SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน:
เมืองเซี่ยงไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง
ดารณี เสือเยะ
ผูชวยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนยศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
http://kotpolski.files.wordpress.com/2013/05/img_5717.png
http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
1
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน:
เมืองเซี่ยงไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง
เรียบเรียงโดย
ดารณี เสือเยะ
ผูชวยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
โลกเราทุกวันนี้ กําลังกลายเปนเมืองมากขึ้นเรื่อย ๆ ในทศวรรษ 1800 ประชากรของโลกที่
อาศัยอยูในเมืองมีเพียง 3% เทานั้น แตในชวงทศวรรษ 1950 ตัวเลขของคนเมืองพุงขึ้นไปถึง 30% ใน
ปจจุบัน ประชากรที่อาศัยอยูในเมืองมีจํานวนมากกวา 50% มีการคาดคะเนวา ในป ค.ศ. 2030
ประชากรโลกจํานวนมากถึง2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด จะอาศัยอยูในเมือง
จากการศึกษาของ องคกรมาตรวิทยา ในกลุมยุโรปตะวันตก ( EURAMET) เมื่อป ค.ศ. 2013
พบวา เมืองตาง ๆ ทั่วโลกครอบคลุมพื้นที่เพียง2% ของพื้นผิวโลก แตกลับมีปริมาณการบริโภคพลังงาน
สูงถึง 75% ดังนั้น พลังงานและสิ่งแวดลอม (เชน การใชพลังงานอยางยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ) จึงเปนประเด็นที่ตองใหความสําคัญและปรับตัวรับมือเปนอันดับแรก ๆ โดยเฉพาะกับมหา
นคร (Mega Cities)
ภาพที่ 1 40 มหานครทั่วโลก
ที่มา: EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs/MegaCities.pdf
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
2
มหานคร(เมืองที่มีการกระจุกตัวของประชากรอยางหนาแนน มีประชากรที่อาศัย ( inhabit) อยู
ในเมืองนั้น ๆ มากกวา 10 ลานคน0
1
) กําลังเกิดขึ้นและกระจายตัวไปตามพื้นที่ตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะ
ทวีปเอเชีย (ดูภาพที่ 1) ที่มีการกระจุกตัวของมหานครอยางหนาแนน โดยที่ 40 มหานครนั้นเปน
ตัวแทนของประชากรราว 300 ลานคน ที่ทําใหเกิด GDP ของโลก 18% และเปนสาเหตุของการปลอย
กาซคารบอนไดออกไซด 10% โดยมีประเทศจีนเปนตัวแปรสําคัญของการปลดปลอยกาซพิษดังกลาวขึ้น
สูชั้นบรรยากาศโลก
จากการเปดเผยรายงานประจําป ค.ศ. 2013ของหนวยงานการประเมินสิ่งแวดลอมของประเทศ
เนเธอรแลนด ( Netherlands Environmental Assessment Agency)1
2
พบวา ปริมาณการปลอยกาซ
คารบอนไดออกไซดทั่วโลก ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล ไมวาจะเปนถานหิน
น้ํามัน หรือกาซธรรมชาติ ของป ค.ศ. 2011 สูงขึ้นถึง 3% แตะระดับ 34,000 ลานตันเปนอยางนอย ทั้งนี้
จีนกลายเปนประเทศที่ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูงเปนอันดับ 1 ของโลก ดวยกับปริมาณเฉลี่ย 6-
19 ตัน/คน ในชวงของการกาวขามมาเปนประเทศอุตสาหกรรมรายใหญของโลก โดยปริมาณการปลอย
กาซคารบอนไดออกไซดกวารอยละ 70 ของป ค.ศ. 2012 เกิดจากประเทศจีน
แมจีนจะเปนประเทศที่ติดอันดับตน ๆ ของโลก เรื่องการบริโภคพลังงานจํานวนมหาศาล ซึ่ง
กอใหเกิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกก็ตาม แตเมืองเซี่ยงไฮและเมืองหาง
โจว มณฑลเจอเจียง ก็สามารถเปนหนึ่งในตนแบบเกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมภายใตการ
เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศของมหานครตาง ๆ เพื่อนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยาง
ยั่งยืนของคนเมือง
1
EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs
/MegaCities.pdf
2
Jos Olivier. (2013). Trends in global CO2 emissions; 2013 Report, 25 June 2014. p. 5-6.
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
3
เซี่ยงไฮ มหานครตนแบบดานการรับมือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของเมือง
“เซี่ยงไฮ” แปลวา “อยูสูงจากทะเล” ชื่อเมืองถูกตั้งตามทําเลที่ตั้งเมื่อพันกวาปที่ผานมา ผู
บุกเบิกเมืองคงจินตนาการไมออก ถึงสถานการณในปจจุบันที่เมืองเซี่ยงไฮกําลังเผชิญอยู เมืองที่อยูต่ํา
กวาระดับน้ําทะเล
มหานครเซี่ยงไฮตั้งอยูบริเวณชายฝงดานทิศตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟก ตอนกลางของ
ประเทศจีน ใกลกับปากแมน้ําแยงซีเกียง บริหารงานแบบเทศบาลนครที่มีสถานะเทียบเทามณฑลหนึ่ง
ขึ้นตรงตอรัฐบาลกลาง มีขนาดใหญเปนอันดับสองของประเทศจีน (รองจากเมืองกวางโจว) จํานวน
ประชากรที่มีมากถึง 25,300,000 คน2
3
(มากเปนอันดับ 5 ของโลก) ความหนาแนนของประชากรตอ
พื้นที่อยูที่ 4,887 คนตอตารางกิโลเมตรมีสัดสวนความเปนพื้นที่เมืองที่ใหญที่สุดในโลก
จากภาพที่ 2 พบวา นับตั้งแตป ค.ศ. 1990 เปนตนมา พื้นที่ความเปนเมือง ( Urban land) ของ
เซี่ยงไฮเพิ่มมากขึ้นอยางเห็นไดชัด สวนทางกับการลดลงของพื้นที่เพาะปลูก ( Cropland) และสัดสวนที่
เปนพื้นน้ํา (Water body) กับพื้นที่สีเขียว (Green land) ที่ขยายออกอยางชา ๆ
3
EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs
/MegaCities.pdf
ภาพที่ 1สัดสวนการใชประโยชนจากที่ดินของเมืองเซี่ยงไฮ
ที่มา:Shanghai Meteorological Bureau . Climate Change in Mega-City Shanghai and its impacts [online],
6 June 2014. Retrieved: http://www.atse.org.au/Documents/International%20Colloboration/Workshops/Aust%
20China%20Science%20and%20Tech/Climate%20Change/Zhan.pdf
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
4
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอเมืองเซี่ยงไฮ
สถานะของมหานครเซี่ยงไฮที่มีตอประเทศจีนก็เชนเดียวกับที่มหานครนิวยอรกมีตอประเทศ
สหรัฐอเมริกา กลาวคือ สัญลักษณแหงความสําเร็จ หรือเปนสัญญาณเตือนแหงความเจ็บปวดที่กําลังคืบ
คลานเขามา ในอดีตนิวยอรกเปนเมืองศูนยกลางของอุตสาหกรรม เต็มไปดวยโรงงานอุตสาหกรรมขนาด
ใหญ ซึ่งเกือบจะเปนสาเหตุที่นําไปสูการลมสลายของเมือง ภาวะโลกรอนทําใหระดับน้ําทะเลทั่วโลกเพิ่ม
สูงขึ้น เชนเดียวกันมหานครเซี่ยงไฮ ประเทศจีน ตั้งแต ป ค.ศ. 1920-1930 เปนตนมา จมตัวลงกวา 2.8
เมตรการเผชิญกับปญหาเรื่องสิ่งแวดลอม พายุไตฝุนและทอรนาโดคือความผิดปกติที่ปรากฏขึ้นบอยครั้ง
และสถานการณที่เมืองกําลังจมลง หากไมมีการวางแผนการเติบโตของเมืองในอนาคต เซี่ยงไฮจะจมลง
1.5 เซนติเมตร ทุก ๆ ปเปนสัญญาณเตือนที่เซี่ยงไฮตองเลือกระหวางปรับตัวหรือหายนะ ( Adapt or
Die) เชนที่นิวยอรกเคยเลือกมาแลว
สาเหตุสําคัญที่ทําใหเซี่ยงไฮจมน้ําทะเลก็คือ การสูบน้ําจากใตดินมาใชเปนจํานวนมาก ดังนั้น
หนึ่งในวิธีการแกปญหาการทรุดตัวของรัฐบาลเซี่ยงไฮ คือ การติดตั้งทอสูบน้ําจากทะเลสาบไทหูมาใช
บริโภคในมหานครเซี่ยงไฮแทนที่การสูบน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลขึ้นมา นอกจากนี้ ยังมีการสรางเขื่อน
บริเวณชายฝงเพื่อปองกันการกัดเซาะพื้นดิน และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในมหานครเซี่ยงไฮใหมากที่สุด
เทาที่จะทําได
แนวทางในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การกอสรางประตูระบายน้ํา
เมืองเซี่ยงไฮพิจารณาแลวเห็นวา ควรกอสรางประตูระบายน้ําบริเวณปากแมน้ําแยงซีเกียง
เนื่องจากสามารถเปดหรือปดประตูระบายน้ําไดตามปริมาณของน้ําในแมน้ําที่เปลี่ยนแปลงไปตามแต
ฤดูกาล สามารถควบคุมปริมาณน้ําที่ตองการใหไหลผานควบคุมความเร็วของน้ํา หรือใชในการกักเก็บ
น้ําได ในขณะเดียวกันประตูระบายน้ํายังชวยปองกันในกรณีที่เกิดพายุอีกดวย
นอกจากเหตุผลเรื่องประสิทธิภาพของการควบคุมปริมาณน้ํา ประตูระบายน้ํายังมีตนทุนในการ
กอสรางนอยกวาการปรับพื้นที่ของเขื่อนใหสูงขึ้น ซึ่งทางรัฐบาลเซี่ยงไฮใชงบประมาณในการบริหาร
จัดการน้ําทวมในรอบ 10 ปที่ผานมา มากกวา 6 พันลานดอลลารสหรัฐ
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
5
การเพิ่มพื้นที่ชุมน้ํา
มหานครเซี่ยงไฮยังคงใชวิธีเสริมแนวกันน้ําทวมบริเวณริมแมน้ํา ซึ่งบางครั้งกลายเปนตัวการที่
สรางความเสียหายตอพื้นที่ริมแมน้ํามากกวา อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรและความ
พยายามในการสงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหเพิ่มขึ้นในปริมาณเทาตัวทุก ๆ ป ทําใหพื้นที่ชุม
น้ําบริเวณชายฝงคอย ๆ ลดลง และถูกแทนที่ดวยกับโรงงานอุตสาหกรรมและอะพารตเมนตจํานวนมาก
ซึ่งตองการพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อการปลูกสรางโรงงานและอะพารตเมนตแหงใหมที่ไมมีสิ้นสุดเนื่องจากพื้นที่
ชุมน้ําเหลานี้ ไมไดเปนเพียงที่อยูอาศัยของสรรพสัตวเทานั้น แตยังทําหนาที่เปนเกราะคุมกันอีกกวา 22
ลานคนในเมืองเซี่ยงไฮจากภัยธรรมชาติอีกดวย
พื้นที่กิจกรรมเหลานี้เปนเสมือนเชื้อเพลิงที่ใหพลังงานแกเศรษฐกิจของมหานคร แตในสมรภูมิ
ของการตอสูกับภาวะโลกรอนหรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ สิ่งเหลานี้คือตัวแปรสําคัญที่ทํา
ใหสุขภาวะของเมืองออนแอลง
ผูเชี่ยวชาญเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากคณะกรรมการปกปองทรัพยากรธรรมชาติ
(The Natural Resources Defense Council) กลาววา ในขณะที่รถแทรกเตอรกําลังจัดการขุดพืชชนิด
ตาง ๆ ในพื้นที่ชุมน้ําออกไป เพื่อแทนที่ดวยกับอาคารหลังใหมนั่นเทากับวามหานครเซี่ยงไฮกําลัง
สูญเสียแนวปองกันตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถลดการกัดเซาะหนาดินและชวยลดการปะทะของคลื่นลม
พายุ
ดังนั้น การแกปญหานี้จึงอยูที่การหันกลับมาใหความสําคัญกับพื้นที่ชุมน้ําเพื่อทดแทนในสวนที่
แผวถางไป หนึ่งในวิธีการที่เซี่ยงไฮกําลังดําเนินการอยูก็คือเปลี่ยนตัวเองไปสูการใชเครื่องมือทาง
เศรษฐกิจใหม โดยการคัดทายออกจากภาคอุตสาหกรรมที่หิวกระหายพื้นที่ในการกอสรางโรงงานและมุง
หัวเรือการพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองไปสูภาคการเงินการธนาคารที่ตองการเพียงแคโตะกับคอมพิวเตอร
ในการทํางานเทานั้น3
4
นอกจากนี้ เมืองเซี่ยงไฮยังแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการจัดการกับการปลอยกาซเรือน
กระจกออกสูชั้นบรรยากาศ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
4
Coco Liu of ClimateWire. (2011). Shanghai Struggles to Save Itself From the Sea [online], 6 June 2014.
Retrieved: http://www.nytimes.com/cwire/2011/09/27/27climatewire-shanghai-struggles-to-save-itself-from-the-
s-43368.html?pagewanted=all
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
6
การลดปริมาณกาซเรือนกระจก
ตั้งแตป ค.ศ. 1994 เปนตนมา เซี่ยงไฮไดปรับปรุงระบบรางรถไฟใหมีความเชื่อมโยงกันทั่วทั้ง
เมือง จนในปจจุบันถือวาเปนระบบที่มีความยาวมากที่สุดในโลก จูงใจใหประชาชนจอดรถไวที่บาน และ
หันมาใชระบบรถโดยสารสาธารณะเพิ่มมากขึ้น
ในขณะที่เซี่ยงไฮกําลังดําเนินการเรื่องพลังงานสะอาด ประเทศจีนไดแถลงโครงการจําหนาย
กระแสไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยของจีนใหแกกริด ( Grid) หรือเครือขายพลังงานไฟฟาที่เชื่อมโยง
กันและกระจายทรัพยากรใหแกกัน ซึ่งตอมากลายเปนฟารมกังหันลม ( Wind Farm) นอกพื้นที่ยุโรปที่
ใหญที่สุดแหงแรกของโลก และดวยการชวยเหลือดานเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย กระแสไฟฟาจาก
พลังงานน้ําถูกสงไปยังมหานครเซี่ยงไฮดวยกับระยะทางไกลกวาพันไมล สงผลใหเซี่ยงไฮพัฒนามาเปน
เมืองพลังงานสะอาดที่ใหญที่สุดแหงใหมของโลก
อยางไรก็ตาม กระแสไฟฟาครึ่งหนึ่งของเมืองก็ยังคงผลิตมาจากถานหิน ซึ่งเปนตัวการสําคัญที่
กอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด เพื่อที่จะลดปริมาณกาซเรือนกระจก เซี่ยงไฮจําเปนตองลดการ
บริโภคพลังงานใหนอยลง ผานการออกกฎบังคับใหอาคารตาง ๆ ตองมีเครื่องทําน้ํารอนพลังงาน
แสงอาทิตย (Solar Water Heaters) มาตรการขึ้นราคาคาไฟฟากับอุตสาหกรรมที่ไมมีประสิทธิภาพใน
การผลิต กลาวคือ เปนการผลิตที่มีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาสูง รวมทั้งอุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก
ซีเมนต และโรงงานผลิตหนัง
รัฐบาลใชวิธีการใหแรงจูงใจ ( carrots) รวมกับการออกคําสั่งและการขอความรวมมือตลอด
ระยะเวลาของการดําเนินงาน ทั้งในระดับภาคอุตสาหกรรมที่สามารถเขาถึงการชวยเหลือทางดาน
การเงินเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น และในระดับครัวเรือนตางไดรับ
เงินสวนลดจากรัฐบาลหากเปลี่ยนมาใชหลอดไฟและเครื่องปรับอากาศแบบประหยัดพลังงาน
ผลการดําเนินงานปรากฏวา สามารถลดการใชพลังงานในมหานครเซี่ยงไฮไดมากถึง 20% โดย
วัดจากหนวยไฟฟาตอผลผลิตทางเศรษฐกิจ ระหวางป ค.ศ. 2007-2011 รัฐบาลเซี่ยงไฮไมเพียงแตให
คํามั่นสัญญาวา จะรักษาระดับการลดใชพลังงานใหอยูที่ 20% ตอไปในอนาคตเทานั้น แตยังเปนครั้งแรก
ที่มหานครสามารถควบคุมปริมาณการใชพลังงานของเมืองได
อยางไรก็ตาม แมจะมีมาตรการกระตุนการลดใชพลังงานผานเครื่องมือทางการเงินหรือการออก
กฎหมาย หากรัฐบาลเซี่ยงไฮยังคงอนุญาตใหมีการกอสรางอาคารเพิ่มอีกตอไปเรื่อย ๆ พรอมกับพื้นที่สี
เขียว จํานวนตนไม และผืนดินที่ลดลง ความสามารถของเมืองในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดก็
ยังคงลดลงอยูดี
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
7
ลาสุด รัฐบาลเซี่ยงไฮไดผลักดันเรื่องการทําสวนในอาคาร ซึ่งจะเปนผลใหในป ค.ศ. 2015
อาคาร หลังคา และผนังของอาคารที่จะปลูกสรางใหมและอาคารที่มีอยูเดิมจะตองปลูกตนไม พุมไม หรือ
ดอกไมในบริเวณโดยรอบของอาคาร คาดวา จะสามารถสรางพื้นที่ดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดขนาด
ใหญแหงใหม ซึ่งมีปริมาณการดูดซับกาซพิษประมาณครึ่งหนึ่งของขนาดสวนสาธารณะเซ็นทรัลพารก
(New York’s Central Park) ที่มีขนาดประมาณสนามฟุตบอล 460 สนามเรียงตอกัน
ภาพที่ 3 เมืองเซี่ยงไฮ
ที่มา: http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
8
เมืองหางโจวมณฑลเจอเจียง เมืองโดดเดนดานการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมของเมือง
เราอาจจะสังเกตจากกรณีศึกษา ในหลาย ๆ เมืองที่หันมาปฏิรูปแนวทางการพัฒนาในอนาคต
ของแตละเมืองไดวา เมืองที่มีระบบการบริหารจัดกาเรื่องสิ่งแวดลอมไดดีนั้น สวนใหญลวนมีการพัฒนา
ดานเศรษฐกิจที่มั่นคงเต็มที่จนสามารถหันมาใหความสําคัญกับประเด็นเรื่องความสุขของคนที่อาศัยอยู
ในเมือง เมืองหางโจว มณฑลเจอเจียงก็เชนเดียวกัน
หางโจวเปนเมืองหลวงของมณฑลเจอเจียงซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของประเทศจีน บนที่ราบน้ํา
ทวมถึงริมฝงแมน้ําแยงซี เจริญรุงเรืองหลังจากที่มีการขุดคลองคลองตายวิ่นเหอ (The Grand Canal) ใน
สมัยราชวงศสุย (581-618) ถือเปน 1 ใน 6 ของเมืองโบราณที่มีชื่อเสียงของจีน (อีก 5 เมืองที่เหลือ คือ
ปกกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง และไคเฟง)พื้นที่สวนใหญถูกลอมรอบดวยภูเขา มีเนื้อที่ประมาณ 1 ใน
5 ของประเทศไทย แตมีจํานวนประชากรเทากับประเทศไทย สงผลใหมีปญหาเรื่องความหนาแนนของ
ประชากรและพื้นที่เกษตรกรรมมีนอย ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของเมืองนี้คือ การทองเที่ยว
เมืองหางโจวไดรับการกลาวขานวาเปน “สวรรคบนดิน” (Paradise on Earth) ดวยกับความ
สวยงามของทะเลสาบซีหู (ทะเลสาบตะวันตก) และสถานที่สําคัญอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ขึ้นชื่อวามี
ธรรมชาติอันวิจิตรงดงามราวกับจิตรกรฝมือดีบรรจงรังสรรคเอาไวก็มิปาน ตัวอาคารบานเรือน ของเมือง
หางโจวจะกอสรางไมสูงมากนัก ตึกใหญจะสูงเพียงแค 7-8 ชั้นเทานั้น เนื่องจากเกรงวาจะบดบังทิวทัศน
ที่สวยงามโดยรอบของเมือง นอกจากนี้หางโจวยังขึ้นชื่อเรื่องอุตสาหกรรมผาไหมที่เกิดขึ้นตั้งแตศตวรรษ
ที่ 75
และยังคงความงดงามและไดรับการกลาวถึงมาจนปจจุบัน
5
Hangzhou -- 'Paradise on Earth'. [online], 8 July 2014. Retrieved:http://www.china.org.cn/english/TR-
c/41940.htm
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
9
ภาพที่ 4 ทะเลสาบซีหู (West Lake)
ที่มา: http://en.gotohz.com/whyhangzhou/wlh/wlhabout/201307/t20130716_86499.shtml#sthash.fl29eftD.dpbs
ทะเลสาบซีหู: มรดกโลกทางวัฒนธรรม
หนึ่งในตัวแบบการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่สําคัญหนึ่งของเมืองหางโจว คือ การฟนฟู
ทะเลสาบซีหู ที่อยูตรงใจกลางของเมืองหางโจว มีความยาวจากทิศ เหนือถึงทิศใต3.3 กิโลเมตร และ
ความกวางจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก 2.8 กิโลเมตร พื้นที่สวนหนึ่งเปนทะเลสาบตามธรรมชาติ
ขณะที่พื้นที่บางสวนก็ถูกขุดขึ้นมาทีหลัง
ซีหูเปนทะเลสาบที่ทอดยาวทางดานตะวันตกของเมืองหางโจว เกิดจากการที่ อาวเล็ก ๆ บริเวณ
ปากแมน้ําเฉียนถัง(Qiantang)แยกตัวออกจากทะเลเนื่องมาจากตะกอนของแมน้ําจนกลายเปนทะเลสาบ
มีเกาะขนาดประมาณ 6 ตารางกิโลเมตร ภูเขาลอมรอบทั้งสามดาน น้ําในทะเลสาบใสสะอาดงดงาม
เขื่อนไป (Bai) เขื่อนดินที่พาดยาวจากทิศตะวันออกไปจรดทิศตะวันตก และเขื่อนซู (Su)ที่ทอดตัวจาก
ทิศเหนือจรดทิศใต เสมือนเข็มขัดเขียวสองเสนที่ลอยอยูในทะเลสาบนักทองเที่ยว สามารถเดินบนเขื่อน
ดิน ชมดอกไมหลากสีสันและตนไมสีเขียวหลากชนิดโดยรอบบริเวณ สามารถมองแสงสะทอนของน้ําใน
ทะเลสาบและภูเขาที่หางไกลออกไป
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
10
ทะเลสาบซีหูมีพื้นที่หลายสวนดวยกัน แบงเปนทะเลสาบใน ( The Inner Lake) ทะเลสาบนอก
(The Outer Lake) ซึ่งมีหมูเกาะ 3 เกาะอยูในบริเวณนี้ ทะเลสาบยู ( Yue Lake) ทะเลสาบในตะวันตก
(West Inner Lake) และทะเลสาบใตเล็ก (Small South Lake)
นอกจากความสวยงามที่เกิดจากธรรมชาติรอบ ๆ ทะเลสาบแลว บริเวณเนื้อที่ประมาณ 50
ตารางกิโลเมตรรอบ ๆ ทะเลสาบยังเต็มไปดวยสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร ศาลา เสา เจดีย และถ้ํา
รวมไปถึง น้ําพุ ไอน้ํา และสระน้ํา ตางเรียงรายอยูบนเนินเขาสีเขียวรอบทะเลสาบนับเปนทะเลสาบที่
งดงามมากในสุดจากบรรดาทะเลสาบที่มีชื่อเดียวกัน (West Lake)5
6
ในประเทศจีน
หลายทานอาจนึกภาพทะเลสาบซีหูตอนสกปรกไมได ครั้งหนึ่งทะเลสาบถูกปลอยปละละเลยจน
น้ําในทะเลสาบไมใสสะอาดและสวยงามเชนในปจจุบันรัฐบาลทองถิ่นเริ่มดําเนินการฟนฟูตั้งแต ป ค.ศ.
2002 แกปญหาโดยการยายคนที่อาศัยอยูบริเวณรอบทะเลสาบซีหูออกไปอยูที่อื่น แลวเริ่มสราง
สวนสาธารณะ 4 แหง บริเวณตอนใตของทะเลสาบ สรางพื้นที่สีเขียวขึ้นมาเพื่อดึงดูดใหนักทองเที่ยวจาก
ภายนอกเขามาเยี่ยมชม โดยไมคิดคาบริการตลอด 24 ชั่วโมง 7 วันตอสัปดาห, ออกกฎหามกอสราง
อาคารขนาดใหญบริเวณทะเลสาบซีหู นอกจากนี้ รัฐบาลเมืองหางโจวยังยอมจายเงินจํานวนมากใหแก
มณฑลอานฮุย ตนน้ําของทะเลสาบเชียนเตาหูที่มณฑลเจอเจียงใชในการอุปโภคบริโภค เพื่อใหมณฑล
อานฮุยรักษาตนน้ําใหดี
อันเนื่องมาจากคุณคาทางวัฒนธรรมและความสวยงาม ทําใหทะเลสาบซีหูไดรับการขึ้นทะเบียน
เปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองคการยูเนสโกใน ป ค.ศ. 2011 โดยใหเหตุผลวา ทะเลสาบซีหูแสดง
ใหเห็นถึงความสวยงามแบบจีน การออกแบบที่ผสมผสานแนวคิดระหวางมนุษยและธรรมชาติเขา
ดวยกันตามประเพณีของชาวจีน มีการใชสิ่งกอสรางจากฝมือของมนุษย เชน วัด เจดีย สวน และเกาะ
เทียม รวมกับภูมิประเทศที่เปนทะเลสาบขนาดใหญ จนไดงานศิลปะที่งดงามและกลมกลืน นับเปนสมบัติ
ทางวัฒนธรรมที่สรางแรงบันดาลใจใหแกกวีและศิลปนรังสรรคผลงานมาเปนระยะเวลายาวนานหลาย
ศตวรรษ และยังมีอิทธิพลตอการออกแบบสวนในที่อื่น ๆ อีกดวย
6
ซีหู หมายถึง ทะเลสาบตะวันตก ทั่วประเทศจีนมีทะเลสาบซีหูมากถึง 36 แหง แตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือทะเลสาบซีหู
แหงเมืองหางโจว
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
11
ภาพที่ 5 สถานีใหบริการเชารถจักรยาน
ที่มา: http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6a/Hangzhou_bike_sharing_station.jpg
เมืองจักรยาน
เมืองหางโจวในฐานะเมืองหลวงของมณฑลเจอเจียง ถือไดวาเปนเมืองที่มีความมั่งคั่งทาง
เศรษฐกิจเปนอยางมาก และการที่เปนเมืองใหญทําใหหางโจวตองเผชิญกับปญหารถติดเชนที่เมืองใหญ
อื่น ๆ มักจะเผชิญ หนึ่งในวิธีการแกปญหาของเมืองหางโจว คือ การจัดทําระบบรถจักรยานใหเชา (Bike
Sharing Programe) โดยมีรัฐบาลเปนผูสนับสนุนหลัก เริ่มดําเนินการมากวา 5 ปแลว ปจจุบันมีจักรยาน
ในโครงการใหเชากวา 50,000 คัน และเปนตนแบบโครงการจักรยานใหเชาในเมืองใหญอื่น ๆ ของ
ประเทศจีน
เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 รัฐบาลหางโจวไดเปดตัวโครงการระบบรถจักรยานใหเชา
(Bike Sharing System) แหงแรกของประเทศจีน และเปนระบบรถจักรยานใหเชาที่ใหญที่สุดในโลกอีก
ดวย6
7
เพื่อสงเสริมระบบการขนสงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมใหขยายตัวออกไป ทั้งคนในเมืองหางโจวและ
นักทองเที่ยวสามารถเชารถจักรยานและใชขี่บนเสนทางจักรยานโดยเฉพาะ ( Bike Lane) ที่มีระยะทาง
กวารอยกิโลเมตร
7
ICLEI. (2011). Hangzhou, China The world’s largest bike sharing program [online], 8 July 2014.
Retrieved: http://www.ecomobility.org/fileadmin/template/project_templates/ecomobility/files/Publications/Case_
stories_EcoMobility_Hangzhau_PDF_print.pdf
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
12
ระบบรถจักรยานใหเชาในเมืองหางโจวนั้นถูกออกแบบ ดําเนินการ และใชงบประมาณจาก
รัฐบาลทองถิ่นทั้งหมด เพื่อใหครอบคลุมกิโลเมตรสุดทายจากสถานีรถโดยสารสาธารณะไปยังจุดหมาย
ปลายทางหรือการเดินทางไปยังสถานีรถโดยสารสาธารณะ งบประมาณหลายรอยลานหยวนถูกนํามาใช
ในการลงทุน
ระบบรถจักรยานใหเชา
รัฐบาลหางโจวนําระบบบัตรอิเล็กทรอนิกสมาใชในการจัดการแทนแรงงานมนุษย กวา 80% ของ
สถานีรถจักรยานใหเชาในเมืองหางโจวไมมีเจาหนาที่ประจําดูแล (ดูภาพที่ 5) ผูใชตองบริการตนเอง
เพียงแตะบัตรที่เครื่องล็อกรถ (ดูภาพที่ 6) เพื่อใหเครื่องปลดล็อกทํางาน เราจะเห็นสัญญาณไฟสีเขียว
กระพริบ ระบบจะหักเงินจากบัตร 200 หยวน และเริ่มนับชั่วโมงการใหบริการ เมื่อใชรถจักรยานเสร็จ
เรียบรอยแลว วิธีการคืนรถจักรยานก็ไมยุงยาก ผูใชเพียงแคนํารถไปจอดบริเวณชองจอดรถจักรยาน
ที่วางอยู แตะบัตรที่เครื่อง ก็จะไดรับเงินคืน
ภาพที่ 6 วิธีการใชบริการ
ที่มา:http://untappedcities.com/wp-content/uploads/2013/07/Bike-Sharing-Program-global-China-Untapped-
Cities-Celeste-Zhou5.jpg
เนื่องจากการคํานวณคาบริการรถจักรยานใหเชาจะเริ่มคิดเงินเมื่อผูใชขี่จักรยานเกิน 1 ชั่วโมง
ปรากฏวา ประชาชนสวนใหญใชระบบรถจักรยานใหเชาเฉพาะในชวงแรกหรือชวงสุดทายของการ
เดินทางเทานั้น ทําให 96% ของการใชบริการมีระยะเวลาไมถึงหนึ่งชั่วโมง โดยมีอัตราการขี่จักรยาน
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
13
เฉลี่ยอยูที่ 23 นาที รัฐบาลเมืองหางโจวจึงไดกําไรจากคาบริการไมมากนัก การเปดใหเชาพื้นที่โฆษณา
บนรถจักรยานจึงกลายมาเปนแหลงรายไดหลัก ซึ่งมากพอที่จะกําหนดราคาคาเชาบริการในอัตราที่ต่ํา
มาก ๆ ได กลาวคือ คาบริการ 1 หยวน สําหรับ 1-2 ชั่วโมง 2 หยวน สําหรับ 2-3 ชั่วโมง และคาบริการ
3 หยวน สําหรับการขี่ที่มากกวา 3 ชั่วโมงขึ้นไป
ภาพที่ 7 ปริมาณการใชบริการระบบรถจักรยานใหเชา
ที่มา:ICLEI. (2011). Hangzhou, China The world’s largest bike sharing program [online], 8 July 2014.
Retrieved: http://www.ecomobility.org/fileadmin/template/project_templates/ecomobility/files/Publications/Case_
stories_EcoMobility_Hangzhau_PDF_print.pdf
เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008เมืองหางโจวมีสถานีบริการใหเชารถจักรยาน 61 แหง
รถจักรยานทั้งหมด 2,800 คัน กอนที่ในปลายป ค.ศ. 2009 จะมีการขยายสถานีบริการใหเชา
รถจักรยานเพิ่มขึ้นเปน 2,200 สถานี และรถจักรยานอีก 60,600 คัน คุณสามารถพบสถานีบริการทุก
100 เมตร ตั้งแตเปดใหบริการ ตัวเลขผูใชบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เฉลี่ย 240,000 เที่ยว/วัน ตัวเลข
การใชบริหารที่มากที่สุด คือ 320,000 เที่ยว/วัน
สัดสวนการใชรถจักรยานในการเดินทางของเมืองหางโจวอยูที่ 43% ซึ่งระบบรถจักรยานใหเชา
ก็รวมอยูในนั้นดวย การเดินทางโดยรถจักรยานของเมืองหางโจวตอวันคิดเปนระยะทาง 1,123,200
กิโลเมตร ในระยะทางที่เทากัน หากเปนการเดินทางโดยใชรถจักรยานยนตจะปลอยกาซคารบอนไดออก
ไซคในปริมาณที่มากกวา 200,000 กิโลกรัม อางอิงจากตัวเลขนี้ เปาหมายของรัฐบาลหางโจวที่จะเพิ่ม
จํานวนรถจักรยานใหเชาเปน 175,000 คัน ในป ค.ศ. 2020 เพื่อเพิ่มศักยภาพของเมืองหางโจวในการ
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
14
ลดปริมาณกาซเรือนกระจก จะสามารถกําจัดกาซพิษเหลานี้ไดมากกวาในปจจุบันถึง 3 เทาทีเดียว
ถอดบทเรียน
จากกรณีศึกษาทั้งสองเมืองลวนเปนแนวทางในการนํามาประยุกตใชกับกรุงเทพมหานครใน
ฐานะมหานครและเมืองใหญอื่น ๆ ทั่วประเทศไทย มหานครฮองกงที่เผชิญหนากับปญหาแผนดินทรุด
และระดับน้ําทะเลหนุนสูงทําใหเสี่ยงตอการที่เมืองจะจมลงทะเล ก็เชนเดียวกับปญหาที่มหานครกรุงเทพ
กําลังเผชิญ โดยมีสาเหตุหลักที่เหมือนกัน คือ ในอดีตมีการขุดเจาะน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลมาใชเปน
จํานวนมาก ปญหาหลายอยางไดเกิดขึ้นไปแลว เชน การพังทลายของอาคารสูง ภาพถายทางดาวเทียว
ที่แสดงใหเห็นพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะเขามาเรื่อย ๆ หลายปญหาสามารถจัดการได ในขณะที่อีกหลายปญหา
ยังเปนเหมือนขยะที่ซุกอยูใตพรม ยังไมแสดงออกมาใหเราเห็น
กรณีของเมืองหางโจว ที่มีตนทุนทางธรรมชาติที่สวยงามอยางทะเลสาบซีหู ตัวอยางการบริหาร
จัดการของรัฐบาลทองถิ่นที่ดี การรวมมือกันระหวางทองถิ่นแตละแหงดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่ตางฝาย
ตางใชประโยชนรวมกัน หรือกรณีการจัดทําระบบจักรยานใหเชา อาจหมายรวมไปถึงการจัดการระบบ
ขนสงสาธารณะที่มีประสิทธิภาพเขามาดวย หากรัฐบาลทองถิ่นวางแผนอยางเปนระบบ วิเคราะหความ
เปนไปไดและความเหมาะสมของแตละพื้นที่ คอย ๆ ดําเนินการไปทีละจุด ๆ กวาจะครอบคลุมและ
เชื่อมตอกันอาจตองใชระยะเวลาในการเห็นผลลัพธและความเสียสละของประชาชนในเมืองมาก
พอสมควร แตเชื่อเหลือเกินวา หากรัฐบาลมีความโปรงใสและชี้แจงขอมูลแกประชาชนอยางสม่ําเสมอ
การจะไดรับความรวมมือคงเปนสิ่งที่ไมยากจนเกินไป
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
15
ภาคผนวก
10 มุมมองที่งดงามของทะเลสาบซีหู7
8
1. รุงอรุณในฤดูใบไมผลิที่เขื่อนซู 2. ชมดอกบัวและสายลม
3. ดวงจันทรในคืนที่เงียบสงบของฤดูใบไมรวง 4. ภาพหิมะละลายบนสะพาน
8
Visit West Lake – Ten Scenic Sites of West Lake. [online], 8 July 2014. Retrieved:http://en.chinatefl.com/
Platform/Pub_CityGuides_details.aspx?id=2&type=5&cityid=1
การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน
16
5. ฟงนกขมิ้นรองเพลงบนตนหลิว 6. ดูปลาและดอกบัวที่บอน้ํา
7. พระอาทิตยตกดินสองแสงจากวาเจดียเหลยเฟง 8. ยอดเขาแฝดสูงทะลุกอนเมฆ
9. ตีระฆังตอนเย็นที่ภูเขาหนานผิง 10. สระน้ําทั้งสามสะทอนเงาดวงจันทร

More Related Content

Similar to การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furdโครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา FurdUkrit Chalermsan
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
หนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบัน
หนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบันหนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบัน
หนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบันKlangpanya
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3Wichai Likitponrak
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวFURD_RSU
 
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...Research team Silpakorn University
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวicecenterA11
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Similar to การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน (14)

โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furdโครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
หนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบัน
หนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบันหนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบัน
หนิงโป : เมืองท่าสำคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีตและปัจจุบัน
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียวกลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
กลุ่มมือเย็นเมืองเย็น : การขับเคลื่อนสู่เมืองสีเขียว
 
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน

  • 1. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน: เมืองเซี่ยงไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง ดารณี เสือเยะ ผูชวยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนยศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต http://kotpolski.files.wordpress.com/2013/05/img_5717.png http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm
  • 2. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 1 การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน: เมืองเซี่ยงไฮ และเมืองหางโจว มณฑลเจอเจียง เรียบเรียงโดย ดารณี เสือเยะ ผูชวยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง โลกเราทุกวันนี้ กําลังกลายเปนเมืองมากขึ้นเรื่อย ๆ ในทศวรรษ 1800 ประชากรของโลกที่ อาศัยอยูในเมืองมีเพียง 3% เทานั้น แตในชวงทศวรรษ 1950 ตัวเลขของคนเมืองพุงขึ้นไปถึง 30% ใน ปจจุบัน ประชากรที่อาศัยอยูในเมืองมีจํานวนมากกวา 50% มีการคาดคะเนวา ในป ค.ศ. 2030 ประชากรโลกจํานวนมากถึง2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด จะอาศัยอยูในเมือง จากการศึกษาของ องคกรมาตรวิทยา ในกลุมยุโรปตะวันตก ( EURAMET) เมื่อป ค.ศ. 2013 พบวา เมืองตาง ๆ ทั่วโลกครอบคลุมพื้นที่เพียง2% ของพื้นผิวโลก แตกลับมีปริมาณการบริโภคพลังงาน สูงถึง 75% ดังนั้น พลังงานและสิ่งแวดลอม (เชน การใชพลังงานอยางยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ) จึงเปนประเด็นที่ตองใหความสําคัญและปรับตัวรับมือเปนอันดับแรก ๆ โดยเฉพาะกับมหา นคร (Mega Cities) ภาพที่ 1 40 มหานครทั่วโลก ที่มา: EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs/MegaCities.pdf
  • 3. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 2 มหานคร(เมืองที่มีการกระจุกตัวของประชากรอยางหนาแนน มีประชากรที่อาศัย ( inhabit) อยู ในเมืองนั้น ๆ มากกวา 10 ลานคน0 1 ) กําลังเกิดขึ้นและกระจายตัวไปตามพื้นที่ตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะ ทวีปเอเชีย (ดูภาพที่ 1) ที่มีการกระจุกตัวของมหานครอยางหนาแนน โดยที่ 40 มหานครนั้นเปน ตัวแทนของประชากรราว 300 ลานคน ที่ทําใหเกิด GDP ของโลก 18% และเปนสาเหตุของการปลอย กาซคารบอนไดออกไซด 10% โดยมีประเทศจีนเปนตัวแปรสําคัญของการปลดปลอยกาซพิษดังกลาวขึ้น สูชั้นบรรยากาศโลก จากการเปดเผยรายงานประจําป ค.ศ. 2013ของหนวยงานการประเมินสิ่งแวดลอมของประเทศ เนเธอรแลนด ( Netherlands Environmental Assessment Agency)1 2 พบวา ปริมาณการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดทั่วโลก ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล ไมวาจะเปนถานหิน น้ํามัน หรือกาซธรรมชาติ ของป ค.ศ. 2011 สูงขึ้นถึง 3% แตะระดับ 34,000 ลานตันเปนอยางนอย ทั้งนี้ จีนกลายเปนประเทศที่ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูงเปนอันดับ 1 ของโลก ดวยกับปริมาณเฉลี่ย 6- 19 ตัน/คน ในชวงของการกาวขามมาเปนประเทศอุตสาหกรรมรายใหญของโลก โดยปริมาณการปลอย กาซคารบอนไดออกไซดกวารอยละ 70 ของป ค.ศ. 2012 เกิดจากประเทศจีน แมจีนจะเปนประเทศที่ติดอันดับตน ๆ ของโลก เรื่องการบริโภคพลังงานจํานวนมหาศาล ซึ่ง กอใหเกิดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกก็ตาม แตเมืองเซี่ยงไฮและเมืองหาง โจว มณฑลเจอเจียง ก็สามารถเปนหนึ่งในตนแบบเกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมภายใตการ เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศของมหานครตาง ๆ เพื่อนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยาง ยั่งยืนของคนเมือง 1 EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs /MegaCities.pdf 2 Jos Olivier. (2013). Trends in global CO2 emissions; 2013 Report, 25 June 2014. p. 5-6.
  • 4. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 3 เซี่ยงไฮ มหานครตนแบบดานการรับมือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของเมือง “เซี่ยงไฮ” แปลวา “อยูสูงจากทะเล” ชื่อเมืองถูกตั้งตามทําเลที่ตั้งเมื่อพันกวาปที่ผานมา ผู บุกเบิกเมืองคงจินตนาการไมออก ถึงสถานการณในปจจุบันที่เมืองเซี่ยงไฮกําลังเผชิญอยู เมืองที่อยูต่ํา กวาระดับน้ําทะเล มหานครเซี่ยงไฮตั้งอยูบริเวณชายฝงดานทิศตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟก ตอนกลางของ ประเทศจีน ใกลกับปากแมน้ําแยงซีเกียง บริหารงานแบบเทศบาลนครที่มีสถานะเทียบเทามณฑลหนึ่ง ขึ้นตรงตอรัฐบาลกลาง มีขนาดใหญเปนอันดับสองของประเทศจีน (รองจากเมืองกวางโจว) จํานวน ประชากรที่มีมากถึง 25,300,000 คน2 3 (มากเปนอันดับ 5 ของโลก) ความหนาแนนของประชากรตอ พื้นที่อยูที่ 4,887 คนตอตารางกิโลเมตรมีสัดสวนความเปนพื้นที่เมืองที่ใหญที่สุดในโลก จากภาพที่ 2 พบวา นับตั้งแตป ค.ศ. 1990 เปนตนมา พื้นที่ความเปนเมือง ( Urban land) ของ เซี่ยงไฮเพิ่มมากขึ้นอยางเห็นไดชัด สวนทางกับการลดลงของพื้นที่เพาะปลูก ( Cropland) และสัดสวนที่ เปนพื้นน้ํา (Water body) กับพื้นที่สีเขียว (Green land) ที่ขยายออกอยางชา ๆ 3 EURAMET. (2013). Mega Cities [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.emrponline.eu/call2013/docs /MegaCities.pdf ภาพที่ 1สัดสวนการใชประโยชนจากที่ดินของเมืองเซี่ยงไฮ ที่มา:Shanghai Meteorological Bureau . Climate Change in Mega-City Shanghai and its impacts [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.atse.org.au/Documents/International%20Colloboration/Workshops/Aust% 20China%20Science%20and%20Tech/Climate%20Change/Zhan.pdf
  • 5. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 4 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอเมืองเซี่ยงไฮ สถานะของมหานครเซี่ยงไฮที่มีตอประเทศจีนก็เชนเดียวกับที่มหานครนิวยอรกมีตอประเทศ สหรัฐอเมริกา กลาวคือ สัญลักษณแหงความสําเร็จ หรือเปนสัญญาณเตือนแหงความเจ็บปวดที่กําลังคืบ คลานเขามา ในอดีตนิวยอรกเปนเมืองศูนยกลางของอุตสาหกรรม เต็มไปดวยโรงงานอุตสาหกรรมขนาด ใหญ ซึ่งเกือบจะเปนสาเหตุที่นําไปสูการลมสลายของเมือง ภาวะโลกรอนทําใหระดับน้ําทะเลทั่วโลกเพิ่ม สูงขึ้น เชนเดียวกันมหานครเซี่ยงไฮ ประเทศจีน ตั้งแต ป ค.ศ. 1920-1930 เปนตนมา จมตัวลงกวา 2.8 เมตรการเผชิญกับปญหาเรื่องสิ่งแวดลอม พายุไตฝุนและทอรนาโดคือความผิดปกติที่ปรากฏขึ้นบอยครั้ง และสถานการณที่เมืองกําลังจมลง หากไมมีการวางแผนการเติบโตของเมืองในอนาคต เซี่ยงไฮจะจมลง 1.5 เซนติเมตร ทุก ๆ ปเปนสัญญาณเตือนที่เซี่ยงไฮตองเลือกระหวางปรับตัวหรือหายนะ ( Adapt or Die) เชนที่นิวยอรกเคยเลือกมาแลว สาเหตุสําคัญที่ทําใหเซี่ยงไฮจมน้ําทะเลก็คือ การสูบน้ําจากใตดินมาใชเปนจํานวนมาก ดังนั้น หนึ่งในวิธีการแกปญหาการทรุดตัวของรัฐบาลเซี่ยงไฮ คือ การติดตั้งทอสูบน้ําจากทะเลสาบไทหูมาใช บริโภคในมหานครเซี่ยงไฮแทนที่การสูบน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลขึ้นมา นอกจากนี้ ยังมีการสรางเขื่อน บริเวณชายฝงเพื่อปองกันการกัดเซาะพื้นดิน และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในมหานครเซี่ยงไฮใหมากที่สุด เทาที่จะทําได แนวทางในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การกอสรางประตูระบายน้ํา เมืองเซี่ยงไฮพิจารณาแลวเห็นวา ควรกอสรางประตูระบายน้ําบริเวณปากแมน้ําแยงซีเกียง เนื่องจากสามารถเปดหรือปดประตูระบายน้ําไดตามปริมาณของน้ําในแมน้ําที่เปลี่ยนแปลงไปตามแต ฤดูกาล สามารถควบคุมปริมาณน้ําที่ตองการใหไหลผานควบคุมความเร็วของน้ํา หรือใชในการกักเก็บ น้ําได ในขณะเดียวกันประตูระบายน้ํายังชวยปองกันในกรณีที่เกิดพายุอีกดวย นอกจากเหตุผลเรื่องประสิทธิภาพของการควบคุมปริมาณน้ํา ประตูระบายน้ํายังมีตนทุนในการ กอสรางนอยกวาการปรับพื้นที่ของเขื่อนใหสูงขึ้น ซึ่งทางรัฐบาลเซี่ยงไฮใชงบประมาณในการบริหาร จัดการน้ําทวมในรอบ 10 ปที่ผานมา มากกวา 6 พันลานดอลลารสหรัฐ
  • 6. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 5 การเพิ่มพื้นที่ชุมน้ํา มหานครเซี่ยงไฮยังคงใชวิธีเสริมแนวกันน้ําทวมบริเวณริมแมน้ํา ซึ่งบางครั้งกลายเปนตัวการที่ สรางความเสียหายตอพื้นที่ริมแมน้ํามากกวา อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรและความ พยายามในการสงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหเพิ่มขึ้นในปริมาณเทาตัวทุก ๆ ป ทําใหพื้นที่ชุม น้ําบริเวณชายฝงคอย ๆ ลดลง และถูกแทนที่ดวยกับโรงงานอุตสาหกรรมและอะพารตเมนตจํานวนมาก ซึ่งตองการพื้นที่เพิ่มเติมเพื่อการปลูกสรางโรงงานและอะพารตเมนตแหงใหมที่ไมมีสิ้นสุดเนื่องจากพื้นที่ ชุมน้ําเหลานี้ ไมไดเปนเพียงที่อยูอาศัยของสรรพสัตวเทานั้น แตยังทําหนาที่เปนเกราะคุมกันอีกกวา 22 ลานคนในเมืองเซี่ยงไฮจากภัยธรรมชาติอีกดวย พื้นที่กิจกรรมเหลานี้เปนเสมือนเชื้อเพลิงที่ใหพลังงานแกเศรษฐกิจของมหานคร แตในสมรภูมิ ของการตอสูกับภาวะโลกรอนหรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ สิ่งเหลานี้คือตัวแปรสําคัญที่ทํา ใหสุขภาวะของเมืองออนแอลง ผูเชี่ยวชาญเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากคณะกรรมการปกปองทรัพยากรธรรมชาติ (The Natural Resources Defense Council) กลาววา ในขณะที่รถแทรกเตอรกําลังจัดการขุดพืชชนิด ตาง ๆ ในพื้นที่ชุมน้ําออกไป เพื่อแทนที่ดวยกับอาคารหลังใหมนั่นเทากับวามหานครเซี่ยงไฮกําลัง สูญเสียแนวปองกันตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถลดการกัดเซาะหนาดินและชวยลดการปะทะของคลื่นลม พายุ ดังนั้น การแกปญหานี้จึงอยูที่การหันกลับมาใหความสําคัญกับพื้นที่ชุมน้ําเพื่อทดแทนในสวนที่ แผวถางไป หนึ่งในวิธีการที่เซี่ยงไฮกําลังดําเนินการอยูก็คือเปลี่ยนตัวเองไปสูการใชเครื่องมือทาง เศรษฐกิจใหม โดยการคัดทายออกจากภาคอุตสาหกรรมที่หิวกระหายพื้นที่ในการกอสรางโรงงานและมุง หัวเรือการพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองไปสูภาคการเงินการธนาคารที่ตองการเพียงแคโตะกับคอมพิวเตอร ในการทํางานเทานั้น3 4 นอกจากนี้ เมืองเซี่ยงไฮยังแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการจัดการกับการปลอยกาซเรือน กระจกออกสูชั้นบรรยากาศ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4 Coco Liu of ClimateWire. (2011). Shanghai Struggles to Save Itself From the Sea [online], 6 June 2014. Retrieved: http://www.nytimes.com/cwire/2011/09/27/27climatewire-shanghai-struggles-to-save-itself-from-the- s-43368.html?pagewanted=all
  • 7. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 6 การลดปริมาณกาซเรือนกระจก ตั้งแตป ค.ศ. 1994 เปนตนมา เซี่ยงไฮไดปรับปรุงระบบรางรถไฟใหมีความเชื่อมโยงกันทั่วทั้ง เมือง จนในปจจุบันถือวาเปนระบบที่มีความยาวมากที่สุดในโลก จูงใจใหประชาชนจอดรถไวที่บาน และ หันมาใชระบบรถโดยสารสาธารณะเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่เซี่ยงไฮกําลังดําเนินการเรื่องพลังงานสะอาด ประเทศจีนไดแถลงโครงการจําหนาย กระแสไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยของจีนใหแกกริด ( Grid) หรือเครือขายพลังงานไฟฟาที่เชื่อมโยง กันและกระจายทรัพยากรใหแกกัน ซึ่งตอมากลายเปนฟารมกังหันลม ( Wind Farm) นอกพื้นที่ยุโรปที่ ใหญที่สุดแหงแรกของโลก และดวยการชวยเหลือดานเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย กระแสไฟฟาจาก พลังงานน้ําถูกสงไปยังมหานครเซี่ยงไฮดวยกับระยะทางไกลกวาพันไมล สงผลใหเซี่ยงไฮพัฒนามาเปน เมืองพลังงานสะอาดที่ใหญที่สุดแหงใหมของโลก อยางไรก็ตาม กระแสไฟฟาครึ่งหนึ่งของเมืองก็ยังคงผลิตมาจากถานหิน ซึ่งเปนตัวการสําคัญที่ กอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด เพื่อที่จะลดปริมาณกาซเรือนกระจก เซี่ยงไฮจําเปนตองลดการ บริโภคพลังงานใหนอยลง ผานการออกกฎบังคับใหอาคารตาง ๆ ตองมีเครื่องทําน้ํารอนพลังงาน แสงอาทิตย (Solar Water Heaters) มาตรการขึ้นราคาคาไฟฟากับอุตสาหกรรมที่ไมมีประสิทธิภาพใน การผลิต กลาวคือ เปนการผลิตที่มีปริมาณการใชพลังงานไฟฟาสูง รวมทั้งอุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก ซีเมนต และโรงงานผลิตหนัง รัฐบาลใชวิธีการใหแรงจูงใจ ( carrots) รวมกับการออกคําสั่งและการขอความรวมมือตลอด ระยะเวลาของการดําเนินงาน ทั้งในระดับภาคอุตสาหกรรมที่สามารถเขาถึงการชวยเหลือทางดาน การเงินเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น และในระดับครัวเรือนตางไดรับ เงินสวนลดจากรัฐบาลหากเปลี่ยนมาใชหลอดไฟและเครื่องปรับอากาศแบบประหยัดพลังงาน ผลการดําเนินงานปรากฏวา สามารถลดการใชพลังงานในมหานครเซี่ยงไฮไดมากถึง 20% โดย วัดจากหนวยไฟฟาตอผลผลิตทางเศรษฐกิจ ระหวางป ค.ศ. 2007-2011 รัฐบาลเซี่ยงไฮไมเพียงแตให คํามั่นสัญญาวา จะรักษาระดับการลดใชพลังงานใหอยูที่ 20% ตอไปในอนาคตเทานั้น แตยังเปนครั้งแรก ที่มหานครสามารถควบคุมปริมาณการใชพลังงานของเมืองได อยางไรก็ตาม แมจะมีมาตรการกระตุนการลดใชพลังงานผานเครื่องมือทางการเงินหรือการออก กฎหมาย หากรัฐบาลเซี่ยงไฮยังคงอนุญาตใหมีการกอสรางอาคารเพิ่มอีกตอไปเรื่อย ๆ พรอมกับพื้นที่สี เขียว จํานวนตนไม และผืนดินที่ลดลง ความสามารถของเมืองในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดก็ ยังคงลดลงอยูดี
  • 8. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 7 ลาสุด รัฐบาลเซี่ยงไฮไดผลักดันเรื่องการทําสวนในอาคาร ซึ่งจะเปนผลใหในป ค.ศ. 2015 อาคาร หลังคา และผนังของอาคารที่จะปลูกสรางใหมและอาคารที่มีอยูเดิมจะตองปลูกตนไม พุมไม หรือ ดอกไมในบริเวณโดยรอบของอาคาร คาดวา จะสามารถสรางพื้นที่ดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดขนาด ใหญแหงใหม ซึ่งมีปริมาณการดูดซับกาซพิษประมาณครึ่งหนึ่งของขนาดสวนสาธารณะเซ็นทรัลพารก (New York’s Central Park) ที่มีขนาดประมาณสนามฟุตบอล 460 สนามเรียงตอกัน ภาพที่ 3 เมืองเซี่ยงไฮ ที่มา: http://www.visitourchina.com/guide/peoples_square.htm
  • 9. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 8 เมืองหางโจวมณฑลเจอเจียง เมืองโดดเดนดานการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมของเมือง เราอาจจะสังเกตจากกรณีศึกษา ในหลาย ๆ เมืองที่หันมาปฏิรูปแนวทางการพัฒนาในอนาคต ของแตละเมืองไดวา เมืองที่มีระบบการบริหารจัดกาเรื่องสิ่งแวดลอมไดดีนั้น สวนใหญลวนมีการพัฒนา ดานเศรษฐกิจที่มั่นคงเต็มที่จนสามารถหันมาใหความสําคัญกับประเด็นเรื่องความสุขของคนที่อาศัยอยู ในเมือง เมืองหางโจว มณฑลเจอเจียงก็เชนเดียวกัน หางโจวเปนเมืองหลวงของมณฑลเจอเจียงซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของประเทศจีน บนที่ราบน้ํา ทวมถึงริมฝงแมน้ําแยงซี เจริญรุงเรืองหลังจากที่มีการขุดคลองคลองตายวิ่นเหอ (The Grand Canal) ใน สมัยราชวงศสุย (581-618) ถือเปน 1 ใน 6 ของเมืองโบราณที่มีชื่อเสียงของจีน (อีก 5 เมืองที่เหลือ คือ ปกกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง และไคเฟง)พื้นที่สวนใหญถูกลอมรอบดวยภูเขา มีเนื้อที่ประมาณ 1 ใน 5 ของประเทศไทย แตมีจํานวนประชากรเทากับประเทศไทย สงผลใหมีปญหาเรื่องความหนาแนนของ ประชากรและพื้นที่เกษตรกรรมมีนอย ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของเมืองนี้คือ การทองเที่ยว เมืองหางโจวไดรับการกลาวขานวาเปน “สวรรคบนดิน” (Paradise on Earth) ดวยกับความ สวยงามของทะเลสาบซีหู (ทะเลสาบตะวันตก) และสถานที่สําคัญอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ขึ้นชื่อวามี ธรรมชาติอันวิจิตรงดงามราวกับจิตรกรฝมือดีบรรจงรังสรรคเอาไวก็มิปาน ตัวอาคารบานเรือน ของเมือง หางโจวจะกอสรางไมสูงมากนัก ตึกใหญจะสูงเพียงแค 7-8 ชั้นเทานั้น เนื่องจากเกรงวาจะบดบังทิวทัศน ที่สวยงามโดยรอบของเมือง นอกจากนี้หางโจวยังขึ้นชื่อเรื่องอุตสาหกรรมผาไหมที่เกิดขึ้นตั้งแตศตวรรษ ที่ 75 และยังคงความงดงามและไดรับการกลาวถึงมาจนปจจุบัน 5 Hangzhou -- 'Paradise on Earth'. [online], 8 July 2014. Retrieved:http://www.china.org.cn/english/TR- c/41940.htm
  • 10. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 9 ภาพที่ 4 ทะเลสาบซีหู (West Lake) ที่มา: http://en.gotohz.com/whyhangzhou/wlh/wlhabout/201307/t20130716_86499.shtml#sthash.fl29eftD.dpbs ทะเลสาบซีหู: มรดกโลกทางวัฒนธรรม หนึ่งในตัวแบบการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่สําคัญหนึ่งของเมืองหางโจว คือ การฟนฟู ทะเลสาบซีหู ที่อยูตรงใจกลางของเมืองหางโจว มีความยาวจากทิศ เหนือถึงทิศใต3.3 กิโลเมตร และ ความกวางจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก 2.8 กิโลเมตร พื้นที่สวนหนึ่งเปนทะเลสาบตามธรรมชาติ ขณะที่พื้นที่บางสวนก็ถูกขุดขึ้นมาทีหลัง ซีหูเปนทะเลสาบที่ทอดยาวทางดานตะวันตกของเมืองหางโจว เกิดจากการที่ อาวเล็ก ๆ บริเวณ ปากแมน้ําเฉียนถัง(Qiantang)แยกตัวออกจากทะเลเนื่องมาจากตะกอนของแมน้ําจนกลายเปนทะเลสาบ มีเกาะขนาดประมาณ 6 ตารางกิโลเมตร ภูเขาลอมรอบทั้งสามดาน น้ําในทะเลสาบใสสะอาดงดงาม เขื่อนไป (Bai) เขื่อนดินที่พาดยาวจากทิศตะวันออกไปจรดทิศตะวันตก และเขื่อนซู (Su)ที่ทอดตัวจาก ทิศเหนือจรดทิศใต เสมือนเข็มขัดเขียวสองเสนที่ลอยอยูในทะเลสาบนักทองเที่ยว สามารถเดินบนเขื่อน ดิน ชมดอกไมหลากสีสันและตนไมสีเขียวหลากชนิดโดยรอบบริเวณ สามารถมองแสงสะทอนของน้ําใน ทะเลสาบและภูเขาที่หางไกลออกไป
  • 11. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 10 ทะเลสาบซีหูมีพื้นที่หลายสวนดวยกัน แบงเปนทะเลสาบใน ( The Inner Lake) ทะเลสาบนอก (The Outer Lake) ซึ่งมีหมูเกาะ 3 เกาะอยูในบริเวณนี้ ทะเลสาบยู ( Yue Lake) ทะเลสาบในตะวันตก (West Inner Lake) และทะเลสาบใตเล็ก (Small South Lake) นอกจากความสวยงามที่เกิดจากธรรมชาติรอบ ๆ ทะเลสาบแลว บริเวณเนื้อที่ประมาณ 50 ตารางกิโลเมตรรอบ ๆ ทะเลสาบยังเต็มไปดวยสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร ศาลา เสา เจดีย และถ้ํา รวมไปถึง น้ําพุ ไอน้ํา และสระน้ํา ตางเรียงรายอยูบนเนินเขาสีเขียวรอบทะเลสาบนับเปนทะเลสาบที่ งดงามมากในสุดจากบรรดาทะเลสาบที่มีชื่อเดียวกัน (West Lake)5 6 ในประเทศจีน หลายทานอาจนึกภาพทะเลสาบซีหูตอนสกปรกไมได ครั้งหนึ่งทะเลสาบถูกปลอยปละละเลยจน น้ําในทะเลสาบไมใสสะอาดและสวยงามเชนในปจจุบันรัฐบาลทองถิ่นเริ่มดําเนินการฟนฟูตั้งแต ป ค.ศ. 2002 แกปญหาโดยการยายคนที่อาศัยอยูบริเวณรอบทะเลสาบซีหูออกไปอยูที่อื่น แลวเริ่มสราง สวนสาธารณะ 4 แหง บริเวณตอนใตของทะเลสาบ สรางพื้นที่สีเขียวขึ้นมาเพื่อดึงดูดใหนักทองเที่ยวจาก ภายนอกเขามาเยี่ยมชม โดยไมคิดคาบริการตลอด 24 ชั่วโมง 7 วันตอสัปดาห, ออกกฎหามกอสราง อาคารขนาดใหญบริเวณทะเลสาบซีหู นอกจากนี้ รัฐบาลเมืองหางโจวยังยอมจายเงินจํานวนมากใหแก มณฑลอานฮุย ตนน้ําของทะเลสาบเชียนเตาหูที่มณฑลเจอเจียงใชในการอุปโภคบริโภค เพื่อใหมณฑล อานฮุยรักษาตนน้ําใหดี อันเนื่องมาจากคุณคาทางวัฒนธรรมและความสวยงาม ทําใหทะเลสาบซีหูไดรับการขึ้นทะเบียน เปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองคการยูเนสโกใน ป ค.ศ. 2011 โดยใหเหตุผลวา ทะเลสาบซีหูแสดง ใหเห็นถึงความสวยงามแบบจีน การออกแบบที่ผสมผสานแนวคิดระหวางมนุษยและธรรมชาติเขา ดวยกันตามประเพณีของชาวจีน มีการใชสิ่งกอสรางจากฝมือของมนุษย เชน วัด เจดีย สวน และเกาะ เทียม รวมกับภูมิประเทศที่เปนทะเลสาบขนาดใหญ จนไดงานศิลปะที่งดงามและกลมกลืน นับเปนสมบัติ ทางวัฒนธรรมที่สรางแรงบันดาลใจใหแกกวีและศิลปนรังสรรคผลงานมาเปนระยะเวลายาวนานหลาย ศตวรรษ และยังมีอิทธิพลตอการออกแบบสวนในที่อื่น ๆ อีกดวย 6 ซีหู หมายถึง ทะเลสาบตะวันตก ทั่วประเทศจีนมีทะเลสาบซีหูมากถึง 36 แหง แตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือทะเลสาบซีหู แหงเมืองหางโจว
  • 12. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 11 ภาพที่ 5 สถานีใหบริการเชารถจักรยาน ที่มา: http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6a/Hangzhou_bike_sharing_station.jpg เมืองจักรยาน เมืองหางโจวในฐานะเมืองหลวงของมณฑลเจอเจียง ถือไดวาเปนเมืองที่มีความมั่งคั่งทาง เศรษฐกิจเปนอยางมาก และการที่เปนเมืองใหญทําใหหางโจวตองเผชิญกับปญหารถติดเชนที่เมืองใหญ อื่น ๆ มักจะเผชิญ หนึ่งในวิธีการแกปญหาของเมืองหางโจว คือ การจัดทําระบบรถจักรยานใหเชา (Bike Sharing Programe) โดยมีรัฐบาลเปนผูสนับสนุนหลัก เริ่มดําเนินการมากวา 5 ปแลว ปจจุบันมีจักรยาน ในโครงการใหเชากวา 50,000 คัน และเปนตนแบบโครงการจักรยานใหเชาในเมืองใหญอื่น ๆ ของ ประเทศจีน เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 รัฐบาลหางโจวไดเปดตัวโครงการระบบรถจักรยานใหเชา (Bike Sharing System) แหงแรกของประเทศจีน และเปนระบบรถจักรยานใหเชาที่ใหญที่สุดในโลกอีก ดวย6 7 เพื่อสงเสริมระบบการขนสงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมใหขยายตัวออกไป ทั้งคนในเมืองหางโจวและ นักทองเที่ยวสามารถเชารถจักรยานและใชขี่บนเสนทางจักรยานโดยเฉพาะ ( Bike Lane) ที่มีระยะทาง กวารอยกิโลเมตร 7 ICLEI. (2011). Hangzhou, China The world’s largest bike sharing program [online], 8 July 2014. Retrieved: http://www.ecomobility.org/fileadmin/template/project_templates/ecomobility/files/Publications/Case_ stories_EcoMobility_Hangzhau_PDF_print.pdf
  • 13. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 12 ระบบรถจักรยานใหเชาในเมืองหางโจวนั้นถูกออกแบบ ดําเนินการ และใชงบประมาณจาก รัฐบาลทองถิ่นทั้งหมด เพื่อใหครอบคลุมกิโลเมตรสุดทายจากสถานีรถโดยสารสาธารณะไปยังจุดหมาย ปลายทางหรือการเดินทางไปยังสถานีรถโดยสารสาธารณะ งบประมาณหลายรอยลานหยวนถูกนํามาใช ในการลงทุน ระบบรถจักรยานใหเชา รัฐบาลหางโจวนําระบบบัตรอิเล็กทรอนิกสมาใชในการจัดการแทนแรงงานมนุษย กวา 80% ของ สถานีรถจักรยานใหเชาในเมืองหางโจวไมมีเจาหนาที่ประจําดูแล (ดูภาพที่ 5) ผูใชตองบริการตนเอง เพียงแตะบัตรที่เครื่องล็อกรถ (ดูภาพที่ 6) เพื่อใหเครื่องปลดล็อกทํางาน เราจะเห็นสัญญาณไฟสีเขียว กระพริบ ระบบจะหักเงินจากบัตร 200 หยวน และเริ่มนับชั่วโมงการใหบริการ เมื่อใชรถจักรยานเสร็จ เรียบรอยแลว วิธีการคืนรถจักรยานก็ไมยุงยาก ผูใชเพียงแคนํารถไปจอดบริเวณชองจอดรถจักรยาน ที่วางอยู แตะบัตรที่เครื่อง ก็จะไดรับเงินคืน ภาพที่ 6 วิธีการใชบริการ ที่มา:http://untappedcities.com/wp-content/uploads/2013/07/Bike-Sharing-Program-global-China-Untapped- Cities-Celeste-Zhou5.jpg เนื่องจากการคํานวณคาบริการรถจักรยานใหเชาจะเริ่มคิดเงินเมื่อผูใชขี่จักรยานเกิน 1 ชั่วโมง ปรากฏวา ประชาชนสวนใหญใชระบบรถจักรยานใหเชาเฉพาะในชวงแรกหรือชวงสุดทายของการ เดินทางเทานั้น ทําให 96% ของการใชบริการมีระยะเวลาไมถึงหนึ่งชั่วโมง โดยมีอัตราการขี่จักรยาน
  • 14. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 13 เฉลี่ยอยูที่ 23 นาที รัฐบาลเมืองหางโจวจึงไดกําไรจากคาบริการไมมากนัก การเปดใหเชาพื้นที่โฆษณา บนรถจักรยานจึงกลายมาเปนแหลงรายไดหลัก ซึ่งมากพอที่จะกําหนดราคาคาเชาบริการในอัตราที่ต่ํา มาก ๆ ได กลาวคือ คาบริการ 1 หยวน สําหรับ 1-2 ชั่วโมง 2 หยวน สําหรับ 2-3 ชั่วโมง และคาบริการ 3 หยวน สําหรับการขี่ที่มากกวา 3 ชั่วโมงขึ้นไป ภาพที่ 7 ปริมาณการใชบริการระบบรถจักรยานใหเชา ที่มา:ICLEI. (2011). Hangzhou, China The world’s largest bike sharing program [online], 8 July 2014. Retrieved: http://www.ecomobility.org/fileadmin/template/project_templates/ecomobility/files/Publications/Case_ stories_EcoMobility_Hangzhau_PDF_print.pdf เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008เมืองหางโจวมีสถานีบริการใหเชารถจักรยาน 61 แหง รถจักรยานทั้งหมด 2,800 คัน กอนที่ในปลายป ค.ศ. 2009 จะมีการขยายสถานีบริการใหเชา รถจักรยานเพิ่มขึ้นเปน 2,200 สถานี และรถจักรยานอีก 60,600 คัน คุณสามารถพบสถานีบริการทุก 100 เมตร ตั้งแตเปดใหบริการ ตัวเลขผูใชบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เฉลี่ย 240,000 เที่ยว/วัน ตัวเลข การใชบริหารที่มากที่สุด คือ 320,000 เที่ยว/วัน สัดสวนการใชรถจักรยานในการเดินทางของเมืองหางโจวอยูที่ 43% ซึ่งระบบรถจักรยานใหเชา ก็รวมอยูในนั้นดวย การเดินทางโดยรถจักรยานของเมืองหางโจวตอวันคิดเปนระยะทาง 1,123,200 กิโลเมตร ในระยะทางที่เทากัน หากเปนการเดินทางโดยใชรถจักรยานยนตจะปลอยกาซคารบอนไดออก ไซคในปริมาณที่มากกวา 200,000 กิโลกรัม อางอิงจากตัวเลขนี้ เปาหมายของรัฐบาลหางโจวที่จะเพิ่ม จํานวนรถจักรยานใหเชาเปน 175,000 คัน ในป ค.ศ. 2020 เพื่อเพิ่มศักยภาพของเมืองหางโจวในการ
  • 15. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 14 ลดปริมาณกาซเรือนกระจก จะสามารถกําจัดกาซพิษเหลานี้ไดมากกวาในปจจุบันถึง 3 เทาทีเดียว ถอดบทเรียน จากกรณีศึกษาทั้งสองเมืองลวนเปนแนวทางในการนํามาประยุกตใชกับกรุงเทพมหานครใน ฐานะมหานครและเมืองใหญอื่น ๆ ทั่วประเทศไทย มหานครฮองกงที่เผชิญหนากับปญหาแผนดินทรุด และระดับน้ําทะเลหนุนสูงทําใหเสี่ยงตอการที่เมืองจะจมลงทะเล ก็เชนเดียวกับปญหาที่มหานครกรุงเทพ กําลังเผชิญ โดยมีสาเหตุหลักที่เหมือนกัน คือ ในอดีตมีการขุดเจาะน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลมาใชเปน จํานวนมาก ปญหาหลายอยางไดเกิดขึ้นไปแลว เชน การพังทลายของอาคารสูง ภาพถายทางดาวเทียว ที่แสดงใหเห็นพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะเขามาเรื่อย ๆ หลายปญหาสามารถจัดการได ในขณะที่อีกหลายปญหา ยังเปนเหมือนขยะที่ซุกอยูใตพรม ยังไมแสดงออกมาใหเราเห็น กรณีของเมืองหางโจว ที่มีตนทุนทางธรรมชาติที่สวยงามอยางทะเลสาบซีหู ตัวอยางการบริหาร จัดการของรัฐบาลทองถิ่นที่ดี การรวมมือกันระหวางทองถิ่นแตละแหงดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่ตางฝาย ตางใชประโยชนรวมกัน หรือกรณีการจัดทําระบบจักรยานใหเชา อาจหมายรวมไปถึงการจัดการระบบ ขนสงสาธารณะที่มีประสิทธิภาพเขามาดวย หากรัฐบาลทองถิ่นวางแผนอยางเปนระบบ วิเคราะหความ เปนไปไดและความเหมาะสมของแตละพื้นที่ คอย ๆ ดําเนินการไปทีละจุด ๆ กวาจะครอบคลุมและ เชื่อมตอกันอาจตองใชระยะเวลาในการเห็นผลลัพธและความเสียสละของประชาชนในเมืองมาก พอสมควร แตเชื่อเหลือเกินวา หากรัฐบาลมีความโปรงใสและชี้แจงขอมูลแกประชาชนอยางสม่ําเสมอ การจะไดรับความรวมมือคงเปนสิ่งที่ไมยากจนเกินไป
  • 16. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 15 ภาคผนวก 10 มุมมองที่งดงามของทะเลสาบซีหู7 8 1. รุงอรุณในฤดูใบไมผลิที่เขื่อนซู 2. ชมดอกบัวและสายลม 3. ดวงจันทรในคืนที่เงียบสงบของฤดูใบไมรวง 4. ภาพหิมะละลายบนสะพาน 8 Visit West Lake – Ten Scenic Sites of West Lake. [online], 8 July 2014. Retrieved:http://en.chinatefl.com/ Platform/Pub_CityGuides_details.aspx?id=2&type=5&cityid=1
  • 17. การบริหารจัดการเรื่องเมืองสีเขียวของจีน 16 5. ฟงนกขมิ้นรองเพลงบนตนหลิว 6. ดูปลาและดอกบัวที่บอน้ํา 7. พระอาทิตยตกดินสองแสงจากวาเจดียเหลยเฟง 8. ยอดเขาแฝดสูงทะลุกอนเมฆ 9. ตีระฆังตอนเย็นที่ภูเขาหนานผิง 10. สระน้ําทั้งสามสะทอนเงาดวงจันทร