SlideShare a Scribd company logo
1 of 181
Download to read offline
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการ
ออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น
รายวิชา 264 417 ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2
(Urban Design Studio II)
ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2559
โดย
เอกพล ดาโชติ 58051207
กรวรรณ รุ่งสว่าง 58051208
ธีระศักดิ์ สวัสดี 58051212
นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 1
คำนำ
จังหวัดขอนแก่น คือ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การ
บริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล”โดยมีเป้าประสงค์ของจังหวัด (Goals) ในประเด็นยุทธศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีความ
เข้มแข็ง สังคมสันติสุขและอยู่กันอย่างเอื้ออาทรและประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืนเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด
กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่นเป็นแนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการ
พัฒนาพื้นที่เทศบาลเมืองขอนแก่น ให้เป็นไปตามเป้าหมายให้เป็นชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ซึ่ง
นาไปสู่การเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ การเสนอแนะแนวทางในการ
นาไปพัฒนา ซึ่งได้แก่ การรักษาสภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ ระบบนิเวศน์ การบริหารจัดการน้า มลภาวะ
ทางน้า มลภาวะทางอากาศบริการ การส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ
การผลิตพลังงานทดแทน ระบบบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ระบบ
การขนส่ง ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จักรยาน การมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการเจริญเติบโตโดย
แนวทางการออกแบบเหล่านี้จะส่งเสริมให้เกิดความสะดวกสบายในการสัญจร คมนาคมขนส่ง ทางเดินเท้าริม
ถนนและถนนสายหลักของชุมชน ควบคู่ไปกับพื้นที่สาหรับคนรุ่นใหม่ รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงและก่อสร้าง
พื้นที่ลานกิจกรรม กลุ่มเศรษฐกิจใหม่ให้เกิดความเชื่อมโยงของพื้นที่ จากศูนย์กลางเมืองไปยังพื้นที่ต่างๆ เพื่อ
นาไปสู่เมืองชาญฉลาด (Smart City)
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
ธันวาคม 2559
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 2
สารบัญ
หน้า
คานา ส-1
สารบัญ ส-2
บทที่ 1 บทนา 1-1
1.1 ความจาเป็นและความสาคัญของการศึกษา 1-1
1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา 1-1
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1-2
1.4 กระบวนการศึกษา 1-2
1.5 วิธีการศึกษา 1-4
บทที่ 2 กรอบแนวคิดการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2-1
2.1 แนวคิดเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY) 2-1
2.2 The WHY, WHAT & HOW of Startupbootcamp’s newest program: Smart City & Living 2-10
2.3 11 Documentaries That Will Make You a Smarter Marketer 2-11
2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างชาญฉลาด 2-12
2.5 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (SMART GROWTH) 2-12
2.6 แนวคิดประเทศไทย 4.0 2-13
2.7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 2-17
บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3-1
3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3-1
3.2 จังหวัดขอนแก่น 3-3
3.3 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค 3-7
บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของเมืองขอนแก่น 4-1
4.1 ตาแหน่งที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตการปกครอง 4-1
4.2 ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการเข้าถึง 4-2
4.3 ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 4-6
4.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4-7
4.5 ลักษณะทางกายภาพ 4-13
4.6 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองและชุมชน 4-17
4.7 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับเมือง 4-19
4.8 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับเมือง 4-24
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 3
บทที่ 5 แนวคิดเบื้องต้นในการพัฒนาเมืองและชุมชน 5-1
5.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของพื้นที่ศึกษา 5-1
5.2 วิสัยทัศน์การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5-2
5.2.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาในระดับเมือง 5-2
5.2.2 ผังแนวคิดในการพัฒนา 5-2
5.2.2.1 ผังแนวคิดการใช้ประโยชน์ที่ดินและกลุ่มกิจกรรม 5-5
5.2.2.2 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการคมนาคมและการเข้าถึง 5-6
5.2.2.3 ผังแนวคิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ 5-7
5.2.2.4 ผังแนวคิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 5-8
5.2.2.5 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบน้า 5-11
5.2.2.6 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบพลังงาน 5-13
5.2.2.7 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการขยะ 5-15
5.2.2.8 ผังแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม 5-18
5.3 การกาหนดพื้นที่เฉพาะเพื่อการออกแบบ 5-19
บทที่ 6 การวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่กลางเมืองขอนแก่น 6-1
6.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันระดับพื้นที่ 6-1
6.1.1 ตาแหน่งที่ตั้ง 6-1
6.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง 6-1
6.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ 6-3
6.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 6-3
6.1.5 กลุ่มกิจกรรม 6-4
6.1.6 อาคารและพื้นที่ว่าง 6-7
6.1.7 พื้นที่สีเขียว 6-7
6.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ 6-8
6.2.1 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ด้าน Mobility Data 6-9
6.2.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ตลาด 6-12
6.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD
TOWN DISTRICT) 6-16
6.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 6-18
6.3.2 ศักยภาพในการพัฒนา 6-18
6.3.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา 6-19
6.3.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา 6-19
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 4
6.3.5 แนวความคิดหลัก 6-19
6.3.5.1 โครงสร้างการเชื่อมโยงและการเชื่อมต่อ (Linkage & Connection) 6-23
6.3.5.2 กลุ่มกิจกรรม (Social Dynamic) 6-24
6.3.5.3 ลักษณะเฉพาะที่มีเอกลักษณ์ (Identity) 6-25
6.3.5.4 ลักษณะทางธรรมชาติ (Natural Features) 6-26
6.3.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET
& OLD TOWN DISTRICT) 6-27
6.3.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD
TOWN DISTRICT) 6-28
6.4 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-33
6.4.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 6-34
6.4.2 ศักยภาพในการพัฒนา 6-34
6.4.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา 6-37
6.4.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา 6-37
6.4.5 แนวความคิดหลัก 6-37
6.4.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-41
6.4.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-42
6.5 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ 6-44
6.5.1 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะ
และย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-44
6.5.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์
ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-46
6.6 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD
TOWN DISTRICT) 6-47
6.7 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-61
บทที่ 7 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่บึงแก่นนคร 7-1
บทที่ 8 บทสรุป 8-1
8.1 สรุปสาระสาคัญของการศึกษา 8-1
8.2 ข้อจากัดของการศึกษา 8-2
8.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาขั้นต่อไป 8-3
รายการอ้างอิง บ-1
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 1
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความจาเป็นและความสาคัญของการศึกษา
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ได้เริ่มดาเนินการโดยสานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์การ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และชุมชนเมืองชาญฉลาด
แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่
สังคมคาร์บอนต่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน การนาผลการประชุมและ
แนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากาหนดรูปแบบการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่
เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทยสู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจ-ชุมชนเมืองชาญฉลาด สานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจาเป็นในการดาเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและ
ชุมชนเมืองชาญฉลาดในปีงบประมาณ 2559 เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการนานโยบาย แผน และ
ยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทาไว้ขึ้นสู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อนาแผนฯสู่
การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณดาเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมีคณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการดาเนินงานโครงการ
1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ปีงบประมาณ 2559 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้าน
พื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว นิเวศน์ การส่งเสริมการเกษตร แหล่งผลิตอาหารในเมือง สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียวรวมทั้ง
การดาเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
2) เพื่อประสานการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการดาเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติใน
ระดับท้องถิ่น
เป้าหมายเชิงผลผลิต ได้แก่
1) รายงานผลการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน
ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่า และการดาเนินงานตามข้อริเริ่ม
อาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
2) รายงานผลการประสานการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียวเมืองที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น
3) รายงานผลการเสริมสร้างศักยภาพหน่วยงาน เทศบาลและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันการ
ดาเนินงานตามนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสังคม
คาร์บอนต่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 2
4) เครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับใช้เพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาล หน่วยงาน และภาคส่วนที่
เกี่ยวข้องการดาเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ปีงบประมาณ 2559 มีกลุ่มเป้าหมายที่
เกี่ยวข้อง ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชนและประชาชน
เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด
ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ไปสู่การปฏิบัติในระดับ
ท้องถิ่น
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.4 กระบวนการศึกษา
ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) หมายถึง ความเชื่อมโยงระหว่างการพัฒนาและคุณภาพชีวิตและ
ผลักดันให้ความเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นใหม่ไปทาให้ชุมชนที่มีอยู่แล้วดีขึ้น การนาแนวคิดการเติบโตอย่างชาญฉลาดไปใช้
ในแต่ละชุมชนจะแตกต่างกันไป
นอกจากนั้น โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ยังจะได้รับแนวคิดประเทศไทย 4.0 ที่จะส่งผล
ต่อการออกแบบชุมชนเมืองดังนี้
1. Smart City เมืองอัจฉริยะ คือนาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้เกิดการใช้ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น
2. เริ่มมีการเปลี่ยนจากสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดาเนินชีวิต (Active Aging)
3. เริ่มมีการเปลี่ยนเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ให้เป็นเกษตรแม่นยาสูง (Precision-Farming) คือ การนา
เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกษตร
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 3
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้าและการจัดการของเสียในเมือง การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบาบัดน้าเสีย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สภาพปัญหา : อันเป็นที่มาของแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ
1. การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่อง
2. มีแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย
3. การจัดสรรและการใช้งบประมาณแบบแยกส่วน
4. การกาหนดอนาคตของชาติกระทาโดยภาครัฐเป็นส่วนใหญ่
5. ประเทศพัฒนาแล้วจะมียุทธศาสตร์ชาติ
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์
แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย
สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ
อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่
1. เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน
2. เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรมมีความเหลื่อมล้าน้อย
4. ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม
5. ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่
เข้มข้น
6. คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต
7. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
8. ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สานักงานฯ เสนอ โดยมีความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5
ปี โดยระบุแผนปฏิบัติการ และกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการ
ดาเนินงานทุกรอบ 1 ปี และ 5 ปี
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 4
การเสริมสร้างศักยภาพการดาเนินงานของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่
สังคมคาร์บอนต่าเป็นกลไกสาคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่างๆเป็นหนึ่งในกลไกสาคัญต่อ
การกาหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าในระดับประเทศรวมทั้งการจัดทาและ
ผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่แวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพกาดาเนินงาน
ของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าจะถูกดาเนินการโดยการให้
ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน
การพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) การดาเนินงานโครงการฯมุ่งเน้นการขับเคลื่อน
เชิงปฏิบัติการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่องเล็งเห็นความสาคัญของการ
พัฒนาเมือง เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และบูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์
และแผนพัฒนาในระดับต่างๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่นจะมีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิด
การดาเนินงานโครงการนาร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจนการบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่
ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน
1.5 วิธีการศึกษา
การจัดทาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์การ
ขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) และการบูรณาการแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับ
ท้องถิ่นเป็นเป้าหมายหลักของการดาเนินงาน ภารกิจดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ
และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน แต่ในปัจจุบันหน่วยงานต่างๆยังคงให้ความสาคัญแก่บทบาทและภารกิจหลักของ
องค์กร โดยให้ความสาคัญแก่เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในลาดับรองลงมาจนขาดการบูรณาการระหว่าง
หน่วยงาน อีกทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิ องค์กรอิสระ เอกชน ชุมชน ประชาชน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย
ยังไม่ได้เข้าร่วมเป็นกาลังขับเคลื่อน ตลอดจนการเผยแพร่องค์ความรู้ในเรื่องการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชน
เมืองชาญฉลาด ยังอยู่ในวงจากัดซึ่งไม่สามารถมีส่วนแก้ไขปัญหาของสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด เข้าสู่การดาเนินงานของหน่วยงาน
ต่างๆ และการนาแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นจึงต้องอาศัยความเชื่อมโยงระหว่างแผนและยุทธศาสตร์ของเมือง
และชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนเมืองชาญฉลาด กับข้อมูลระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และ
ระดับชาติ เพื่อชี้ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นถึงความสอดคล้องของการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญ
ฉลาด กับภารกิจการดาเนินงานที่ปฏิบัติ เพื่อให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสาคัญว่าการพัฒนา
เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นภารกิจที่แต่ละฝ่ายได้ดาเนินการอยู่ในแต่ละส่วนย่อย โดยที่การ
ขับเคลื่อนในแต่ละส่วนเหล่านั้นต่างอยู่ภายใต้กรอบภาพกว้างของการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด และชี้
ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นว่าการดาเนินงานในส่วนใดที่ยังต้องเสริมสร้าง ตลอดจนกลไกและเครื่องมือใดที่
ควรได้รับการนามาใช้เพิ่มเติมเพื่อให้ภาพกว้างของการขับเคลื่อนสังคมคาร์บอนต่ามีความสมบูรณ์
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 1
บทที่ 2
นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ และการดาเนินงานที่เกี่ยวเนื่องกับ
การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด
2.1 แนวคิดเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY)
เกณฑ์ประเมิน Smart City มีอะไรบ้าง คาว่า Smart City ที่เกี่ยวกับการออกแบบเมืองให้สอดคล้องกับการ
รักษาสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการลดปัญหามลภาวะต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีอันชาญฉลาด สู่การเป็นเมืองอัจฉริยะที่มี
ประสิทธิภาพ สถาบันอาคารเขียวไทยได้จัดทาเกณฑ์ประเมิน Smart City มีทั้งหมด 7 หมวดด้วยกัน ได้แก่
2.1.1 พลังงานอัจฉริยะ (smart energy)
ตัวชี้วัดพลังงานอัจฉริยะประกอบด้วยค่าพลังงานการใช้ต่อประชากร การผลิตพลังงานทดแทน การผลิต
พลังงานณ จุดใช้งานการสะสมพลังงาน ระบบทาความเย็นและความร้อนรวมศูนย์ ระบบบริหารจัดการพลังงาน
อัจฉริยะ การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ การส่งเสริมการใช้รถไฟฟ้า
2..1.2 การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility)
ตัวชี้วัดประกอบด้วยการวางผังโครงสร้างพื้นฐานของระบบพลังงาน ระบบการจ่ายน้า ระบบการขนส่ง
ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จักรยาน การจัดเตรียมสถานพยาบาล ระบบ
ฉุกเฉิน ระบบความปลอดภัย สถานศึกษา สถานที่ท่องเที่ยว การบริหารจัดการขยะ น้าเสีย
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 2
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 3
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 4
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 5
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 6
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 7
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 8
2.1.3 ชุมชนอัจฉริยะ (smart community)
ตัวชี้วัดประกอบด้วยการส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ สุขภาพ
การศึกษา การป้องกันภัยพิบัติ การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ
2.1.4 สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment)
ตัวชี้วัดประกอบด้วยการรักษาสภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ ระบบนิเวศน์ การส่งเสริมการเกษตร แหล่ง
ผลิตอาหารในเมือง สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้า มลภาวะทางน้า มลภาวะทางอากาศ
ปรากฏการณ์เกาะความร้อน
2.1.5 เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy)
ตัวชี้วัดประกอบด้วยโมเดลทางธุรกิจ นวัตกรรมรูปแบบการลงทุน ความสร้างความสามารถในการแข่งขัน
การมีส่วนร่วม ความเป็นหุ้นส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการ
เจริญเติบโตของเขต
2.1.6 อาคารอัจฉริยะ (smart building)
ตัวชี้วัดประกอบด้วยการผ่านเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวของสถาบันอาคารเขียวไทย การพัฒนาอาคารที่
ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ระบบอาคาร/ บ้านอัจฉริยะ
2.1.7 การปกครองอัจฉริยะ (smart governance)
ตัวชี้วัดประกอบด้วยหลักความเป็นเมืองอัจฉริยะ ภาวะความเป็นผู้นา ยุทธศาสตร์ โครงสร้างองค์กร
กระบวนการบริหารจัดการ ระบบการวัดผลสาเร็จ
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 9
ภาพที่ 2-1 เกณฑ์ประเมิน Smart City จากสถาบันอาคารเขียวแห่งประเทศไทย
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 10
2.2 The WHY, WHAT & HOW of Startupbootcamp’s newest program: Smart City & Living
(ที่มา https://www.startupbootcamp.org/blog/2014/10/untitled-resource1/)
2.2.1 Smart Home | Automated Living
2.2.2 Smart Home Appliances | Smart City appliances
2.2.3 Smart Mobility | Smart Parking | Traffic Management
2.2.4 Big Data regarding city projects | Open Data | FI-WARE
2.2.5 Internet of Things & Machine to Machine Solutions I Smart Connections | Smart Wifi
2.2.6 Smart Energy | Smart Metering | Smart Grid | Smart Lightning | Climate Control
2.2.7 Smart Building | Urban Planning | Waste Management
2.2.8 Smart Society
2.2.9 Smart Care | Emergency Response
2.2.10 Smart Working
2.2.11 Smart Product Management
2.2.12 Smart Retail
2.2.13 End User Innovation
2.2.14 Smart Agriculture | Smart Food Solutions
2.2.15 Smart Health Solutions
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 11
2.3 11 Documentaries That Will Make You a Smarter Marketer by Liesl Barrell on February
7th, 2014 in Online Marketing
(ที่มา: http://unbounce.com/online-marketing/11-marketing-documentaries-that-will-make-you-a-
smarter-marketer/)
1. The Century of the Self (Public Relations, Focus Groups)
2. The Persuaders (Emotional Branding, Lifestyle Brands)
3. Art & Copy (Advertising, Inspiration, Creativity, Design)
4. Helvetica (Typeface, Typography, Fonts, Design)
5. This Space Available (Billboard Ban, Outdoor Advertising, Public Ad Campaign, Visual Pollution)
6. Not Business as Usual (Conscious Capitalism, Social Enterprise)
7. Miss Representation (Objectification, Post-Feminism, The Representation Project)
8. How TV Ruined Your Life (Media, TV, Advertising)
9. POM Wonderful Presents: The Greatest Movie Ever Sold (Integrated Advertising, Product
Placement, Branded Entertainment)
10. Internet Rising (Security, Cyberspace, Second Life)
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 12
11. Transcendent Man (Nanotechnology, Robotics, the Singularity, Artificial Intelligence, Biotech,
Transhumanism)
2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างชาญฉลาด
ความพร้อมของการเป็น Smart City ของไทยความคืบหน้าล่าสุดเป็นการตั้งเป้าการเป็น Smart Thailand
2020 ให้เกิดขึ้นจริงภายในปี ค.ศ. 2020 โดยแต่ละขั้นตอนที่จะผลักดัน Smart City นั้น ไม่ใช่ภาครัฐที่ต้องผลักดัน
แต่ความจริงนั้น ทุกภาคส่วนตั้งแต่ เอกชน องค์กรบริหารส่วนตาบล หรือเทศบาล จังหวัดสามารถผลักดันได้ทันทีโดย
ไม่ต้องรอ แม้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ต้องใช้เวลา ถึงจะเห็นความคุ้มค่ากับการที่ลงทุนไปและทาให้คุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้น
ด้วยเช่นเดียวกัน จนได้ชื่อว่า Smart City ที่ใช้งานได้จริง
2.5 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (SMART GROWTH)
(ที่มา Smart Growth Thailand Institute http://www.asiamuseum.co.th)
1. การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน Mix land uses
2. การสนับสนุนการออกแบบอาคารให้เกาะกลุ่มกันและใช้ประโยชน์ในการออกแบบอาคารแบบกระชับ
(Compact Building Design) Take advantage of compact building design
3. การสร้างโอกาสและทางเลือกของที่อยู่อาศัยสาหรับประชากรทุกระดับรายได้ Create a range of housing
opportunities and choices
4. การสนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างย่านและชุมชนด้วยการเดิน Create walkable neighborhood
5. การสร้างเสริมชุมชนให้เป็นสถานที่พิเศษ (distinctive) และมีแรงดึงดูด (attractive) ด้วยความผูกพันกับ
สถานที่อย่างเข้มแขง Foster distinctive, attractive communities with a strong sense of place
6. การรักษาที่โล่ง พื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติที่งดงาม พื้นที่อนุรักษ์ประวัติศาสตร์ และพื้นที่ซึ่งมีความ
เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม Preserve open space, farmland, natural beauty, and critical
environmental areas
7. สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและมุ่งการพัฒนาไปยังชุมชนที่มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอยู่แล้ว
Strengthen and direct development towards existing communities
8. การจัดหาทางเลือกการเดินทางและการคมนาคมขนส่งที่มีความหลากหลาย Provide a variety of
transportation choices
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 13
9. การสร้างระบบการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชนที่คาดการณ์ได้ ชัดเจน ยุติธรรม และมีประสิทธิภาพด้าน
ต้นทุน Make development decisions predictable, fair, and cost effective
10. การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและส่งเสริมประสานร่วมมือกันระหว่างชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Encourage community and stakeholder collaboration in development decisions
2.6 แนวคิดประเทศไทย 4.0 จะส่งผลต่อการออกแบบชุมชนเมืองดังนี้ (ที่มา NSTDA)
1. Smart City เมืองอัจฉริยะ คือนาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้เกิดการใช้ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น
2. เริ่มมีการเปลี่ยนจากสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดาเนินชีวิต (Active Aging)
3. เริ่มมีการเปลี่ยนเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ให้เป็นเกษตรแม่นยาสูง (Precision-Farming) คือ การนา
เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกษตร
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้าและการจัดการของเสียในเมือง การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบาบัดน้าเสีย
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 14
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 15
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 16
2.7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ที่มา www.nesbdb.go.th)
2.7.1 สภาพปัญหา : อันเป็นที่มาของแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ
1. การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่อง
2. มีแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย
3. การจัดสรรและการใช้งบประมาณแบบแยกส่วน
4. การกาหนดอนาคตของชาติกระทาโดยภาครัฐเป็นส่วนใหญ่
5. ประเทศพัฒนาแล้วจะมียุทธศาสตร์ชาติ
2.7.2 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์
แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย
สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ
2.7.3 วิสัยทัศน์ : สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
1. ความมั่นคง
 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศใน
ทุกระดับทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล
 ความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
 ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตยมีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็งเป็น
ศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน
 ระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรร
มาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมี
ความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น
 ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง
พอเพียงกับการดารงชีวิต มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน
2. ความมั่งคั่ง
 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูงความเหลื่อม
ล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 17
 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ
สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการ
คมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาคและ
ระดับโลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลัง
 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญาทุนทาง
การเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. ความยั่งยืน
 การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ
ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน์
 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลกซึ่ง
เป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ขอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมี
ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม
 มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนใน
สังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาในระดับอย่างสมดุล มี
เสถียรภาพ และยั่งยืน
2.7.4 อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่
1. เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน
2. เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรมมีความเหลื่อมล้าน้อย
4. ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม
5. ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่
เข้มข้น
6. คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต
2.7.5 ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สานักงานฯ เสนอ โดยมีความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5 ปี โดย
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 18
ระบุแผนปฏิบัติการ และกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการดาเนินงานทุก
รอบ 1 ปี และ 5 ปี
2.7.6 กรอบหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อย่างต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 9-11
2. คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา คนไทยให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยมีลักษณะสาคัญ 5 ประการ
ได้แก่ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีทักษะในการคิดเชิงสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเคารพใน
ความแตกต่าง และมีจุดยืนทางจริยธรรม
3. มุ่งเสริมสร้างกลไกการพัฒนาประเทศ มีการพัฒนาเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ยึดพื้นที่เป็นหลัก
ปรับปรุงกฎหมายและกฎ ระเบียบต่างๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกระดับ
4. การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุมชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนและภาครัฐร่วมกันพัฒนาประเทศบน
หลักการ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรับผลประโยชน์จากการพัฒนา
2.7.8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 19
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
ยุทธศาสตร์ที่ 8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค
2.7.8 เป้าหมายสาคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
คนไทยทุกคนมีคุณภาพสามารถปรับตัวรองรับสังคมสูงวัยและบริบทการพัฒนาในอนาคต โดยค่าดัชนีการ
พัฒนามนุษย์ไม่ต่ากว่า 0.8 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 100 ร้อยละ 70 ของเด็กไทยมีคะแนน EQ ไม่
ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไม่ต่ากว่า 500 สัดส่วนของผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐาน
อาชีพและมาตรฐานฝีมือแรงงานเพิ่มขึ้น
สังคมมีความเหลื่อมล้าน้อยลง รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุด เพิ่มขึ้นไม่ต่า
กว่า ร้อยละ 15 ต่อปี การถือครองสินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุดเพิ่มขึ้น สัดส่วน
ประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลงเหลือร้อยละ 7.4
มีระบบเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและแข่งขันได้ เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 โดยมีรายได้ต่อหัวเป็น
8,200 ดอลลาร์ สรอ. และมีอันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศซึ่งประเมินโดย IMD ให้อยู่ใน
กลุ่ม 1 ใน 25 ของประเทศแรก มีรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ต่ากว่า 3 ล้านล้านบาท เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทาง
การเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 59,460 บาทต่อครัวเรือน พื้นที่การทาเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้นเป็น
500,000 ไร่
รักษาทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความ
มั่นคงอาหาร พลังงาน และน้า โดยเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ พื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มจาก 1.53
ล้านไร่ เป็น 1.58 ล้านไร่ และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและคมนาคมขนส่ง ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ
7
มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของ
นานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง ปัญหาอาชญากรรมลดลง ประเทศ
ไทยมีอันดับความเสี่ยงจากการก่อการร้ายต่ากว่าอันดับที่ 20 ของโลก และมีอันดับความเสี่ยงจากการโจมตีด้านไซ
เบอร์ในต่ากว่าอันดับที่ 10 ของโลก
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 20
มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมีส่วนร่วม
จากประชาชน ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของ
ประเทศอยู่ในอันดับสองของอาเซียน คะแนนดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันให้อยู่สูงกว่าร้อยละ 50
2.7.9 แนวทางการพัฒนาเมืองสาคัญ
1. เสริมสร้างกรุงเทพฯให้เป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจติดต่อทางการค้า การเงิน การบริการ และความร่วมมือกับ
นานาชาติ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการศึกษาและบริการด้านการแพทย์และสุขภาพระดับนานาชาติ ที่พร้อม
ด้วยสิ่งอานวยความสะดวกเทคโนโลยีในการสื่อสารและระบบคมนาคมมาตรฐานสูง
2. พัฒนาเมืองปริมณฑล (สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม และสมุทรสาคร) ให้เป็นเมืองศูนย์กลาง
การบริการธุรกิจและการพาณิชย์ ศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกส์ ศูนย์บริการด้านสุขภาพและการศึกษา
และเมืองที่อยู่อาศัย
3. พัฒนาเมืองเชียงใหม่และเมืองพิษณุโลกให้เป็นศูนย์กลางการค้า การบริการ ธุรกิจสุขภาพ การศึกษา และ
ธุรกิจด้านดิจิตัล
4. พัฒนาเมืองขอนแก่นและเมืองนครราชสีมาให้เป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การลงทุนการบริการสุขภาพและ
ศูนย์กลางการศึกษา
5. พัฒนาเมืองภูเก็ตและเมืองหาดใหญ่ให้เป็นเมืองน่าอยู่และเอื้อต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อม
6. พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งระบบรางในเมืองที่มีศักยภาพที่สาคัญ และบริเวณเมืองชายแดนที่มีศักยภาพ
รวมทั้งบริเวณใกล้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 1
บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค
3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือ 105.5 ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่
ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ ประกอบด้วย 19 จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวลาภู
สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อานาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์
สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นพื้นที่ที่มีประชากร และพื้นที่ทางการ
เกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถาน และมีศิลปวัฒนธรรมอันมีลักษณะเฉพาะ
อีกทั้งที่ตั้งของภาค ยังมีความได้เปรียบในด้านการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้
ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพาน
เศรษฐกิจเชื่อมโยงอินโดจีนตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) โดยเน้นพัฒนาบทบาท
และศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพในการดารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน
ด้วย โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้
1) การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานีและเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้
มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้นในทิศทางอื่นใน ปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักขอนแก่น
2) การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development)
3) การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology)
4) การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น 5 กลุ่ม คือ
- กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์
- กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์
- กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอานาจเจริญ
- กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลยและหนองบัวลาภู
- กลุ่มมุกดาหารสกลนคร และนครพนม
5) การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 2
จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. 2600 ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนาแบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและ
เครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ดได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ
กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกกาหนดแนวทางการพัฒนาไว้ เป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยว การบริการระดับภาค ด้านการศึกษา
สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ พลังงานทดแทน
แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการพัฒนาตามกลุ่มจังหวัด จังหวัดขอนแก่นได้ถูก
กาหนดให้อยู่ในกลุ่มจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ
“ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” และกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
รวม 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและแข่งขันได้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภาพที่ 3-1 แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองจังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนา
ร่วมกับจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,2600)
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 3
โครงการสาคัญ ได้แก่
1. โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออกแบบครบวงจร (Distribution
Center)
2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษและข้าวหอมมะลิอินทรีย์
3. โครงการกาหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน (Zoning)
4. โครงการส่งเสริมการทาสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความมั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับ
เกษตรกร
5. โครงการกาหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้อง
กับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุนด้านขนส่ง
6. โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับตะวันตก (East & West Economic
Corridor) ให้ได้มาตรฐาน
7. โครงการบารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข 9 และ 12
นโยบาย แผนและโครงการพัฒนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง โดยมีโครงการในระดับ
ประเทศและระดับภาค ได้แก่
1. โครงการรถไฟรางคู่ช่วงชุมทางจิระ – ขอนแก่น เป็นโครงการพัฒนารถไฟทางคู่ใหม่ แนวเส้นทางมี
ระยะทางโดยประมาณ 185 กิโลเมตร
2. โครงการ MICE CITY จังหวัดขอนแก่นได้รับคัดเลือกให้เป็น MICE CITY แห่งที่ 5 ของประเทศ
(กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พัทยา ภูเก็ตและขอนแก่น) ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์หลักการพัฒนาจังหวัด 4 ปี
(2557-2560) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่มุ่งสู่มหานครแห่งอาเซียน”
3. โครงการพุทธมณฑลอิสาน ทางจังหวัดขอนแก่นพร้อมกับคณะสงฆ์ได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑล
อีสานจังหวัดขอนแก่น” เพื่อเป็นสถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่ประชุมอบรมสัมมนาและปฏิบัติธรรม
ของประชาชนพระภิกษุสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาสังคมและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ขนาดใหญ่ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัด
4. ระบบรถโดยสารด่วนพิเศษที่มีโครงสร้างแบบบนดิน โดยมีความเหมาะสมกับเมืองขอนแก่ (ยุทธศาสตร์
ของการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, 2557 - 2560)
3.2 จังหวัดขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
ไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่านไปสู่ประตูอินโดจีน ดังแสดงในภาพที่ 6-2 โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการคมนาคมระหว่าง
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาค
อีสานสามารถเชื่อมโยงออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการส่วนกลางภูมิภาคซึ่งเป็นเครื่องมือที่
สาคัญในการให้บริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวง
รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 4
แผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก
; EWEC) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 445 กิโลเมตร
ภาพที่ 3-2 แสดงผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดขอนแก่น
ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ทั้งหมด 10,886 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดอุบลราชธานี ตามลาดับ อีกทั้งยังมีขนาดใหญ่เป็น
อันดับที่ 15 ของประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นมีขอบเขตพื้นที่ติดกับจังหวัดอื่นๆ ดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ จดจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลาภู และ จังหวัดเลย
ทิศใต้ จดจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก จดจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม
ทิศตะวันตก จดจังหวัดเพชรบูรณ์ และ จังหวัดชัยภูมิ
ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ
รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น 106,583 บาทต่อคนต่อปี สูงเป็นอันดับ 1 ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ (กรุงเทพ 193,395 บาทต่อคนต่อปี)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ประจาปี 2557 มีมูลค่าจานวน 187,348 ล้านบาท ลาดับที่ 13 ของประเทศ และ
ลาดับที่ 2 ของภาค (นครราชสีมา อันดับที่ 1) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี 2557 ร้อยละ 6.35
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City
Urban design in completely of Khon Kaen City

More Related Content

What's hot

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานKasichaphat Sae-tuan
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)ปิยนันท์ ราชธานี
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559ประพันธ์ เวารัมย์
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์อนุชา โคยะทา
 
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานThanawut Rattanadon
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมาFURD_RSU
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างพัน พัน
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรnokyoong47
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมprrimhuffy
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
Community media สื่อชุมชน
Community media สื่อชุมชนCommunity media สื่อชุมชน
Community media สื่อชุมชนSmith Boonchutima
 

What's hot (20)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
 
Coaching feedback form
Coaching feedback form Coaching feedback form
Coaching feedback form
 
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรม
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
Community media สื่อชุมชน
Community media สื่อชุมชนCommunity media สื่อชุมชน
Community media สื่อชุมชน
 

Similar to Urban design in completely of Khon Kaen City

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...Research team Silpakorn University
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองFURD_RSU
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...Dr.Choen Krainara
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015Thana Chirapiwat
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566plan8
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017Sarawoot Watechagit
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)ปิยนันท์ ราชธานี
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงFURD_RSU
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to Urban design in completely of Khon Kaen City (20)

รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11
 
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
ME Action Plan and Budget 2016 - 2017
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
6 การพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมืองสู่อนาคตประเทศ
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชนคําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 

Urban design in completely of Khon Kaen City

  • 1. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการ ออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น รายวิชา 264 417 ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 (Urban Design Studio II) ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2559 โดย เอกพล ดาโชติ 58051207 กรวรรณ รุ่งสว่าง 58051208 ธีระศักดิ์ สวัสดี 58051212 นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 1 คำนำ จังหวัดขอนแก่น คือ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การ บริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล”โดยมีเป้าประสงค์ของจังหวัด (Goals) ในประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีความ เข้มแข็ง สังคมสันติสุขและอยู่กันอย่างเอื้ออาทรและประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืนเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่นเป็นแนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการ พัฒนาพื้นที่เทศบาลเมืองขอนแก่น ให้เป็นไปตามเป้าหมายให้เป็นชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ซึ่ง นาไปสู่การเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ การเสนอแนะแนวทางในการ นาไปพัฒนา ซึ่งได้แก่ การรักษาสภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ ระบบนิเวศน์ การบริหารจัดการน้า มลภาวะ ทางน้า มลภาวะทางอากาศบริการ การส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ การผลิตพลังงานทดแทน ระบบบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ระบบ การขนส่ง ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จักรยาน การมีส่วนร่วม การเป็นหุ้นส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการเจริญเติบโตโดย แนวทางการออกแบบเหล่านี้จะส่งเสริมให้เกิดความสะดวกสบายในการสัญจร คมนาคมขนส่ง ทางเดินเท้าริม ถนนและถนนสายหลักของชุมชน ควบคู่ไปกับพื้นที่สาหรับคนรุ่นใหม่ รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงและก่อสร้าง พื้นที่ลานกิจกรรม กลุ่มเศรษฐกิจใหม่ให้เกิดความเชื่อมโยงของพื้นที่ จากศูนย์กลางเมืองไปยังพื้นที่ต่างๆ เพื่อ นาไปสู่เมืองชาญฉลาด (Smart City) หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา ธันวาคม 2559
  • 3. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 2 สารบัญ หน้า คานา ส-1 สารบัญ ส-2 บทที่ 1 บทนา 1-1 1.1 ความจาเป็นและความสาคัญของการศึกษา 1-1 1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา 1-1 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1-2 1.4 กระบวนการศึกษา 1-2 1.5 วิธีการศึกษา 1-4 บทที่ 2 กรอบแนวคิดการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2-1 2.1 แนวคิดเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY) 2-1 2.2 The WHY, WHAT & HOW of Startupbootcamp’s newest program: Smart City & Living 2-10 2.3 11 Documentaries That Will Make You a Smarter Marketer 2-11 2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างชาญฉลาด 2-12 2.5 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (SMART GROWTH) 2-12 2.6 แนวคิดประเทศไทย 4.0 2-13 2.7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 2-17 บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3-1 3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3-1 3.2 จังหวัดขอนแก่น 3-3 3.3 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค 3-7 บทที่ 4 การศึกษาสภาพทั่วไปของเมืองขอนแก่น 4-1 4.1 ตาแหน่งที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตการปกครอง 4-1 4.2 ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ การตั้งถิ่นฐาน และการเข้าถึง 4-2 4.3 ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 4-6 4.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4-7 4.5 ลักษณะทางกายภาพ 4-13 4.6 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองและชุมชน 4-17 4.7 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับเมือง 4-19 4.8 สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับเมือง 4-24
  • 4. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 3 บทที่ 5 แนวคิดเบื้องต้นในการพัฒนาเมืองและชุมชน 5-1 5.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามของพื้นที่ศึกษา 5-1 5.2 วิสัยทัศน์การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 5-2 5.2.1 วิสัยทัศน์การพัฒนาในระดับเมือง 5-2 5.2.2 ผังแนวคิดในการพัฒนา 5-2 5.2.2.1 ผังแนวคิดการใช้ประโยชน์ที่ดินและกลุ่มกิจกรรม 5-5 5.2.2.2 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการคมนาคมและการเข้าถึง 5-6 5.2.2.3 ผังแนวคิดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ 5-7 5.2.2.4 ผังแนวคิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 5-8 5.2.2.5 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบน้า 5-11 5.2.2.6 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบพลังงาน 5-13 5.2.2.7 ผังแนวคิดการพัฒนาระบบการจัดการขยะ 5-15 5.2.2.8 ผังแนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม 5-18 5.3 การกาหนดพื้นที่เฉพาะเพื่อการออกแบบ 5-19 บทที่ 6 การวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่กลางเมืองขอนแก่น 6-1 6.1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันระดับพื้นที่ 6-1 6.1.1 ตาแหน่งที่ตั้ง 6-1 6.1.2 การคมนาคมขนส่งและการเข้าถึง 6-1 6.1.3 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ 6-3 6.1.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 6-3 6.1.5 กลุ่มกิจกรรม 6-4 6.1.6 อาคารและพื้นที่ว่าง 6-7 6.1.7 พื้นที่สีเขียว 6-7 6.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ 6-8 6.2.1 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ด้าน Mobility Data 6-9 6.2.2 ปัญหาและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ตลาด 6-12 6.3 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-16 6.3.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 6-18 6.3.2 ศักยภาพในการพัฒนา 6-18 6.3.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา 6-19 6.3.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา 6-19
  • 5. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด ส - 4 6.3.5 แนวความคิดหลัก 6-19 6.3.5.1 โครงสร้างการเชื่อมโยงและการเชื่อมต่อ (Linkage & Connection) 6-23 6.3.5.2 กลุ่มกิจกรรม (Social Dynamic) 6-24 6.3.5.3 ลักษณะเฉพาะที่มีเอกลักษณ์ (Identity) 6-25 6.3.5.4 ลักษณะทางธรรมชาติ (Natural Features) 6-26 6.3.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-27 6.3.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-28 6.4 ผังการออกแบบและพัฒนาพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-33 6.4.1 วิสัยทัศน์ในการพัฒนา 6-34 6.4.2 ศักยภาพในการพัฒนา 6-34 6.4.3 ความมุ่งหมายในการพัฒนา 6-37 6.4.4 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา 6-37 6.4.5 แนวความคิดหลัก 6-37 6.4.6 โปรแกรมการวางผังและออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-41 6.4.7 ผังการออกแบบพื้นที่โครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-42 6.5 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบ 6-44 6.5.1 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการตลาดอัจฉริยะ และย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-44 6.5.2 ข้อเสนอแนะมาตรการควบคุมและส่งเสริมสาหรับพื้นที่วางผังออกแบบโครงการถนนศรีจันทร์ ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-46 6.6 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการตลาดอัจฉริยะและย่านเมืองเก่า (SMART MARKET & OLD TOWN DISTRICT) 6-47 6.7 การนาแผนและผังไปปฏิบัติโครงการถนนศรีจันทร์ย่านธุรกิจการค้า (SMART MICE) 6-61 บทที่ 7 การศึกษาและวางผังออกแบบพื้นที่บึงแก่นนคร 7-1 บทที่ 8 บทสรุป 8-1 8.1 สรุปสาระสาคัญของการศึกษา 8-1 8.2 ข้อจากัดของการศึกษา 8-2 8.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาขั้นต่อไป 8-3 รายการอ้างอิง บ-1
  • 6. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ความจาเป็นและความสาคัญของการศึกษา โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ได้เริ่มดาเนินการโดยสานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และชุมชนเมืองชาญฉลาด แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่ สังคมคาร์บอนต่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน การนาผลการประชุมและ แนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมากาหนดรูปแบบการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่ เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทยสู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจ-ชุมชนเมืองชาญฉลาด สานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจาเป็นในการดาเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและ ชุมชนเมืองชาญฉลาดในปีงบประมาณ 2559 เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการนานโยบาย แผน และ ยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทาไว้ขึ้นสู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อนาแผนฯสู่ การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณดาเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมีคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการดาเนินงานโครงการ 1.2 ความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการศึกษา โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ปีงบประมาณ 2559 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้าน พื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว นิเวศน์ การส่งเสริมการเกษตร แหล่งผลิตอาหารในเมือง สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียวรวมทั้ง การดาเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2) เพื่อประสานการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการดาเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติใน ระดับท้องถิ่น เป้าหมายเชิงผลผลิต ได้แก่ 1) รายงานผลการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่า และการดาเนินงานตามข้อริเริ่ม อาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม 2) รายงานผลการประสานการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียวเมืองที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น 3) รายงานผลการเสริมสร้างศักยภาพหน่วยงาน เทศบาลและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันการ ดาเนินงานตามนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสังคม คาร์บอนต่า และสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน
  • 7. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 2 4) เครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับใช้เพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาล หน่วยงาน และภาคส่วนที่ เกี่ยวข้องการดาเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ปีงบประมาณ 2559 มีกลุ่มเป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชนและประชาชน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ไปสู่การปฏิบัติในระดับ ท้องถิ่น 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 กระบวนการศึกษา ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) หมายถึง ความเชื่อมโยงระหว่างการพัฒนาและคุณภาพชีวิตและ ผลักดันให้ความเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นใหม่ไปทาให้ชุมชนที่มีอยู่แล้วดีขึ้น การนาแนวคิดการเติบโตอย่างชาญฉลาดไปใช้ ในแต่ละชุมชนจะแตกต่างกันไป นอกจากนั้น โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด ยังจะได้รับแนวคิดประเทศไทย 4.0 ที่จะส่งผล ต่อการออกแบบชุมชนเมืองดังนี้ 1. Smart City เมืองอัจฉริยะ คือนาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้เกิดการใช้ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น 2. เริ่มมีการเปลี่ยนจากสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดาเนินชีวิต (Active Aging) 3. เริ่มมีการเปลี่ยนเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ให้เป็นเกษตรแม่นยาสูง (Precision-Farming) คือ การนา เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกษตร
  • 8. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 3 4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้าและการจัดการของเสียในเมือง การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบาบัดน้าเสีย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 สภาพปัญหา : อันเป็นที่มาของแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 1. การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่อง 2. มีแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย 3. การจัดสรรและการใช้งบประมาณแบบแยกส่วน 4. การกาหนดอนาคตของชาติกระทาโดยภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ 5. ประเทศพัฒนาแล้วจะมียุทธศาสตร์ชาติ กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์ แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่ 1. เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน 2. เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรมมีความเหลื่อมล้าน้อย 4. ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม 5. ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่ เข้มข้น 6. คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต 7. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 8. ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สานักงานฯ เสนอ โดยมีความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5 ปี โดยระบุแผนปฏิบัติการ และกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการ ดาเนินงานทุกรอบ 1 ปี และ 5 ปี
  • 9. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 1 - 4 การเสริมสร้างศักยภาพการดาเนินงานของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่าเป็นกลไกสาคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่างๆเป็นหนึ่งในกลไกสาคัญต่อ การกาหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าในระดับประเทศรวมทั้งการจัดทาและ ผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่แวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพกาดาเนินงาน ของภาคภาคีต่างๆในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าจะถูกดาเนินการโดยการให้ ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) การดาเนินงานโครงการฯมุ่งเน้นการขับเคลื่อน เชิงปฏิบัติการในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่องเล็งเห็นความสาคัญของการ พัฒนาเมือง เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และบูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาในระดับต่างๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่นจะมีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิด การดาเนินงานโครงการนาร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจนการบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่ ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน 1.5 วิธีการศึกษา การจัดทาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการดาเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด (Smart City) และการบูรณาการแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับ ท้องถิ่นเป็นเป้าหมายหลักของการดาเนินงาน ภารกิจดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน แต่ในปัจจุบันหน่วยงานต่างๆยังคงให้ความสาคัญแก่บทบาทและภารกิจหลักของ องค์กร โดยให้ความสาคัญแก่เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในลาดับรองลงมาจนขาดการบูรณาการระหว่าง หน่วยงาน อีกทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิ องค์กรอิสระ เอกชน ชุมชน ประชาชน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ยังไม่ได้เข้าร่วมเป็นกาลังขับเคลื่อน ตลอดจนการเผยแพร่องค์ความรู้ในเรื่องการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชน เมืองชาญฉลาด ยังอยู่ในวงจากัดซึ่งไม่สามารถมีส่วนแก้ไขปัญหาของสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด เข้าสู่การดาเนินงานของหน่วยงาน ต่างๆ และการนาแผนฯสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่นจึงต้องอาศัยความเชื่อมโยงระหว่างแผนและยุทธศาสตร์ของเมือง และชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนเมืองชาญฉลาด กับข้อมูลระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค และ ระดับชาติ เพื่อชี้ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นถึงความสอดคล้องของการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญ ฉลาด กับภารกิจการดาเนินงานที่ปฏิบัติ เพื่อให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสาคัญว่าการพัฒนา เมืองและชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นภารกิจที่แต่ละฝ่ายได้ดาเนินการอยู่ในแต่ละส่วนย่อย โดยที่การ ขับเคลื่อนในแต่ละส่วนเหล่านั้นต่างอยู่ภายใต้กรอบภาพกว้างของการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ชุมชนเมืองชาญฉลาด และชี้ ให้ภาคภาคีที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเล็งเห็นว่าการดาเนินงานในส่วนใดที่ยังต้องเสริมสร้าง ตลอดจนกลไกและเครื่องมือใดที่ ควรได้รับการนามาใช้เพิ่มเติมเพื่อให้ภาพกว้างของการขับเคลื่อนสังคมคาร์บอนต่ามีความสมบูรณ์
  • 10. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 1 บทที่ 2 นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ และการดาเนินงานที่เกี่ยวเนื่องกับ การวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2.1 แนวคิดเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY) เกณฑ์ประเมิน Smart City มีอะไรบ้าง คาว่า Smart City ที่เกี่ยวกับการออกแบบเมืองให้สอดคล้องกับการ รักษาสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการลดปัญหามลภาวะต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีอันชาญฉลาด สู่การเป็นเมืองอัจฉริยะที่มี ประสิทธิภาพ สถาบันอาคารเขียวไทยได้จัดทาเกณฑ์ประเมิน Smart City มีทั้งหมด 7 หมวดด้วยกัน ได้แก่ 2.1.1 พลังงานอัจฉริยะ (smart energy) ตัวชี้วัดพลังงานอัจฉริยะประกอบด้วยค่าพลังงานการใช้ต่อประชากร การผลิตพลังงานทดแทน การผลิต พลังงานณ จุดใช้งานการสะสมพลังงาน ระบบทาความเย็นและความร้อนรวมศูนย์ ระบบบริหารจัดการพลังงาน อัจฉริยะ การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ การส่งเสริมการใช้รถไฟฟ้า 2..1.2 การสัญจรอัจฉริยะ (smart mobility) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการวางผังโครงสร้างพื้นฐานของระบบพลังงาน ระบบการจ่ายน้า ระบบการขนส่ง ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จักรยาน การจัดเตรียมสถานพยาบาล ระบบ ฉุกเฉิน ระบบความปลอดภัย สถานศึกษา สถานที่ท่องเที่ยว การบริหารจัดการขยะ น้าเสีย
  • 17. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 8 2.1.3 ชุมชนอัจฉริยะ (smart community) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ สุขภาพ การศึกษา การป้องกันภัยพิบัติ การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ 2.1.4 สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (smart environment) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการรักษาสภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ ระบบนิเวศน์ การส่งเสริมการเกษตร แหล่ง ผลิตอาหารในเมือง สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้า มลภาวะทางน้า มลภาวะทางอากาศ ปรากฏการณ์เกาะความร้อน 2.1.5 เศรษฐกิจอัจฉริยะ (smart economy) ตัวชี้วัดประกอบด้วยโมเดลทางธุรกิจ นวัตกรรมรูปแบบการลงทุน ความสร้างความสามารถในการแข่งขัน การมีส่วนร่วม ความเป็นหุ้นส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการ เจริญเติบโตของเขต 2.1.6 อาคารอัจฉริยะ (smart building) ตัวชี้วัดประกอบด้วยการผ่านเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวของสถาบันอาคารเขียวไทย การพัฒนาอาคารที่ ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ระบบอาคาร/ บ้านอัจฉริยะ 2.1.7 การปกครองอัจฉริยะ (smart governance) ตัวชี้วัดประกอบด้วยหลักความเป็นเมืองอัจฉริยะ ภาวะความเป็นผู้นา ยุทธศาสตร์ โครงสร้างองค์กร กระบวนการบริหารจัดการ ระบบการวัดผลสาเร็จ
  • 18. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 9 ภาพที่ 2-1 เกณฑ์ประเมิน Smart City จากสถาบันอาคารเขียวแห่งประเทศไทย
  • 19. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 10 2.2 The WHY, WHAT & HOW of Startupbootcamp’s newest program: Smart City & Living (ที่มา https://www.startupbootcamp.org/blog/2014/10/untitled-resource1/) 2.2.1 Smart Home | Automated Living 2.2.2 Smart Home Appliances | Smart City appliances 2.2.3 Smart Mobility | Smart Parking | Traffic Management 2.2.4 Big Data regarding city projects | Open Data | FI-WARE 2.2.5 Internet of Things & Machine to Machine Solutions I Smart Connections | Smart Wifi 2.2.6 Smart Energy | Smart Metering | Smart Grid | Smart Lightning | Climate Control 2.2.7 Smart Building | Urban Planning | Waste Management 2.2.8 Smart Society 2.2.9 Smart Care | Emergency Response 2.2.10 Smart Working 2.2.11 Smart Product Management 2.2.12 Smart Retail 2.2.13 End User Innovation 2.2.14 Smart Agriculture | Smart Food Solutions 2.2.15 Smart Health Solutions
  • 20. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 11 2.3 11 Documentaries That Will Make You a Smarter Marketer by Liesl Barrell on February 7th, 2014 in Online Marketing (ที่มา: http://unbounce.com/online-marketing/11-marketing-documentaries-that-will-make-you-a- smarter-marketer/) 1. The Century of the Self (Public Relations, Focus Groups) 2. The Persuaders (Emotional Branding, Lifestyle Brands) 3. Art & Copy (Advertising, Inspiration, Creativity, Design) 4. Helvetica (Typeface, Typography, Fonts, Design) 5. This Space Available (Billboard Ban, Outdoor Advertising, Public Ad Campaign, Visual Pollution) 6. Not Business as Usual (Conscious Capitalism, Social Enterprise) 7. Miss Representation (Objectification, Post-Feminism, The Representation Project) 8. How TV Ruined Your Life (Media, TV, Advertising) 9. POM Wonderful Presents: The Greatest Movie Ever Sold (Integrated Advertising, Product Placement, Branded Entertainment) 10. Internet Rising (Security, Cyberspace, Second Life)
  • 21. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 12 11. Transcendent Man (Nanotechnology, Robotics, the Singularity, Artificial Intelligence, Biotech, Transhumanism) 2.4 สรุปแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนอย่างชาญฉลาด ความพร้อมของการเป็น Smart City ของไทยความคืบหน้าล่าสุดเป็นการตั้งเป้าการเป็น Smart Thailand 2020 ให้เกิดขึ้นจริงภายในปี ค.ศ. 2020 โดยแต่ละขั้นตอนที่จะผลักดัน Smart City นั้น ไม่ใช่ภาครัฐที่ต้องผลักดัน แต่ความจริงนั้น ทุกภาคส่วนตั้งแต่ เอกชน องค์กรบริหารส่วนตาบล หรือเทศบาล จังหวัดสามารถผลักดันได้ทันทีโดย ไม่ต้องรอ แม้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ต้องใช้เวลา ถึงจะเห็นความคุ้มค่ากับการที่ลงทุนไปและทาให้คุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้น ด้วยเช่นเดียวกัน จนได้ชื่อว่า Smart City ที่ใช้งานได้จริง 2.5 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (SMART GROWTH) (ที่มา Smart Growth Thailand Institute http://www.asiamuseum.co.th) 1. การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน Mix land uses 2. การสนับสนุนการออกแบบอาคารให้เกาะกลุ่มกันและใช้ประโยชน์ในการออกแบบอาคารแบบกระชับ (Compact Building Design) Take advantage of compact building design 3. การสร้างโอกาสและทางเลือกของที่อยู่อาศัยสาหรับประชากรทุกระดับรายได้ Create a range of housing opportunities and choices 4. การสนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างย่านและชุมชนด้วยการเดิน Create walkable neighborhood 5. การสร้างเสริมชุมชนให้เป็นสถานที่พิเศษ (distinctive) และมีแรงดึงดูด (attractive) ด้วยความผูกพันกับ สถานที่อย่างเข้มแขง Foster distinctive, attractive communities with a strong sense of place 6. การรักษาที่โล่ง พื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติที่งดงาม พื้นที่อนุรักษ์ประวัติศาสตร์ และพื้นที่ซึ่งมีความ เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม Preserve open space, farmland, natural beauty, and critical environmental areas 7. สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและมุ่งการพัฒนาไปยังชุมชนที่มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอยู่แล้ว Strengthen and direct development towards existing communities 8. การจัดหาทางเลือกการเดินทางและการคมนาคมขนส่งที่มีความหลากหลาย Provide a variety of transportation choices
  • 22. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 13 9. การสร้างระบบการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชนที่คาดการณ์ได้ ชัดเจน ยุติธรรม และมีประสิทธิภาพด้าน ต้นทุน Make development decisions predictable, fair, and cost effective 10. การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและส่งเสริมประสานร่วมมือกันระหว่างชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Encourage community and stakeholder collaboration in development decisions 2.6 แนวคิดประเทศไทย 4.0 จะส่งผลต่อการออกแบบชุมชนเมืองดังนี้ (ที่มา NSTDA) 1. Smart City เมืองอัจฉริยะ คือนาเทคโนโลยีมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้เกิดการใช้ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น 2. เริ่มมีการเปลี่ยนจากสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดาเนินชีวิต (Active Aging) 3. เริ่มมีการเปลี่ยนเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ให้เป็นเกษตรแม่นยาสูง (Precision-Farming) คือ การนา เทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกษตร 4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้าและการจัดการของเสียในเมือง การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการบาบัดน้าเสีย
  • 25. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 16 2.7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ที่มา www.nesbdb.go.th) 2.7.1 สภาพปัญหา : อันเป็นที่มาของแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 1. การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่อง 2. มีแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย 3. การจัดสรรและการใช้งบประมาณแบบแยกส่วน 4. การกาหนดอนาคตของชาติกระทาโดยภาครัฐเป็นส่วนใหญ่ 5. ประเทศพัฒนาแล้วจะมียุทธศาสตร์ชาติ 2.7.2 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์ แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ 2.7.3 วิสัยทัศน์ : สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 1. ความมั่นคง  การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศใน ทุกระดับทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล  ความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง  ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตยมีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็งเป็น ศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน  ระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรร มาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมี ความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น  ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการดารงชีวิต มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน 2. ความมั่งคั่ง  ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูงความเหลื่อม ล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น
  • 26. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 17  เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการ คมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลัง  ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญาทุนทาง การเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ความยั่งยืน  การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน์  การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลกซึ่ง เป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ขอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมี ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม  มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนใน สังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาในระดับอย่างสมดุล มี เสถียรภาพ และยั่งยืน 2.7.4 อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่ 1. เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน 2. เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรมมีความเหลื่อมล้าน้อย 4. ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม 5. ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่ เข้มข้น 6. คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต 2.7.5 ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2558 เห็นชอบทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตามที่สานักงานฯ เสนอ โดยมีความเห็นเพิ่มเติมว่าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องมีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และมีการแปลงยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5 ปี โดย
  • 27. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 18 ระบุแผนปฏิบัติการ และกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จที่เป็นรูปธรรม รวมทั้งให้มีการประเมินผลของการดาเนินงานทุก รอบ 1 ปี และ 5 ปี 2.7.6 กรอบหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อย่างต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9-11 2. คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา คนไทยให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยมีลักษณะสาคัญ 5 ประการ ได้แก่ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีทักษะในการคิดเชิงสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเคารพใน ความแตกต่าง และมีจุดยืนทางจริยธรรม 3. มุ่งเสริมสร้างกลไกการพัฒนาประเทศ มีการพัฒนาเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ยึดพื้นที่เป็นหลัก ปรับปรุงกฎหมายและกฎ ระเบียบต่างๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกระดับ 4. การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุมชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนและภาครัฐร่วมกันพัฒนาประเทศบน หลักการ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรับผลประโยชน์จากการพัฒนา 2.7.8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 ความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
  • 28. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 19 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค 2.7.8 เป้าหมายสาคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 คนไทยทุกคนมีคุณภาพสามารถปรับตัวรองรับสังคมสูงวัยและบริบทการพัฒนาในอนาคต โดยค่าดัชนีการ พัฒนามนุษย์ไม่ต่ากว่า 0.8 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 100 ร้อยละ 70 ของเด็กไทยมีคะแนน EQ ไม่ ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไม่ต่ากว่า 500 สัดส่วนของผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐาน อาชีพและมาตรฐานฝีมือแรงงานเพิ่มขึ้น สังคมมีความเหลื่อมล้าน้อยลง รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุด เพิ่มขึ้นไม่ต่า กว่า ร้อยละ 15 ต่อปี การถือครองสินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่าสุดเพิ่มขึ้น สัดส่วน ประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลงเหลือร้อยละ 7.4 มีระบบเศรษฐกิจที่เข้มแข็งและแข่งขันได้ เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 โดยมีรายได้ต่อหัวเป็น 8,200 ดอลลาร์ สรอ. และมีอันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศซึ่งประเมินโดย IMD ให้อยู่ใน กลุ่ม 1 ใน 25 ของประเทศแรก มีรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ต่ากว่า 3 ล้านล้านบาท เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทาง การเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 59,460 บาทต่อครัวเรือน พื้นที่การทาเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้นเป็น 500,000 ไร่ รักษาทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความ มั่นคงอาหาร พลังงาน และน้า โดยเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ พื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มจาก 1.53 ล้านไร่ เป็น 1.58 ล้านไร่ และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและคมนาคมขนส่ง ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของ นานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง ปัญหาอาชญากรรมลดลง ประเทศ ไทยมีอันดับความเสี่ยงจากการก่อการร้ายต่ากว่าอันดับที่ 20 ของโลก และมีอันดับความเสี่ยงจากการโจมตีด้านไซ เบอร์ในต่ากว่าอันดับที่ 10 ของโลก
  • 29. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 2 - 20 มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมีส่วนร่วม จากประชาชน ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของ ประเทศอยู่ในอันดับสองของอาเซียน คะแนนดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันให้อยู่สูงกว่าร้อยละ 50 2.7.9 แนวทางการพัฒนาเมืองสาคัญ 1. เสริมสร้างกรุงเทพฯให้เป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจติดต่อทางการค้า การเงิน การบริการ และความร่วมมือกับ นานาชาติ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการศึกษาและบริการด้านการแพทย์และสุขภาพระดับนานาชาติ ที่พร้อม ด้วยสิ่งอานวยความสะดวกเทคโนโลยีในการสื่อสารและระบบคมนาคมมาตรฐานสูง 2. พัฒนาเมืองปริมณฑล (สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม และสมุทรสาคร) ให้เป็นเมืองศูนย์กลาง การบริการธุรกิจและการพาณิชย์ ศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกส์ ศูนย์บริการด้านสุขภาพและการศึกษา และเมืองที่อยู่อาศัย 3. พัฒนาเมืองเชียงใหม่และเมืองพิษณุโลกให้เป็นศูนย์กลางการค้า การบริการ ธุรกิจสุขภาพ การศึกษา และ ธุรกิจด้านดิจิตัล 4. พัฒนาเมืองขอนแก่นและเมืองนครราชสีมาให้เป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การลงทุนการบริการสุขภาพและ ศูนย์กลางการศึกษา 5. พัฒนาเมืองภูเก็ตและเมืองหาดใหญ่ให้เป็นเมืองน่าอยู่และเอื้อต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อม 6. พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งระบบรางในเมืองที่มีศักยภาพที่สาคัญ และบริเวณเมืองชายแดนที่มีศักยภาพ รวมทั้งบริเวณใกล้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
  • 30. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 1 บทที่ 3 การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค 3.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือ 105.5 ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ ประกอบด้วย 19 จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวลาภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อานาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นพื้นที่ที่มีประชากร และพื้นที่ทางการ เกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นๆของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถาน และมีศิลปวัฒนธรรมอันมีลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาค ยังมีความได้เปรียบในด้านการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพาน เศรษฐกิจเชื่อมโยงอินโดจีนตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) โดยเน้นพัฒนาบทบาท และศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพในการดารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน ด้วย โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ 1) การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานีและเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้ มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้นในทิศทางอื่นใน ปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักขอนแก่น 2) การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development) 3) การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology) 4) การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น 5 กลุ่ม คือ - กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ - กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ - กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอานาจเจริญ - กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลยและหนองบัวลาภู - กลุ่มมุกดาหารสกลนคร และนครพนม 5) การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
  • 31. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 2 จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. 2600 ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนาแบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและ เครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ดได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกกาหนดแนวทางการพัฒนาไว้ เป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยว การบริการระดับภาค ด้านการศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ พลังงานทดแทน แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการพัฒนาตามกลุ่มจังหวัด จังหวัดขอนแก่นได้ถูก กาหนดให้อยู่ในกลุ่มจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ “ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” และกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา รวม 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและแข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ภาพที่ 3-1 แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองจังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนา ร่วมกับจังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,2600)
  • 32. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 3 โครงการสาคัญ ได้แก่ 1. โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออกแบบครบวงจร (Distribution Center) 2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษและข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 3. โครงการกาหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน (Zoning) 4. โครงการส่งเสริมการทาสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความมั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับ เกษตรกร 5. โครงการกาหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้อง กับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุนด้านขนส่ง 6. โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน 7. โครงการบารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข 9 และ 12 นโยบาย แผนและโครงการพัฒนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง โดยมีโครงการในระดับ ประเทศและระดับภาค ได้แก่ 1. โครงการรถไฟรางคู่ช่วงชุมทางจิระ – ขอนแก่น เป็นโครงการพัฒนารถไฟทางคู่ใหม่ แนวเส้นทางมี ระยะทางโดยประมาณ 185 กิโลเมตร 2. โครงการ MICE CITY จังหวัดขอนแก่นได้รับคัดเลือกให้เป็น MICE CITY แห่งที่ 5 ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พัทยา ภูเก็ตและขอนแก่น) ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์หลักการพัฒนาจังหวัด 4 ปี (2557-2560) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่มุ่งสู่มหานครแห่งอาเซียน” 3. โครงการพุทธมณฑลอิสาน ทางจังหวัดขอนแก่นพร้อมกับคณะสงฆ์ได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑล อีสานจังหวัดขอนแก่น” เพื่อเป็นสถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่ประชุมอบรมสัมมนาและปฏิบัติธรรม ของประชาชนพระภิกษุสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาสังคมและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ขนาดใหญ่ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัด 4. ระบบรถโดยสารด่วนพิเศษที่มีโครงสร้างแบบบนดิน โดยมีความเหมาะสมกับเมืองขอนแก่ (ยุทธศาสตร์ ของการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, 2557 - 2560) 3.2 จังหวัดขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่านไปสู่ประตูอินโดจีน ดังแสดงในภาพที่ 6-2 โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการคมนาคมระหว่าง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาค อีสานสามารถเชื่อมโยงออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการส่วนกลางภูมิภาคซึ่งเป็นเครื่องมือที่ สาคัญในการให้บริการประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ทางหลวง
  • 33. รายงานการศึกษาโครงการการวางแผนสภาพแวดล้อมและการออกแบบชุมชนเมืองชาญฉลาด 3 - 4 แผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 209 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก ; EWEC) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 445 กิโลเมตร ภาพที่ 3-2 แสดงผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดขอนแก่น ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ทั้งหมด 10,886 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดอุบลราชธานี ตามลาดับ อีกทั้งยังมีขนาดใหญ่เป็น อันดับที่ 15 ของประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นมีขอบเขตพื้นที่ติดกับจังหวัดอื่นๆ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ จดจังหวัดอุดรธานี หนองบัวลาภู และ จังหวัดเลย ทิศใต้ จดจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก จดจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก จดจังหวัดเพชรบูรณ์ และ จังหวัดชัยภูมิ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น 106,583 บาทต่อคนต่อปี สูงเป็นอันดับ 1 ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ (กรุงเทพ 193,395 บาทต่อคนต่อปี) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ประจาปี 2557 มีมูลค่าจานวน 187,348 ล้านบาท ลาดับที่ 13 ของประเทศ และ ลาดับที่ 2 ของภาค (นครราชสีมา อันดับที่ 1) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี 2557 ร้อยละ 6.35