเสนอนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้าน Smart Energy 4. ด้านชุมชนอัจฉริยะ (Smart Living) 4.1 เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึง ข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม - มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลสุขภาพ และเปิดโอกาสให้ ประชาชนเข้าถึงข้อมูลด้านส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพ - มีระบบช่องทางในการสื่อสาร 2 ทาง เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของ ประชาชน - มีระบบเครือข่ายสำหรับส่งต่อผู้ป่วย ระบบนัดหมาย และระบบ แจ้งเตือนการนัดหมายที่ทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างรวดเร็ว 4.2 มีระบบบริการสุขภาพที่ทั่วถึงครอบคลุม และคุ้มค่า - มีศูนย์ดูแลสุขภาพสำหรับประชากรทุกกลุ่ม (กลุ่มอนามัยเจริญ พันธ์ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้พิการ) - มีระบบการจัดการเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขให้เพียงพอต่อ จำนวนประชากรในชุมชน 4.3 สภาพแวดล้อมของเมืองที่น่าอยู่อาศัย และถูกสุขลักษณะ - มีเครื่องมือในการวัดผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสุขภาพและ แจ้งเตือนประชาชน เช่น อุณหภูมิ คุณภาพอากาศ คลื่นความร้อน - มีโครงการด้านพัฒนาสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของชุมชน 4.4 การพัฒนาระบบและกายภาพของเมือง เพื่อความปลอดภัยในการดำรงชีวิตของ ประชาชน - มีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากสาธารภัยต่าง ๆ ของ เมือง และเปิดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้ - มีการวางผัง วางแผน และออกแบบระบบป้องกัน สาธารณภัยแก่ประชาชน - มีระบบและอุปกรณ์เฝ้าระวังความปลอดภัย ที่สามารถแจ้งเตือน ให้ประชาชนทราบได้ แบบ Real Time City Alerts 4.5 การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขั้น พื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ - มีระบบสื่อสาร 2 ทาง และระบบ Feed back ปัญหา สาธารณูปโภคพื้นฐานของเมือง (ไฟฟ้า ประปา อินเทอร์เน็ต โทรคมนาคม) เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ทันท่วงที และเพื่อการ วางแผนปรับปรุงระบบ 5. ด้านเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) 5.1 การส่งเสริมการขยายตัวของธุรกิจใหม่ - มีแผนพัฒนา/แผนบูรณาการทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดความคุ้มค่า ทางเศรษฐกิจและการเงิน - มีการจัดตั้งศูนย์บริการ ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้ประกอบการ ชุมชน วิสาหกิจชุมชน ในการดำเนินธุรกิจ - มีแผนการสร้าง Business Eco-system ที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ ชุมชน/ผู้ประกอบการท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับความต้องการของคน ในพื้นที่ - จำนวนผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่เมืองอัจฉริยะ
  • 9. 9 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ลักษณะการเป็นเมือง อัจฉริยะ เป้าหมาย ตัวชี้วัด 5.2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน เศรษฐกิจดิจิทัล - มีการจัดให้มีระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล Big data ระบบ หรืออุปกรณ์สำหรับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ - สัดส่วนเงินลงทุนของผู้ประกอบการที่ลงทุนในเทคโนโลยี/ โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล ที่เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ 5.3 การส่งเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้าง Value added - มีแผนการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการจัดเก็บและวิเคราะห์ ข้อมูลใน Big data และ/หรือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล - มีการพัฒนาแรงงานให้มีทักษะฝีมือสูง เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิต/ การค้า/บริการ - มีข้อเสนอโครงการสร้างนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจได้โดยใช้ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5.4 การประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนา ธุรกิจ ให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจใน ระยะยาวอย่างยั่งยืน - มีแผนสร้างกลไกการขับเคลื่อนการเสริมสร้างธุรกิจที่ยั่งยืนอย่าง เป็นรูปธรรม - มีการส่งเสริมการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Digital payment system) - จำนวนผู้ประกอบการ/ธุรกิจที่เน้นการสร้างรายได้บนโครงสร้าง พื้นฐานทางดิจิทัล 6. ด้านประชากรอัจฉริยะ (Smart People) 6.1 พลเมืองมีความรู้และทักษะทาง เทคโนโลยีที่สามารถเข้าสู่ระบบแรงงานที่มี คุณภาพ - มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนา อาชีพ - มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดหางาน ที่สามารถจับคู่ผู้ จัดหาและผู้ต้องการงานในพื้นที่ ได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว 6.2 สร้างสภาพแวดล้อมและเพิ่มช่องทางใน การเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด - มีแผนการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน Cyber และความรู้ เกี่ยวกับภัย Cyber - มีระบบบูรณาการช่องทางเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งข้อมูลทาง วิชาการ และทางวิชาชีพ (หอสมุดประชาชนออนไลน์ อบรมวิชาชีพ ออนไลน์) - จำนวนของการเกิด Digital Content ด้าน E-Learning) - มีโครงการด้านการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดย ใช้สื่อและเทคโนโลยี - มีการให้บริการพื้นที่สร้างสรรค์ (Creative space) ทั้งในเชิงพื้นที่ เช่น Co-working space และเชิงออนไลน์ เช่น กลุ่มเพื่อแสดง ความสามารถทางศิลปะ การพัฒนานวัตกรรม 6.3 ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมสร้าง สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม - สัดส่วนพื้นที่ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับทุกคน ซึ่งรวมถึงผู้ พิการ เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ ชาวต่างชาติ นักเที่ยว ศาสนา ตาม หลัก Universal Design
  • 10. 10 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ลักษณะการเป็นเมือง อัจฉริยะ เป้าหมาย ตัวชี้วัด - ช่องทางที่พลเมืองสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็น แจ้งปัญหาในการใช้บริการ - สัดส่วนของประชากรที่ใช้ e-Governance service /e-Health care service 6.4 การส่งเสริมพัฒนาทักษะอาชีพ - จำนวนโครงการ/หลักสูตรการอบรมด้านดิจิทัล หรือเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาอาชีพ - จำนวนกลุ่มอาชีพทางสังคมออนไลน์ ที่มีกิจกรรมแลกเปลี่ยน ความรู้/ทักษะ ในการพัฒนาอาชีพ 6.5 การพัฒนานวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการใช้ ชีวิตของประชาชนที่ดี - มีนวัตกรรมใหม่ที่เข้ามาสนับสนุนการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาดของ ประชาชนในเมือง (อย่างน้อย 1 นวัตกรรม) 7. ด้านการบริหารจัดการ อัจฉริยะ (Smart Governance) 7.1 การเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ และส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนา เมืองอัจฉริยะ - มีหลักฐานที่แสดงถึงข้อตกลงรความร่วมมือระหว่างภาครัฐในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อยกระดับคุณภาพบริการภาครัฐ - มีการระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างชัดเจนครบถ้วน - มีแผนส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่ภาครัฐให้การสนับสนุนชัดเจน มี รูปธรรม สามารถวัดผลได้ 7.2 ส่งเสริมให้มีการเข้าถึงข้อมูลและบริการ ภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว ช่วยให้ ประชาชนสามารถพบส่วนราชการจากทุกที่ ได้อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม - มีระบบขอรับบริการภาครัฐที่ทันสมัย รวดเร็ว ประหยัดเวลา ลด ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เช่น ระบบนัดหมายจองสิทธิ์ใช้บริการ ล่วงหน้า ระบบส่งเรื่อง/รับเรื่องผ่านช่องทางบริการออนไลน์ ระบบ ให้บริการเบื้องต้นเพื่อประหยัดเวลาเมื่อถึงหน้าจุดรับบริการ - มีระบบสื่อสาร 2 ทาง ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริการภาครัฐ 7.3 การบริหารจัดการมี ธรรมาภิบาล โปร่งใสตรวจสอบได้ - มีการเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบข้อมูลเปิด (Open Government Data) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลภาครัฐได้อย่างสะดวก ถูกต้อง รวดเร็ว และเกิดการนำข้อมูลเปิดจากภาครัฐ มาใช้ในการต่อยอด นวัตกรรม - มีตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านธรรมาภิบาล โดยได้รับการประเมินจาก หน่วยงานภาคนอก หรือได้รายงานผลการปฏิบัติงานต่อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง - มีหลักฐานชัดเจนว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ/ให้ ความเห็นชอบ แผนปฏิบัติการในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน 7.4 มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สร้าง นวัตกรรมการบริการ เพื่อพัฒนาการเข้าถึง บริการภาครัฐ ให้มีความรวดเร็ว ลดปัญหาใน การบริหารจัดการ - มีข้อเสนอนวัตกรรมที่สามารถสนับสนุนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้าน Smart Governance ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม - มีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่สามารถให้บริการดิจิทัลภาครัฐเพื่อ ประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป
  • 11. 11 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ในรายละเอียดการร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ได้ลงรายละเอียดเป้าหมาย แนว ทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด รายชื่อโครงการหรือกิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 รายละเอียดร่างร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ กรณีศึกษาขยะเหลือศูนย์ เป้าหมาย แนวทางการ ดำเนินงาน ตัวชี้วัด รายชื่อ โครงการ/ กิจกรรม ระยะเวลา ดำเนิน งาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง (คณะทำงาน) 1. การเพิ่ม ประสิทธิภาพ ในการบริหาร จัดการขยะ ต้นน้ำ 1. รณรงค์ให้ ตระหนักถึงการ แยกขยะเปียก-ขยะ แห้งในครัวเรือน 2. สื่อสารช่องทาง ในการนำขยะที่ แยกแล้วไปเป็น รายได้กลับคืน กลางน้ำ 3. ใช้แอปพลิเคชัน ในการเก็บข้อมูล ขยะที่แยกในแต่ละ ครัวเรือนและนำไป เป็นรายได้กลับคืน 4. หาตลาดรับซื้อ และเพิ่มช่องทางใน การจูงใจให้ความ ร่วมมือ ปลายน้ำ 5. โรงผลิต RDF ได้ วัตถุดิบที่มีคุณภาพ เข้าสู่การผลิต 6. เกิดความร่วมมือ ในการคัดแยกขยะ ในครัวเรือนเพิ่ม มากขึ้น 1. ได้แอปพลิเค ชันช่วยส่งเสริม การแยกขยะใน ครัวเรือน 2. ครัวเรือนที่ เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 30 ของ แต่ละโครงการ บ้านจัดสรรที่เข้า ร่วมโครงการ โครงการสร้าง แอปพลิเคชัน และรณรงค์ ช่วยส่งเสริมใน การแยกขยะ เปียก-ขยะแห้ง ในครัวเรือน 2566-2570 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน 1. สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัดนครราชสีมา 2. สำนักงาน พลังงานจังหวัด นครราชสีมา 3. สำนักงาน อุตสาหกรรมจังหวัด นครราชสีมา 4. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล อีสาน 5. มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครราชสีมา 6. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี 7.สถาบัน การศึกษาในจังหวัด นครราชสีมา 8. สำนักงาน สิ่งแวดล้อมภาคที่ 11 จังหวัด นครราชสีมา 9. สำนักงานโยธาธิ การและผังเมือง จังหวัดนครราชสีมา 10.โครงการ ชลประทาน
  • 12. 12 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ เป้าหมาย แนวทางการ ดำเนินงาน ตัวชี้วัด รายชื่อ โครงการ/ กิจกรรม ระยะเวลา ดำเนิน งาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง (คณะทำงาน) นครราชสีมา 11.สำนักงาน ส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นจังหวัด นครราชสีมา 12.สำนักงานเจ้าท่า ภูมิภาคที่ 7 สาขา นครราชสีมา 13.องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด นครราชสีมา 14.สำนักงาน เทศบาลนคร นครราชสีมา 15.สภาอุตสาหกรรม จังหวัดนครราชสีมา 16.หอการค้าจังหวัด นครราชสีมา 17.สมาคม อสังหาริมทรัพย์ จังหวัดนครราชสีมา 18.เครือข่าย อาสาสมัครพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน 19.สำนักงานเกษตร จังหวัดนครราชสีมา 20.สำนักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณ ภัยจังหวัด นครราชสีมา 21.สำนักงาน คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และ
  • 13. 13 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ เป้าหมาย แนวทางการ ดำเนินงาน ตัวชี้วัด รายชื่อ โครงการ/ กิจกรรม ระยะเวลา ดำเนิน งาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง (คณะทำงาน) กิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ เขต 23 (นครราชสีมา) 22.สำนักงานขนส่ง จังหวัดนครราชสีมา 23.สำนักงาน ตำรวจภูธรจังหวัด นครราชสีมา 24.สำนักงานพัฒนา ที่ดิน เขต 3 25.สำนักบริหาร พื้นที่อนุรักษ์ที่ 7 (นครราชสีมา) 26.สำนักจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ที่ 8 (นครราชสีมา) 27.สำนักทรัพยากร น้ำภาค 5 28.สำนักทรัพยากร น้ำบาดาล เขต 5 2. ระดับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร่างแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะเสร็จสมบูรณ์รวมถึงสามารถนำไปปฏิบัติได้ อย่างมีประสิทธิภาพต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานเอกชน และสถาบันการศึกษา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม ต่างมีบทบาทและระดับการมีส่วนร่วม ดังรายละเอียดในตารางที่ 4
  • 14. 14 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ ตารางที่ 4 บทบาทและระดับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์กร / บุคคลในการมีส่วนร่วม ระดับการมีส่วนร่วม รายละเอียดการมีส่วนร่วม รับฟัง แสดงความ คิดเห็น ร่วม ดำเนินการ ภาครัฐ สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา และ หน่วยงานรับผิดชอบเป็นคณะทำงานทั้ง 7 Smart City Approach  เอื้อเชิงกระบวนการขับเคลื่อนการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมาจากการมีส่วนร่วมของ 3 ภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ทั้งนี้ได้กำหนดให้ส่วนราชการที่มีพันธกิจสอดคล้องกับ เนื้อหาทั้ง 7 ด้านของความเป็นเมืองอัจฉริยะเป็นประธาน คณะกรรมการแต่ละด้าน ได้แก่ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครราชสีมเป็น ประธานคณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ รับผลผลิต ผลลัพธ์ของโครงการวิจัยสู่การบรรจุเข้าแผนยุทธศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ ซึ่งเป็นเงื่อนไขหลักของการขอ พิจารณาประกาศความเป็นเมืองอัจฉริยะ สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา  เลขานุการคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมือง อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ประสานการมีส่วนร่วมในการ จัดทำยกร่างแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะฯ แต่ละด้าน ตลอดจนร้อยเรียงเป็นองค์รวมของจังหวัดนครราชสีมา สำนักงานเทศบาลนครนครราชสีมา  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเตรียมการและรายละเอียด แผนยุทธศาสตร์เทศบาลฯ เพื่อรองรับผลผลิต ผลลัพธ์ของ โครงการวิจัยสู่การขยายผลอย่างครอบคลุมทั้งเมืองโคราช ภาคเอกชน สมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัด นครราชสีมา  หุ้นส่วนการพัฒนาริเริ่มการพัฒนากรอบแนวคิดความ และ ร่วมลงทุน ระบบแพลตฟอร์ม ตลอดจนลงทุนพัฒนา โครงการ Compost Bin ถังย่อยขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมแทรกแซงพฤติกรรมผู้ใช้ระดับ ครัวเรือน เพื่อให้การประยุกต์ใช้ Smart Recycle Bank ผลผลิตของโครงการวิจัยมีประสิทธิภาพต่อพฤติกรรมการ คัดแยกขยะรีไซเคิลมากขึ้น และนำไปสู่การรวบรวม ปริมาณขยะรีไซเคิลระดับต้นทาง ทั้งนี้ประสิทธิภาพจะแปร ผันตามกับปริมาณจำนวน Smart Recycle Bank ติดตั้ง ณ พื้นที่ต่าง ๆ และจะมี แนวโน้มขยะมูลฝอยสู่พื้นที่ฝัง กลบ ลดลง และอาจจะสามารถไประดับเหลือศูนย์ (Zero Waste Ecosystem)
  • 15. 15 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ องค์กร / บุคคลในการมีส่วนร่วม ระดับการมีส่วนร่วม รายละเอียดการมีส่วนร่วม รับฟัง แสดงความ คิดเห็น ร่วม ดำเนินการ หมู่บ้านเป้าหมาย ได้แก่ THE4REST, The Sixnature, The House, RISE Condo และเครือข่ายสมาคมอสังหาริมทรัยพ์ จังหวัดนครราชสีมา  เจ้าของหมู่บ้านจัดสรร ร่วมรับฟัง เกี่ยวกับแนวคิดการใช้ ผลผลิต โครงการวิจัย สู่แนวคิดขยะเหลือศูนย์ โอกาสการ สร้างรายได้หรือการมีส่วนร่วมจะระบบแพลตฟอร์มของ โครงการผ่าน Smart Recycle Bank ตลอดจนการอธิบาย SWOT และ Business Model Canvas ของ การ ลงทุนระบบให้กับหมู่บ้าน สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา  ร่วมออกแบบระบบนิเวศทางธุรกิจในการประยุกต์ใช้ แพลตฟอร์มและ Smart Recycle Bank ผลผลิตของ โครงการวิจัย ตลอดจนร่วมขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ และตอบตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ ตลอดจนเตรียมการร่วมลงทุนในรูปแบบบริษัทพัฒนาเมือง สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา  ร่วมให้คำแนะนำขั้นตอนการผลิตซ้ำของ Smart Recycle Bank ในรูปแบบ Mass Production และการให้ คำแนะนำเกี่ยวกับกระบวนการทดลองต้นแบบประยุกต์ใช้ กับ พฤติกรรมผู้ใช้ บริษัท สคาเวนเจอร์ และพัฒนาเมือง จำกัด  กลุ่มนักลงทุนชาวโคราชจากสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัด นครราชสีมา สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา และ สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา เตรียมการระดมทุน เพื่อขยายผลครอบคลุมทั้งเมือง สู่โมเดลธุรกิจด้าน สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ด้านขยะเหลือศูนย์ บริษัท นครราชสีมาพัฒนาเมือง  บริษัทแพลตฟอร์มด้านการพัฒนาเมืองโคราช รวมตัวจาก กลุ่มนักลงทุน ชาวโคราชจากสมาคม อสังหาริมทรัพย์ จังหวัดนครราชสีมา สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา และสภาอุตสาหกรรมจังหวัด นครราชสีมา พยายามพัฒนา แพลตฟอร์มด้านต่าง ๆ ครอบคลุมวิถีชีวิตของคนเมือง ร่วม ออกแบบระบบนิเวศแพลตฟอร์มของ โครงการวิจัย ตลอดจนให้ใช้โครงสร้างเชิงระบบแพลตฟอร์มขยะเหลือ ศูนย์ของโครงการวิจัย เพื่อเตรียมขยายผล บริษัท คอมโพสบิท นครราชสีมา จำกัด  องค์ประกอบสำคัญอีกหนึ่งประเด็นที่ไม่ได้อยู่ในเนื้อหา โครงการวิจัย แต่เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศขยะเหลือ ศูนย์ เอื้อพฤติกรรมผู้ใช้ในระดับครัวเรือนในการคัดแยก ขยะอินทรีย์กับขยะอนินทรีย์ ซึ่ง Compost Bin จะทำ หน้าที่แยกขยะอินทรีย์ให้กับขยะอนินทรีย์เพื่อไปสู่ กระบวนการพิจารณาคัดแยกและรวบรวมขยะรีไซเคิล
  • 16. 16 การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ องค์กร / บุคคลในการมีส่วนร่วม ระดับการมีส่วนร่วม รายละเอียดการมีส่วนร่วม รับฟัง แสดงความ คิดเห็น ร่วม ดำเนินการ บริษัท JVIS จำกัด  หุ้นส่วนการพัฒนาแพลตฟอร์มหลัก และลงทุนโครงสร้าง พื้นฐานด้าน Cloud Computing and Programming โดยมีผลผลิตโครงการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งเข้าเชื่อมโยงระบบ นิเวศแพลตฟอร์ม เชิดชัย คอร์ปเปอร์เรชัน จำกัด  ร่วมเตรียมพร้อมในการผลิต Smart Recycle Bank แบบ Mass Production ด้วยเทคโนโลยีเดียวกันกับการผลิตรถ บัส RISE condo  ผู้ประกอบการคอนโด พิจารณา ผลผลิตงานวิจัยและพร้อม ประยุกต์ใช้ในโครงการอสังหาริมทรัพย์ของตนเอง ทั้งนี้ได้ พัฒนาแอพพลิเคชันระดับผู้ใช้เตรียมรอเพิ่มโมดูล Scavenger ที่เป็นผลผลิต โครงการวิจัย สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน  สนับสนุนสถานที่วิจัย ตลอดจนสนับสนุนการพิจารณาขอ งบประมาณสนับสนุนประจำปี 2564 ลงทุนห้องศูนย์ วิทยาการสารสนเทศเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ปัจจุบัน ได้ดำเนินการแล้วเสร็จเชื่อมโยงกับกลไกระบบสารสนเทศ เมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่เป็นผลผลิตของ โครงการวิจัย และปัจจุบันได้มีหนังสือจากผู้ว่าราชการ จังหวัดนครราชสีมา ให้ดำเนินการเป็นสำนักงานเมือง อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา มีหน้าที่ประสานการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาเพื่อนำไปสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา  ร่วมดำเนินการโครงการวิจัยย่อยที่ 3 เกี่ยวกับการประเมิน การดำเนินโครงการวิจัย ตลอดจนการวิเคราะห์ประเด็น การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองเพื่อนำไปสู่การกำหนดตัวชี้วัด และโครงการในแผนยุทธศาสตร์ระดับต่าง ๆ ของเมือง โคราช และจังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี  เลขานุการสถาบันเครือข่ายเมือง อัจฉริยะจังหวัด นครราชสีมาช่วยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การยกร่างแผน ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา