SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
Rail Systems Institute of RMUTI
สถาบันระบบรางแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
Railway System
Engineering
Railway Operation
Management
Innovation of Urban and
Transit-oriented Development
ROM
“สร้างและพัฒนากาลังคนด้านระบบขนส่งทางรางและโครงสร้างพื้นฐาน
สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน”
15 มีนาคม 2565
หลักสูตร การจัดการบัณฑิต
สาขาวิชา นวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
Innovation of Urban and Transit-Oriented Development
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2566
ชื่อหลักสูตร สาขาวิชา และมาตรฐานหลักสูตร
นวัตกรรมการพัฒนาเมืองและ
พื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
Program in Innovation of
Urban and Transit-Oriented
Development
(IUTOD)
สาขาวิชา
คุณภาพและมาตรฐาน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานหลักสูตร
การจัดการบัณฑิต (กจ.บ.)
Bachelor of Management
(B.M.)
ชื่อหลักสูตร
ด้านสารสนเทศเมือง/ผังเมือง
ด้านภูมิศาสตร์/แผนที่/ภูมิสารสนเทศ
ด้านวิเคราะห์/วิจัยและพัฒนา
ด้านคอมพิวเตอร์/ไอที
ด้านวิศวกรรม
ด้านสถาปนิก/มัณฑนากร
ด้านการอสังหาริมทรัพย์
ด้านพัฒนาระบบราง/โลจิสติกส์
ด้านที่ปรึกษา/การบริหาร
หน่วยงานที่เป็นตลาดงาน
ผู้ให้ข้อมูล
การสร้าง การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการข้อมูลเชิงพื้นที่ของเมือง
ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data)
การตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลเกี่ยวกับผังเมือง
การพัฒนาองค์ความรู้ วิจัยและนวัตกรรมด้านผังเมือง
การผังเมือง (Urban planning)
การจัดทาแผนและโครงการพัฒนาพื้นที่เมือง
การกาหนดนโยบายเชิงพื้นที่
โครงการพัฒนาเมือง (Urban development)
การมีส่วนร่วมและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
การดาเนินงานเกี่ยวกับผังเมืองและระบบราง
อื่น ๆ
VOC: Voice of Customer
ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน
ที่ตลาดงานต้องการ
แนวทางการพัฒนาหลักสูตร
นักวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาเมือง
“รู้ทฤษฎี เก่งปฏิบัติ”
สามารถบูรณาการสหวิทยาการ
สู่การพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
ได้อย่างเป็นระบบ
Urban Study
ระบบเมือง
วิทยาการสารสนเทศเมือง
ข้อมูลมหัตของเมือง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง
Spatial Data
วิทยาศาสตร์ของข้อมูลเชิงตาแหน่ง
จัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่
Spatial Technology
การสารวจพื้นที่ด้วยเทคโนโลยี
การแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่
เมืองอัจริยะ
01 02 03 04Innovation of Urban and TOD
การบูรณาการสหวิทยาการ
การวางแผนพัฒนาพื้นที่
การออกแบบมิติการใช้พื้นที่
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1. มีคุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพการพัฒนาเมือง จาก
การบูรณาการศาสตร์ด้านระบบเมืองร่วมกับเทคโนโลยี
ภูมิสารสนเทศ
2. มีองค์ความรู้และทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลเมืองสู่การวางแผนพัฒนา
เมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนอย่างเป็นระบบ
3. มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพให้เป็น
ประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และประเทศ
โครงสร้างหลักสูตร
129 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาพื้นฐานสาขา 18 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาบังคับสาขา 53 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ 93 หน่วยกิต
การฝึกงานหรือสหกิจศึกษา 7 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
กลุ่มวิชาทักษะการคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาทักษะการสื่อสาร 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาทักษะเทคโนโลยีนวัตกรรม 7 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาทักษะการเป็นผู้ประกอบการเชิงบูรณาการ 5 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาทักษะการมีส่วนร่วมทางสังคมและชุมชน 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
เลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรี
ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา
และ/หรือหัวหน้าสาขาวิชา
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
Concept of Spatial Data Science
Landuse
REAL WORLD
Topography
Hydrology
Roads
Buildings
- -
Utilities
DIGITAL WORLD
GIS Stores Data as Layers
Real world to Digital world
แก่นของหลักสูตร
กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบราง 4. วิทยาการสารสนเทศเมือง
2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเมืองระบบงราง 5. ทฤษฎีการวางผังเมือง
3. นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมเมือง 6. การคิดเชิงนวัตกรรมการพัฒนาเมือง
กลุ่มเมืองศึกษา 15 หน่วยกิต
1. โครงสร้างพื้นฐานเมือง
2. เมืองอัจฉริยะ
3. การใช้ประโยชน์ที่ดินเมือง
4. ระบบขนส่งเมือง
5. ข้อมูลมหัตและการฉายภาพเมือง
กลุ่มวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ 15 หน่วยกิต
1. การรับรู้จากระยะไกลและการวิเคราะห์ภาพดิจิทัล
2. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์ข้อมูลเชิงพื้นที่
4. การสารวจเมืองด้วยอากาศยานไร้คนขับ
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่
กลุ่มวิชาการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน 18 หน่วยกิต
1. การเขียนแบบสาหรับการพัฒนาเมือง
2. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาเมือง
3. การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
4. นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
5. การวางแผนและผังการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
6. การออกแบบการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
+ กลุ่มวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
+ สัมมนาและโครงงาน 5 หน่วยกิต
Thank You
Innovation of Urban
and Transit-Oriented Development
นวัตกรรมการพัฒนาเมือง
และพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน

More Related Content

More from Sarit Tiyawongsuwan

เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandSarit Tiyawongsuwan
 

More from Sarit Tiyawongsuwan (20)

เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
 
02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City
 
01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
 
Urban Heat Island
Urban Heat IslandUrban Heat Island
Urban Heat Island
 
10 Conclusion
10 Conclusion10 Conclusion
10 Conclusion
 
09 Data Transfer
09 Data Transfer09 Data Transfer
09 Data Transfer
 
08 Mosaic Raster Catalog
08 Mosaic Raster Catalog08 Mosaic Raster Catalog
08 Mosaic Raster Catalog
 

หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน