SlideShare a Scribd company logo
เศรษฐกิจพอเพียง :
sufficiency economy
"เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐาน
ของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้าน
เรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคง
ได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็น
เสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซำ้าไป"
(พระราชดำารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จากวารสารชัยพัฒนา)
"เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงมีพระราชดำารัสชี้แนะแนวทางการ ดำาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชายไทย
มาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยำ้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ
สามารถดำารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และ
ความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
"เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economy คำาว่า
Sufficiency Economy นี้ไม่ได้มีในตำาราเศรษฐกิจ. จะมีได้
อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ ...Sufficiency Economy นั้น
ไม่มีในตำารา เพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่... และ
โดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่าเราก็สามารถที่จะ
ไปปรับปรุง หรือไปใช้หลักการ เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของ
ประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น."
พระราชดำารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำารงอยู่และปฏิบัติตน
ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึง
ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำาเนินไปใน ทางสาย
กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ
จำาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ผลกระทบ
ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้อง
อาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำา
วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำาเนินการทุกขั้นตอน และ
ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำานึกใน
คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำาเนิน
ชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล
และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้ง
ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น
อย่างดี
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
" อันนี้เคยบอกว่า ความพอเพียงนี้ไม่
ได้หมายความว่า
ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของ
ตัว
จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกิน
ไป
แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำาเภอ จะต้อง
มีความพอเพียงพอสมควร
บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่า
ความต้องการ ก็ขายได้
แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้อง
เสียค่าขนส่งมากนัก "
พระราชดำารัสเนื่องในโอกาส
วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม
๒๕๔๐
" ถ้าไม่มีเศรษฐกิจพอเพียง เวลาไฟ
ดับ...
จะพังหมด จะทำาอย่างไร. ที่ที่ต้องใช้
ไฟฟ้าก็ต้องแย่ไป.
...หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็ม
ที่
ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ ก็ใช้ปั่นไฟ
หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน
คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ.
...ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ก็มีเป็น
ขั้นๆ
แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้
ให้เพียงพอเฉพาะตัวเองร้อย
เปอร์เซ็นต์ นี่เป็นสิ่งที่ทำาไม่ได้.
จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการ
ช่วยกัน.
.....พอเพียงในทฤษฎีหลวงนี้ คือให้
สามารถที่จะดำาเนินงานได้. "
พระราชดำารัสเนื่องในโอกาส
วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม
๒๕๔๒
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้น
ฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำานึงถึง ความพอ
ประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้
ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและ
การกระทำา
มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้
๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำารงอยู่และ
ปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของ
สังคมไทย สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก
เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย
และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำามาประยุกต์ใช้กับการ
ปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการ
พัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
๓. คำานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ
พร้อมๆ กันดังนี้
• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่
มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและ
การบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
• ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอ
เพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย
ที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทำา
นั้น ๆ อย่างรอบคอบ
• การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึงถึง
ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน
อนาคตทั้งใกล้และไกล
๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ใน
ระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าว
คือ
• เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่านั้นมา
พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
• เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความ
ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มี
ความเพียรใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิต
๕. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำาปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อม
รับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้และเทคโนโลยี
เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนวพระ
ราชดำาริ
" ...ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน
มีความสงบและทำางานตั้งอธิษฐาน ตั้งปณิธาน ในทางนี้ ที่จะให้
เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่
ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ
ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...
ฉะนั้นถ้าทุกท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีความคิด และมีอิทธิพล มี
พลังที่จะทำาให้ผู้อื่น ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วน
รวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอยำ้าพอควร พออยู่พอกิน มีความ
สงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ ก็จะเป็นของ
ขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ตลอดกาล "
พระราชดำารัสเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม
๒๕๔๒
เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทาง
ในการพัฒนาที่นำาไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่างๆ
อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ
หรือการ เปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่างๆ โดยอาศัยความพอประมาณและ
ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียรและความ
อดทน สติและปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกันและความสามัคคี
เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติ
ของ ทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดำาริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่หรือ
เกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นขั้น
ตอนนั้น เป็นตัวอย่างการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เป็น
รูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม
ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำาริ อาจเปรียบเทียบกับหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐานกับแบบก้าวหน้า ได้
ดังนี้
ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ ที่มุ่ง
แก้ปัญหาของเกษตรกร ที่อยู่ห่างไกลแหล่งนำ้า ต้องพึ่งนำ้าฝนและประสบ
ความเสี่ยงจากการที่นำ้าไม่พอเพียง แม้กระทั่งสำาหรับการปลูกข้าวเพื่อ
บริโภค และมีข้อสมมติว่า ที่ที่ดินพอเพียงในการขุดบ่อเพื่อแก้ปัญหาใน
เรื่องดังกล่าว จากการแก้ปัญหาความเสี่ยงเรื่องนำ้าจะทำาให้เกษตรกร
สามารถมีข้าวเพื่อการ บริโภคยังชีพในระดับหนึ่งได้ และใช้ที่ดินส่วน
อื่นๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในส่วนที่
เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่สามารถผลิตเองได้
ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว
อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่ง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ ก็จำาเป็นที่เกษตรกรจะ
ต้องได้รับความช่วยเหลือจากชุมชน ราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน
ตามความเหมาะสม ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กรเป็น
เศรษฐกิจพอ เพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒ เป็น
เรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์
หรือการที่ธุรกิจต่างๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ
เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัวหรือองค์กรต่างๆ มีความพอเพียงขั้นพื้น
ฐานเป็นเบื้องต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพื่อสร้าง ประโยชน์ให้แก่กลุ่มและ
ส่วนรวมบนพื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่ง
กันและกันตามกำาลังและความสามารถของตนซึ่งจะสามารถทำา ให้
ชุมชนโดยรวมหรือเครือข่ายวิสาหกิจนั้นๆ เกิดความพอเพียงในวิถี
ปฏิบัติอย่างแท้จริง
ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่ง
ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓ ซึ่งส่งเสริมให้ชุมชนหรือเครือข่าววิสาหกิจ
สร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่นๆ ในประเทศ เช่น บริษัทขนาดใหญ่
ธนาคาร สถาบันวิจัย เป็นต้น
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้จะเป็นประโยชน์ในการ
สืบทอด ภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการ
พัฒนา หรือร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงทำาให้ประเทศ
อันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่างๆ ที่
ดำาเนินชีวิตอย่างพอเพียง กลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยง
กันด้วยหลักไม่เบียดเบียน แบ่งปันและช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ในที่สุด
ทฤษฎีใหม่
ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำาคัญ ประการ
หนึ่งคือ การขาดแคลนนำ้าเพื่อเกษตรกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขต
พื้นที่อาศัยนำ้าฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ที่อยู่ในเขตที่มีฝน
ค่อนข้างน้อย และส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำาการ
เพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสีย
หายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ และฝนทิ้งช่วง
แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือสระเก็บนำ้าไว้ใช้บ้างแต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน
หรือปัจจัยอื่นๆ ที่เป็นปัญหาให้มีนำ้าไม่พอใช้ รวมทั้งระบบการปลูกพืช
ไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำาริ
เพื่อ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำาบากดังกล่าวให้
สามารถ ผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนำ้าได้โดยไม่
เดือดร้อนและยากลำาบากนัก
พระราชดำารินี้ ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม่" อันเป็นแนวทางหรือหลักการ
ในการบริหารจัดการที่ดินและนำ้าเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น
การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำากิน
ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมาย
ถึง
พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักนำ้าเพื่อใช้เก็บกักนำ้า
ในฤดูฝน
และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชนำ้า
ต่างๆ
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็น
อาหารประจำาวัน
สำาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่ง
ตนเองได้
พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่
พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจำาวัน หากเหลือบริโภคก็นำาไป
จำาหน่าย
พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง
และโรงเรือนอื่นๆ
ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า
หลักการดังกล่าวมาแล้วเป็นทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง เมื่อเกษตรกร
เข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของ ตนได้
ผลแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกินและตัด
ค่าใช้จ่ายลงเกือบ หมด มีอิสระจากสภาพปัจจัยภายนอก และเพื่อให้มี
ผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้องดำาเนินการตามขั้นที่สอง และขั้นที่สาม
ต่อไป ตามลำาดับ ดังนี้
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของ ตนจน
ได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือ
สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกันดำาเนินการในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหา
พันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหานำ้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก
๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำาหน่ายผลผลิต)
- เมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้
ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้ง
รวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการวมกันขายผลผลิตให้
ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
๓) การเป็นอยู่ (กะปิ นำ้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
- ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัย
พื้นฐานในการดำารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ นำ้าปลา เสื้อผ้าที่
พอเพียง
๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
- แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จำาเป็น เช่น มีสถานีอนามัย
เมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ
ของชุมชน
๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
- ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการ
ศึกษาเล่าเรียน ให้แก่เยาวชนของชุมชนเอง
๖) สังคมและศาสนา
• ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจโดยมีศาสนา
เป็นที่ยึดเหนี่ยว
• กิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุก
ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจน
สมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสำาคัญ
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม
เมื่อดำาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สอง เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควร
พัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน
หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคารหรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการ
ลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร
หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
• เกษตรกรขายข้าวได้ในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
• ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาตำ่า (ซื้อ
ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
• ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไป
ดำาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น
ข้อสำาคัญที่ควรพิจารณา
๑. การดำาเนินการตามทฤษฎีใหม่นั้น มีปัจจัยประกอบหลายประการ ขึ้น
อยู่กับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น ฉะนั้นเกษตรกรควรขอรับคำา
แนะนำาจากเจ้าหน้าที่ด้วย
๒. การขุดสระนั้น จะต้องสามารถเก็บกักนำ้าได้ เพราะสภาพดินในแต่ละ
ท้องถิ่นแตกต่างกัน เช่น ดินร่วน ดินทราย ซึ่งเป็นดินไม่สามารถอุ้มนำ้า
ได้ หรือเป็นดินเปรี้ยว ดินเค็ม ซึ่งอาจจะไม่เหมาะสมกับพืชที่ปลูกได้
ฉะนั้น จะต้องพิจารณาให้ดีและควรขอรับคำาแนะนำาจากเจ้าหน้าที่
พัฒนาที่ดิน หรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อน
๓. ขนาดของพื้นที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคำานวณและคำานึง
จากอัตราการถือครองที่ดินถัว เฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ แต่ให้พึงเข้าใจ
ว่าอัตราส่วนเฉลี่ยขนาดพื้นที่นี้มิใช่หลักตายตัว หากพื้นที่การถือครอง
ของเกษตรกรจะมีน้อยกว่าหรือมากกว่านี้ ก็สามารถนำาอัตราส่วนนี้
(๓๐:๓๐:๓๐:๑๐) ไปปรับใช้ได้ โดยถือเกณฑ์เฉลี่ย
๔. การปลูกพืชหลายชนิด เช่น ข้าวซึ่งเป็นพืชหลักไม้ผล พืชผัก พืชไร่
และพืชสมุนไพรอีกทั้งยังมีการเลี้ยงปลา หรือสัตว์อื่นๆ ซึ่งเกษตรกร
สามารถนำามาบริโภคได้ตลอดทั้งปี เป็นการลดค่าใช้จ่ายในส่วนของ
อาหารสำาหรับครอบครัวได้ และส่วนที่เหลือสามารถจำาหน่ายได้เป็นราย
ได้แก่ครอบครัวได้อีก
๕. ความร่วมมือร่วมใจของชุมชนจะเป็นกำาลังสำาคัญ ในการปฏิบัติตาม
หลักทฤษฎีใหม่ เช่น การลงแรงช่วยเหลือกันหรือที่เรียกว่าการลงแขก
นอกจากจะทำาให้เกิดความสามัคคีในชุมชนแล้ว ยังเป็นการลดค่าใช้
จ่ายในการจ้างแรงงานได้อีกด้วย
๖. ในระหว่างการขุดสระนำ้า จะมีดินที่ถูกขุดขึ้นมาเป็นจำานวนมาก หน้า
ดินซึ่งเป็นดินดีควรนำาไปกองไว้ต่างหาก เพื่อนำามาใช้ประโยชน์ในการ
ปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนำามาเกลี่ยคลุมดินชั้นล่างที่เป็นดินไม่ดี
ซึ่งอาจนำามาถมทำาขอบสระนำ้าหรือยกร่องสำาหรับปลูกไม้ผล
เงื่อนไขหรือปัญหาในการดำาเนินงาน
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๓ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำารัส ความตอนหนึ่งว่า
".. การทำาทฤษฎีใหม่นี้มิใช่ของง่ายๆ แล้วแต่ที่ แล้วแต่โอกาส
และแล้วแต่งบประมาณ เพราะว่าเดี๋ยวนี้ประชาชนทราบถึง
ทฤษฎีใหม่นี้กว้างขวางและแต่ละคนก็อยากได้ ให้ทางราชการ
ขุดสระแล้วช่วย แต่มันไม่ใช่สิ่งง่ายนัก บางแห่งขุดแล้วไม่มีนำ้า
แม้จะมีฝนนำ้าก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่ามันรั่ว หรือบางทีก็เป็นที่ที่รับ
นำ้าไม่ได้ ทฤษฎีใหม่นี้จึงต้องมีพื้นที่ที่เหมาะสมด้วย... ฉะนั้น
การที่ปฏิบัติตามทฤษฎีใหม่หรืออีกนัยหนึ่งปฏิบัติเพื่อหานำ้าให้
แก่ ราษฎร เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ง่ายต้องช่วยทำา..."
โครงการตามแนวพระราชดำาริ
โครงการหลวง (อังกฤษ: Royal project) เป็นโครงการ
ส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการส่งเสริมการปลูก
พืชเมืองหนาวแก่ชาวเขา เพื่อเป็นการหารายได้ทดแทนการปลูกฝิ่น ก่อ
ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2512 โดยหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เป็นผู้รับผิดชอบในฐานะ
ประธานมูลนิธิโครงการหลวง
ผลผลิตจากโครงการหลวงในปัจจุบัน ประกอบด้วย ผักปลอดภัยสารพิษ
สมุนไพร ถั่วและธัญพืช ผลไม้ เห็ด ดอกไม้เมืองหนาว ผลิตผลปศุสัตว์
ผลิตผลประมง ผลิตผลป่าไม้ ดอกไม้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากแฝก ไม้
กระถาง และผลิตภัณฑ์แปรรูปในชื่อการค้า โครงการหลวงและ ดอย
คำา
โครงการแกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำาริของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว หรือดิน
เป็นกรด โดยมีการขังนำ้าไว้ในพื้นที่จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีทำาให้ดิน
เปรี้ยวจัดจน ถึงที่สุด แล้วจึงระบายนำ้าออกและปรับสภาพฟื้นฟูดินด้วย
ปูนขาว จนกระทั่งดินมีสภาพดีพอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ตระหนักถึงปัญหา
นำ้าท่วมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระองค์
ทรงพระราชทานแนวพระราชดำาริในการแก้ปัญหา
ด้านนำ้าท่วมนี้ โดยวิธีการที่ตรัสว่า “ แก้มลิง ” ซึ่งได้
พระราชทานอรรถาธิบายว่า
“ ...ลิงโดยทั่วไป ถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบ
ปอกแล้วเอาเข้าปากเคี้ยว แล้วเอาไปเก็บไว้ที่
แก้ม ลิงจะเอากล้วยเข้าไปไว้ในกระพุ้งแก้มได้
เกือบทั้งหวี โดยเอาไปเก็บไว้ที่แก้มก่อนแล้วจึง
นำามาเคี้ยวบริโภคและกลืนกินเข้าไปภาย หลัง...
”
ซึ่งหมายความว่าเมื่อเกิดนำ้า ท่วมก็ขุดคลองเพื่อนำานำ้า
ให้มารวมกันแล้วนำามาเก็บไว้เป็นบ่อพักนำ้า ก็เปรียบ
เหมือนแก้มลิง แล้วจึงระบายนำ้าลงทะเล เมื่อปริมาณนำ้า
ทะเลลดลง ลักษณะของงานเป็นการระบายนำ้าออกจาก
พื้นที่ตอนบนให้ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ ใต้ ลง
คลองพักนำ้าขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเลเมื่อระดับนำ้า
ทะเลลดตำ่าลงกว่าระดับนำ้า ในคลองก็นำาการระบายนำ้า
จากคลองดังกล่าวออกทางประตูระบายนำ้า โดยใช้
หลัก การทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) และสูบนำ้าออกเพื่อให้
นำ้าในคลองพักมีระดับตำ่าที่สุดซึ่งจะทำาให้นำ้าจากคลองตอน บนไหลลงสู่คลอง
พักนำ้าได้ตลอดเวลา แต่เมื่อระดับนำ้าทะเลสูงกว่าระดับนำ้าในคลองก็จะปิดประตู
ระบายนำ้าเพื่อไม่ให้ นำ้าไหลย้อนกลับ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงการพัง
ทลายของดินและการสูญเสียหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์
พระองค์จึงทรงมีพระราชดำาริให้ศึกษา “ หญ้าแฝก ”
และนำามาใช้ในการอนุรักษ์ดินและนำ้า รวมทั้งใช้
ประโยชน์ด้านอื่นๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา ใน
ปัจจุบันได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนมากกว่า
30 หน่วยงาน ร่วมดำาเนินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับหญ้า
แฝก
จากการศึกษาวิจัยหญ้าแฝกมีความก้าวหน้าเป็น อย่าง
ดี ทำาให้ประเทศไทยได้รับเกียรติจัดสัมมนาหญ้าแฝก
ระดับนานาชาติ (International Conference on
Vetiver) เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2539 เพื่อให้นัก
วิชาการมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเผยแพร่
ความรู้เกี่ยวกับ หญ้าแฝก และเพื่อเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติ
ครบ รอบ 50 ปี ต่อมาอีก 4 ปี ประเทศไทยได้รับเกียรติ
จัดสัมมนา
นานาชาติ ในหัวข้อ “ หญ้าแฝกกับสิ่งแวดล้อม ” (Vetiver and The
Environment) ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18-19 มกราคม 2543 เพื่อเป็นการ
เฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระ ชนมายุ
72 พรรษา สำาหรับการประชุมครั้งที่ 3 จะมีขึ้นที่เมืองกวางเจา มลรัฐกวางตุ้ง
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 18-22 ตุลาคม พ.ศ. 2547
โครงการนำ้าดีไล่นำ้าเสีย
หลักการบำาบัดนำ้าเสียโดยการทำาให้เจือจาง (Dilution) ตามแนว
ทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ"นำ้าดีไล่นำ้าเสีย" โดยใช้
หลักการตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow)
การใช้นำ้าคุณภาพดีมาช่วยบรรเทานำ้าเน่าเสีย หรือที่เรียกกันว่า "นำ้า
ดีไล่นำ้าเสีย" นั้น ได้แก่ การใช้นำ้าที่มีคุณ ภาพดีช่วยผลักดันนำ้าเน่าเสีย
ออกไป และช่วยให้นำ้าเน่าเสีย มีสภาพเจือจางลง ทั้งนี้โดยรับนำ้าจาก
แม่นำ้าเจ้าพระยา หรือจากแหล่ง นำ้าภายนอก ส่งเข้าไปตามคลองต่าง ๆ
เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ หรือ
คลองบางลำาพู ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งกระแสนำ้าจะไหลแผ่กระจายขยายไป
ตามคลองซอยที่เชื่อมกับแม่นำ้า เจ้าพระยาอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นเมื่อ การ
กำาหนดวงรอบ เกี่ยวกับการไหลของนำ้าไปตามคลองต่าง ๆ นับแต่
ปากคลอง ที่นำ้าไหลเข้าจนถึง ปลายคลองที่นำ้าไหลออกได้อย่างเหมาะ
สม โดยที่นำ้าสามารถไหลเวียนไปตามลำาคลอง ได้ตลอด แล้ว ย่อม
สามารถเจือจางนำ้าเน่าเสียและชักพาสิ่งโสโครกไปได้มาก ซึ่งจะเป็นวิธี
การช่วยบรรเทานำ้าเน่าเสียในคลอง ต่าง ๆ ตอนช่วงฤดูแล้งได้อย่างดี
จากแนวพระราชดำาริดังกล่าวข้างต้นนี้ จึงบังเกิดกรรมวิธีในการบำาบัด
นำ้าเสีย ๒ ระการ ตามแนวพระราชดำาริ "นำ้าดีไล่นำ้าเสีย" คือ วิธีที่หนึ่ง ให้
เปิดประตูอาคารควบคุมนำ้ารับนำ้าจากแม่นำ้าเจ้าพระยาในช่วงจังหวะ นำ้า
ขึ้น และระบายออกสู่แม่นำ้าเจ้าพระยา ตอนระยะนำ้าลง ซึ่งมีผลทำาให้
นำ้า ตามลำาคลองมีโอกาสไหลถ่ายเทกันไปมามากขึ้นกว่าเดิม เกิดมีการ
หมุนเวียนของนำ้าที่มีสภาพเน่าเสีย กลิ่นเหม็น กลายเป็นนำ้าที่มีคุณภาพดี
ขึ้น วิธีที่สอง ให้ขุดลอกคลองเปรมประชากรพร้อมทั้งกำาจัดวัชพืชเพื่อ
ให้เป็นคลอง สายหลักใน การผันนำ้าคุณภาพดีไปช่วยบรรเทาให้นำ้าเสีย
เจือจางลงและให้คลองเปรมประชากรตอน ล่างเป็นคลองที่สามารถรับ
นำ้าจากแม่นำ้าเจ้าพระยาไปช่วยบรรเทานำ้าเสียโดยส่ง กระจายไปตาม
คลองต่าง ๆของกรุงเทพมหานคร ส่วนคลองเปรมประชากรตอนบนนั้น
ให้หาวิธีรับนำ้าเข้าคลองเป็นปริมาณมากอย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นการเพิ่ม
ระดับนำ้าให้สูงขึ้นจะได้สามารถกระจายนำ้าเข้าสู่ทุ่งบาง ไทร-บางปะอิน
เพื่อการเพาะปลูก และเพื่อให้คลองเปรมประชากรตอนบน มีลักษณะเป็น
อ่างเก็บนำ้า เพื่อใช้ผลักดันนำ้าเน่าเสียในคลองเปรมประชากรตอนล่างต่อ
ไปได้
โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ทางทะเล
เฉลิมพระเกียรติ ฯ
ประวัติความเป็นมา
ในระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน มีการนำาทรัพยากรธรรมชาติ
มาใช้ประโยชน์เป็นอย่างมาก โดยขาดการจัดการที่เหมาะสม จึงก่อให้
เกิด ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างยิ่ง รัฐบาลทุกยุคทุกสมัย ได้
ตระหนักถึงผลกระทบดังกล่าว และมีความพยายามที่จะอนุรักษ์ และ
ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมให้ดำารงอยู่ในสภาพที่ดี ลดสภาพเสื่อมโทรม เพื่อให้
สามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นเวลานาน และเป็นมรดกแก่ลูกหลานสืบไป
อยู่ตลอดเวลา ในส่วนของระบบนิเวศวิทยาทางทะเล คณะรัฐมนตรีได้มี
มติเมื่อ ๔ มิ.ย.๓๔ ให้กองทัพเรือ กรมป่าไม้ กรมประมง ดำาเนินการตาม
มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน การป้องกัน
การทำาลายปะการัง และดำาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนัก
ถึงคุณค่าของทรัพยากร และสภาพแวดล้อมในทะเล
กองทัพเรือ ได้จัดทำาโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อม
ทางทะเลและชายฝั่ง และดำาเนินงานตาม โครงการดังกล่าวอย่างต่อ
เนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน โดยกองทัพเรือ ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นรับผิด
ชอบเรียกว่า คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพ แวดล้อมทางทะเล
และชายฝั่งกองทัพเรือ ประกอบด้วย คณะกรรมการอำานวยการอนุรักษ์
และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในทะเล คณะกรรมการอำานวยการอนุรักษ์ และ
ฟื้นฟูสภาพ แวดล้อมชายฝั่ง คณะกรรมการอำานวยการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์
ทะเล ศูนย์อนุรักษ์สภาพแวดล้อมในแม่นำ้าเจ้าพระยา และคณะกรรมการ
อุทยานใต้ทะเลจุฬาภรณ์ ๓๖ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ปีที่ ๕๐ ใน พ.ศ.๒๕๓๙ และรัฐบาลมีน
โยบาย ที่จะจัดให้มีโครงการเฉลิมพระเกียรติ ฯ จึงเป็นโอกาสดี ที่จะ
เร่งรัด และเพิ่มระดับการปฏิบัติ ในการอนุรักษ์ ฯ ให้ปรากฏผลอย่างเป็น
รูปธรรม ไปพร้อม ๆ กับการประชาสัมพันธ์ให้ หน่วยงานภาคเอกชนและ
ประชาชน ร่วมมือใน การอนุรักษ์สภาพแวดล้อม เพราะประชาชนชาว
ไทย ซึ่งต่างมีความจงรักภักดีต่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะให้
ความร่วมมือเป็นอย่างดี โครงการนี้กองทัพเรือ ได้รับความร่วมมือจาก
มหาวิทยาลัยบูรพา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธนาคารอาคาร
สงเคราะห์ และองค์กรเอกชนอื่น ๆ ที่ดำาเนินการด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
และแบ่งการดำาเนินการออกเป็น ๕ งานดังนี้
๑.การเก็บสิ่งปฏิกูลใต้นำ้าและชายฝั่งทะเล
๒.การปลูกปะการัง
๓.การเพาะเลี้ยงเต่าทะเล
๔.การเพาะเลี้ยงหอยนมสาว
๕.การประชาสัมพันธ์
หน่วยงานรับผิดชอบ
หน่วยงานเจ้าของโครงการ กองทัพเรือ
หน่วยงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยบูรพา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
องค์กรเอกชนอื่น ๆ ที่ดำาเนินงานด้านอนุรักษ์สภาพแวดล้อม
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
๑. เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิง
ถวัลยราชสมบัติปีที่ ๕๐
๒. เพื่อลดการทำาลายสภาพแวดล้อมทางทะเล และฟื้นฟูสภาพ
แวดล้อมที่ถูกทำาลาย ให้กลับมีสภาพดีขึ้น และเป็นมรดกของชาติสืบไป
๓. เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำาคัญ และตระหนักถึงคุณค่าของ
ทรัพยากร และสภาพแวดล้อมในทะเล
๔. เพื่อเพิ่มแหล่งที่อยู่อาศัยและผลผลิตของสัตว์ทะเล
ลักษณะของโครงการ
เป็นงานฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางทะเล เพื่อดำาเนินงานอนุรักษ์
สภาพแวดล้อมทางทะเล เสริมการดำาเนินโครงการอนุรักษ์ ฯ ที่กองทัพ
เรือดำาเนินการอยู่แล้ว ให้ปรากฏผลในทางปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ใน
ระยะเวลาที่รวดเร็ว มุ่งเน้นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ให้สัมฤทธิ์ผล ใน
ระดับหนึ่ง ภายใน พ.ศ.๒๕๓๙ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ เป็นปีที่ ๕๐
ระยะเวลาดำาเนินการ
เริ่มต้น ๑ มกราคม ๒๕๓๘
สิ้นสุด ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๙
การดำาเนินการ แบ่งการดำาเนินการเป็น ๕ งานดังนี้
๑.การเก็บสิ่งปฏิกูลใต้นำ้าและชายฝั่งทะเล บริเวณ จังหวัดชลบุรี
จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดสงขลา จังหวัดพังงา
๒.เชิญชวนและขอความร่วมมือจากประชาชน ส่วนราชการต่าง ๆ
สถานศึกษา และหน่วยงานภาคเอกชนทำาความสะอาดและเก็บสิ่งปฏิกูล
ชายฝั่งทะเลบริเวณจังหวัด ชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรีจังหวัด
ตราด จังหวัดสงขลา จังหวัดพังงา ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางทะเล
และมีการทิ้งสิ่งปฏิกูลทำาให้เกิดความสกปรก และเกิดสภาพเสื่อมโทรม
ขึ้น โดยขอบเขตที่จะดำาเนินการจะกำาหนดตามลักษณะของสถานที่นั้น
ๆ
๓.เชิญชวน และขอความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและ
เอกชน ชมรมดำานำ้า ทำาความสะอาดเก็บสิ่งปฏิกูลใต้นำ้า เก็บซากอวน
บริเวณเกาะคราม และบริเวณเกาะแสมสาร
๔.ห้วงเวลาดำาเนินการ จะพิจารณาตามความเหมาะสม ดำาเนิน
การอย่างต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลาของโครงการ ฯ โดยเน้นหนัก ในห้วง
ระยะเวลาที่มีนักท่องเที่ยว จำานวนมาก
๕.การปลูกปะการัง
๖. ขอความร่วมมือจากสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
มหาวิทยาลัยบูรพา และสถาบันทางวิชาการอื่น ๆ ในการสำารวจ
วางแผนปลูกปะการัง เพื่อฟื้นฟูแนวปะการัง
๗. พื้นที่เป้าหมายในเบื้องต้น จะดำาเนินการที่เกาะต่าง ๆ บริเวณ
อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เป็นพื้นที่ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ตารางเมตร
และจะขยายการดำาเนินการไปยังเกาะซึ่งเป็นที่ตั้งของประภาคารที่
กองทัพเรือรับ ผิดชอบ และบริเวณใกล้เคียงที่ตั้งหน่วยของกองทัพเรือ
๘. การเพาะเลี้ยงเต่าทะเล
๙. เพาะฟัก และเพาะเลี้ยงเต่าทะเลและกระทะเล ให้ได้จำานวนทั้ง
สิ้น ๕๐,๙๓๙ ตัว ในพื้นที่ ๓ แห่ง คือ เกาะคราม สถานีสมุทรศาสตร์
กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และหน่วย
บัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
๑๐. การดำาเนินการปล่อยเต่าทะเลและกระทะเล ตามระยะเวลา
และพื้นที่ที่เหมาะสม โดยเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ประชาชน ร่วมในกิจกรรมดังกล่าวด้วย
๑๑. การเพาะเลี้ยงหอยนมสาว เพาะเลี้ยงหอยนมสาวที่สถานี
สมุทรศาสตร์ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
แล้วนำาไปปล่อยสู่แหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติบริเวณเกาะต่าง ๆ
บริเวณอำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และเกาะที่เป็นที่ตั้งประภาคาร ที่
กองทัพเรือรับผิดชอบ และบริเวณใกล้เคียงที่ตั้งหน่วยของกองทัพเรือ
ซึ่งเป็นพื้นที่ที่กองทัพเรือดูแลได้ และมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การ
เจริญเติบโตของลูกหอย โดยจะปล่อยลูกหอยให้ได้จำานวนทั้งสิ้น
350,939 ตัว
๑๒. การประชาสัมพันธ์ สำานักงานเลขานุการกองทัพเรือ จะเป็น
หน่วยหลักในการประชาสัมพันธ์ โดยจะดำาเนินการเป็นส่วนรวม ดังนี้
๑๓. จัดทำาสารคดีเกี่ยวกับการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางทะเลใน
งานดังกล่าว ตามความเหมาะสม แพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ โดยขอ
ความร่วมมือเชิญชวนหน่วยงานภาคเอกชนที่ดำาเนินธุรกิจในด้านการ
จัดทำา สารคดีร่วมดำาเนินการด้วย
๑๔. จัดทำาสปอตเผยแพร่ทางวิทยุโทรทัศน์ เพื่อรณรงค์ให้
ประชาชนตระหนักถึงความสำาคัญของสภาพแวดล้อมทางทะเล
๑๕. จัดการแถลงข่าวโครงการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางทะเล
เฉลิมพระเกียรติ เป็นส่วนรวมโดยเรียนเชิญผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ผู้ที่
เกี่ยวข้องและผู้ให้การสนับสนุน จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
ร่วมในการแถลงข่าวด้วย
๑๖. เชิญสื่อมวลชน และผู้แทนหน่วยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
ไปเยี่ยมชม และทำาข่าวการดำาเนินงานตามโครงการในงานต่าง ๆ ทั้ง ๔
งาน ดังกล่าวแล้ว
งป.ดำาเนินการ
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น จำานวน ๙,๘๑๒,๕๐๐.-บาท (เก้าล้านแปดแสน
หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน) โดยกองทัพเรือจะดำาเนินการจัดหา
และขอความร่วมมือจากภาคเอกชนและประชาชนทั่วไป
พื้นที่ดำาเนินการ
ในทะเลและชายฝั่งบริเวณอ่าวไทย และทะเลอันดามัน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน
วโรกาส ทรงครองราชย์ ปีที่ ๕๐
๒.สามารถเพิ่มระดับของการดำาเนินการอนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพ
แวดล้อมในทะเล ให้สูงขึ้น จากที่กองทัพเรือดำาเนินการอยู่เดิม จน
สามารถเห็นผลการปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ได้ภายใน ๓๑ ธันวาคม
พ.ศ.๒๕๓๙
๓.สภาพแวดล้อมทางทะเลถูกทำาลายลดน้อยลง และส่วนที่
เสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู ให้มีสภาพดีขึ้น
๔.ผู้เข้าร่วมโครงการ และประชาชน จะตระหนักถึงปัญหาของสิ่ง
แวดล้อมในทะเล และมีจิตสำานึก ที่จะมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อม รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติในทะเล
๕.สามารถเพิ่มผลผลิตทรัพยากรทางทะเลได้ระดับหนึ่ง
ที่มา http://www.haii.or.th/wiki84/index.php/%E0%B8%AB
%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8D
%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0
%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%
88%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E
%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87
http://www.เรารักพระเจ้าอยู่หัว.com/content/index.php?
page=category&type=view&cat=14

More Related Content

What's hot

แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
Kun Cool Look Natt
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
jirupi
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
Pitchayakarn Nitisahakul
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
ASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
Preeyapat Lengrabam
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
Taraya Srivilas
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
Padvee Academy
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
Preeyapat Lengrabam
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
Pattie Pattie
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
ดอกหญ้า ธรรมดา
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
Krishna Rama
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
Prapaporn Boonplord
 
บทความ สายพันธ์แมวไทย
บทความ สายพันธ์แมวไทยบทความ สายพันธ์แมวไทย
บทความ สายพันธ์แมวไทยNuttarika Kornkeaw
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
Napin Yeamprayunsawasd
 

What's hot (20)

แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
เผยแพร่ผลงาน Bestpractice คุณครูอุไลวรรณ แสนทวีสุข
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
บทความ สายพันธ์แมวไทย
บทความ สายพันธ์แมวไทยบทความ สายพันธ์แมวไทย
บทความ สายพันธ์แมวไทย
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 

Viewers also liked

มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
Proud N. Boonrak
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
Proud N. Boonrak
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
Proud N. Boonrak
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
Proud N. Boonrak
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
Proud N. Boonrak
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
Proud N. Boonrak
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
Proud N. Boonrak
 

Viewers also liked (9)

มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 
Present simple
Present simplePresent simple
Present simple
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง jaebarae
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Nathpong Tanpan
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Vilaporn Khankasikam
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
สุปราณี เขื่อนขันธ์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
narudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

More from Proud N. Boonrak

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
Proud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Proud N. Boonrak
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
Proud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 

More from Proud N. Boonrak (7)

ASEAN
ASEANASEAN
ASEAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียง : sufficiency economy "เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐาน ของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้าน เรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคง ได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็น เสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซำ้าไป" (พระราชดำารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา) "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำารัสชี้แนะแนวทางการ ดำาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชายไทย มาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นยำ้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ สามารถดำารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และ ความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง "เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economy คำาว่า Sufficiency Economy นี้ไม่ได้มีในตำาราเศรษฐกิจ. จะมีได้ อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ ...Sufficiency Economy นั้น ไม่มีในตำารา เพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่... และ โดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่าเราก็สามารถที่จะ ไปปรับปรุง หรือไปใช้หลักการ เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของ ประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น."
  • 2. พระราชดำารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำารงอยู่และปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึง ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำาเนินไปใน ทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จำาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี ผลกระทบ ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้อง อาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำา วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำาเนินการทุกขั้นตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำานึกใน คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำาเนิน ชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้ง ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง " อันนี้เคยบอกว่า ความพอเพียงนี้ไม่ ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของ ตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกิน ไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำาเภอ จะต้อง
  • 3. มีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่า ความต้องการ ก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้อง เสียค่าขนส่งมากนัก " พระราชดำารัสเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ " ถ้าไม่มีเศรษฐกิจพอเพียง เวลาไฟ ดับ... จะพังหมด จะทำาอย่างไร. ที่ที่ต้องใช้ ไฟฟ้าก็ต้องแย่ไป. ...หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็ม ที่ ถ้าเรามีเครื่องปั่นไฟ ก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ. ...ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ก็มีเป็น ขั้นๆ แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้เพียงพอเฉพาะตัวเองร้อย เปอร์เซ็นต์ นี่เป็นสิ่งที่ทำาไม่ได้. จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการ
  • 4. ช่วยกัน. .....พอเพียงในทฤษฎีหลวงนี้ คือให้ สามารถที่จะดำาเนินงานได้. " พระราชดำารัสเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้น ฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำานึงถึง ความพอ ประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและ การกระทำา มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำารงอยู่และ ปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของ สังคมไทย สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำามาประยุกต์ใช้กับการ ปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการ พัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ๓. คำานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้ • ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่ มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและ การบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ • ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอ เพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย
  • 5. ที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทำา นั้น ๆ อย่างรอบคอบ • การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำานึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตทั้งใกล้และไกล ๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ใน ระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าว คือ • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำาความรู้เหล่านั้นมา พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความ ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มี ความเพียรใช้สติปัญญาในการดำาเนินชีวิต ๕. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อม รับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนวพระ ราชดำาริ " ...ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบและทำางานตั้งอธิษฐาน ตั้งปณิธาน ในทางนี้ ที่จะให้ เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้...
  • 6. ฉะนั้นถ้าทุกท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีความคิด และมีอิทธิพล มี พลังที่จะทำาให้ผู้อื่น ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วน รวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอยำ้าพอควร พออยู่พอกิน มีความ สงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ ก็จะเป็นของ ขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ตลอดกาล " พระราชดำารัสเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทาง ในการพัฒนาที่นำาไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่างๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการ เปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่างๆ โดยอาศัยความพอประมาณและ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียรและความ อดทน สติและปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกันและความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติ ของ ทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดำาริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่หรือ เกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นขั้น ตอนนั้น เป็นตัวอย่างการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เป็น รูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำาริ อาจเปรียบเทียบกับหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐานกับแบบก้าวหน้า ได้ ดังนี้ ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ ที่มุ่ง แก้ปัญหาของเกษตรกร ที่อยู่ห่างไกลแหล่งนำ้า ต้องพึ่งนำ้าฝนและประสบ ความเสี่ยงจากการที่นำ้าไม่พอเพียง แม้กระทั่งสำาหรับการปลูกข้าวเพื่อ บริโภค และมีข้อสมมติว่า ที่ที่ดินพอเพียงในการขุดบ่อเพื่อแก้ปัญหาใน เรื่องดังกล่าว จากการแก้ปัญหาความเสี่ยงเรื่องนำ้าจะทำาให้เกษตรกร สามารถมีข้าวเพื่อการ บริโภคยังชีพในระดับหนึ่งได้ และใช้ที่ดินส่วน
  • 7. อื่นๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในส่วนที่ เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่ง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ ก็จำาเป็นที่เกษตรกรจะ ต้องได้รับความช่วยเหลือจากชุมชน ราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กรเป็น เศรษฐกิจพอ เพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒ เป็น เรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่างๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัวหรือองค์กรต่างๆ มีความพอเพียงขั้นพื้น ฐานเป็นเบื้องต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพื่อสร้าง ประโยชน์ให้แก่กลุ่มและ ส่วนรวมบนพื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่ง กันและกันตามกำาลังและความสามารถของตนซึ่งจะสามารถทำา ให้ ชุมชนโดยรวมหรือเครือข่ายวิสาหกิจนั้นๆ เกิดความพอเพียงในวิถี ปฏิบัติอย่างแท้จริง ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่ง ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓ ซึ่งส่งเสริมให้ชุมชนหรือเครือข่าววิสาหกิจ สร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่นๆ ในประเทศ เช่น บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบันวิจัย เป็นต้น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้จะเป็นประโยชน์ในการ สืบทอด ภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการ พัฒนา หรือร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงทำาให้ประเทศ อันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่างๆ ที่ ดำาเนินชีวิตอย่างพอเพียง กลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยง กันด้วยหลักไม่เบียดเบียน แบ่งปันและช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ในที่สุด
  • 8. ทฤษฎีใหม่ ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำาคัญ ประการ หนึ่งคือ การขาดแคลนนำ้าเพื่อเกษตรกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขต พื้นที่อาศัยนำ้าฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ที่อยู่ในเขตที่มีฝน ค่อนข้างน้อย และส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำาการ เพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสีย หายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือสระเก็บนำ้าไว้ใช้บ้างแต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน หรือปัจจัยอื่นๆ ที่เป็นปัญหาให้มีนำ้าไม่พอใช้ รวมทั้งระบบการปลูกพืช ไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำาริ เพื่อ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำาบากดังกล่าวให้ สามารถ ผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนำ้าได้โดยไม่ เดือดร้อนและยากลำาบากนัก พระราชดำารินี้ ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม่" อันเป็นแนวทางหรือหลักการ ในการบริหารจัดการที่ดินและนำ้าเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้ เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 9. ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำากิน ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมาย ถึง พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักนำ้าเพื่อใช้เก็บกักนำ้า ในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชนำ้า ต่างๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็น อาหารประจำาวัน สำาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่ง ตนเองได้
  • 10. พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจำาวัน หากเหลือบริโภคก็นำาไป จำาหน่าย พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า หลักการดังกล่าวมาแล้วเป็นทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง เมื่อเกษตรกร เข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของ ตนได้ ผลแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกินและตัด ค่าใช้จ่ายลงเกือบ หมด มีอิสระจากสภาพปัจจัยภายนอก และเพื่อให้มี ผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้องดำาเนินการตามขั้นที่สอง และขั้นที่สาม ต่อไป ตามลำาดับ ดังนี้ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
  • 11. เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของ ตนจน ได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกันดำาเนินการในด้านต่างๆ ดังนี้ ๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหา พันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหานำ้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก ๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำาหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้ง รวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการวมกันขายผลผลิตให้ ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย ๓) การเป็นอยู่ (กะปิ นำ้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัย พื้นฐานในการดำารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ นำ้าปลา เสื้อผ้าที่ พอเพียง ๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จำาเป็น เช่น มีสถานีอนามัย เมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน ๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการ ศึกษาเล่าเรียน ให้แก่เยาวชนของชุมชนเอง ๖) สังคมและศาสนา • ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจโดยมีศาสนา เป็นที่ยึดเหนี่ยว • กิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจน สมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสำาคัญ
  • 12. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดำาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สอง เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควร พัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคารหรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการ ลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ • เกษตรกรขายข้าวได้ในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) • ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาตำ่า (ซื้อ ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) • ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไป ดำาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น ข้อสำาคัญที่ควรพิจารณา ๑. การดำาเนินการตามทฤษฎีใหม่นั้น มีปัจจัยประกอบหลายประการ ขึ้น อยู่กับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น ฉะนั้นเกษตรกรควรขอรับคำา แนะนำาจากเจ้าหน้าที่ด้วย ๒. การขุดสระนั้น จะต้องสามารถเก็บกักนำ้าได้ เพราะสภาพดินในแต่ละ ท้องถิ่นแตกต่างกัน เช่น ดินร่วน ดินทราย ซึ่งเป็นดินไม่สามารถอุ้มนำ้า ได้ หรือเป็นดินเปรี้ยว ดินเค็ม ซึ่งอาจจะไม่เหมาะสมกับพืชที่ปลูกได้ ฉะนั้น จะต้องพิจารณาให้ดีและควรขอรับคำาแนะนำาจากเจ้าหน้าที่ พัฒนาที่ดิน หรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อน ๓. ขนาดของพื้นที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคำานวณและคำานึง จากอัตราการถือครองที่ดินถัว เฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ แต่ให้พึงเข้าใจ ว่าอัตราส่วนเฉลี่ยขนาดพื้นที่นี้มิใช่หลักตายตัว หากพื้นที่การถือครอง ของเกษตรกรจะมีน้อยกว่าหรือมากกว่านี้ ก็สามารถนำาอัตราส่วนนี้ (๓๐:๓๐:๓๐:๑๐) ไปปรับใช้ได้ โดยถือเกณฑ์เฉลี่ย
  • 13. ๔. การปลูกพืชหลายชนิด เช่น ข้าวซึ่งเป็นพืชหลักไม้ผล พืชผัก พืชไร่ และพืชสมุนไพรอีกทั้งยังมีการเลี้ยงปลา หรือสัตว์อื่นๆ ซึ่งเกษตรกร สามารถนำามาบริโภคได้ตลอดทั้งปี เป็นการลดค่าใช้จ่ายในส่วนของ อาหารสำาหรับครอบครัวได้ และส่วนที่เหลือสามารถจำาหน่ายได้เป็นราย ได้แก่ครอบครัวได้อีก ๕. ความร่วมมือร่วมใจของชุมชนจะเป็นกำาลังสำาคัญ ในการปฏิบัติตาม หลักทฤษฎีใหม่ เช่น การลงแรงช่วยเหลือกันหรือที่เรียกว่าการลงแขก นอกจากจะทำาให้เกิดความสามัคคีในชุมชนแล้ว ยังเป็นการลดค่าใช้ จ่ายในการจ้างแรงงานได้อีกด้วย ๖. ในระหว่างการขุดสระนำ้า จะมีดินที่ถูกขุดขึ้นมาเป็นจำานวนมาก หน้า ดินซึ่งเป็นดินดีควรนำาไปกองไว้ต่างหาก เพื่อนำามาใช้ประโยชน์ในการ ปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนำามาเกลี่ยคลุมดินชั้นล่างที่เป็นดินไม่ดี ซึ่งอาจนำามาถมทำาขอบสระนำ้าหรือยกร่องสำาหรับปลูกไม้ผล เงื่อนไขหรือปัญหาในการดำาเนินงาน เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๓ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำารัส ความตอนหนึ่งว่า ".. การทำาทฤษฎีใหม่นี้มิใช่ของง่ายๆ แล้วแต่ที่ แล้วแต่โอกาส และแล้วแต่งบประมาณ เพราะว่าเดี๋ยวนี้ประชาชนทราบถึง ทฤษฎีใหม่นี้กว้างขวางและแต่ละคนก็อยากได้ ให้ทางราชการ ขุดสระแล้วช่วย แต่มันไม่ใช่สิ่งง่ายนัก บางแห่งขุดแล้วไม่มีนำ้า แม้จะมีฝนนำ้าก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่ามันรั่ว หรือบางทีก็เป็นที่ที่รับ นำ้าไม่ได้ ทฤษฎีใหม่นี้จึงต้องมีพื้นที่ที่เหมาะสมด้วย... ฉะนั้น การที่ปฏิบัติตามทฤษฎีใหม่หรืออีกนัยหนึ่งปฏิบัติเพื่อหานำ้าให้ แก่ ราษฎร เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ง่ายต้องช่วยทำา..." โครงการตามแนวพระราชดำาริ โครงการหลวง (อังกฤษ: Royal project) เป็นโครงการ ส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการส่งเสริมการปลูก พืชเมืองหนาวแก่ชาวเขา เพื่อเป็นการหารายได้ทดแทนการปลูกฝิ่น ก่อ
  • 14. ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2512 โดยหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เป็นผู้รับผิดชอบในฐานะ ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ผลผลิตจากโครงการหลวงในปัจจุบัน ประกอบด้วย ผักปลอดภัยสารพิษ สมุนไพร ถั่วและธัญพืช ผลไม้ เห็ด ดอกไม้เมืองหนาว ผลิตผลปศุสัตว์ ผลิตผลประมง ผลิตผลป่าไม้ ดอกไม้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากแฝก ไม้ กระถาง และผลิตภัณฑ์แปรรูปในชื่อการค้า โครงการหลวงและ ดอย คำา โครงการแกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำาริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว หรือดิน เป็นกรด โดยมีการขังนำ้าไว้ในพื้นที่จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีทำาให้ดิน เปรี้ยวจัดจน ถึงที่สุด แล้วจึงระบายนำ้าออกและปรับสภาพฟื้นฟูดินด้วย ปูนขาว จนกระทั่งดินมีสภาพดีพอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ตระหนักถึงปัญหา นำ้าท่วมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระองค์ ทรงพระราชทานแนวพระราชดำาริในการแก้ปัญหา ด้านนำ้าท่วมนี้ โดยวิธีการที่ตรัสว่า “ แก้มลิง ” ซึ่งได้ พระราชทานอรรถาธิบายว่า “ ...ลิงโดยทั่วไป ถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบ ปอกแล้วเอาเข้าปากเคี้ยว แล้วเอาไปเก็บไว้ที่ แก้ม ลิงจะเอากล้วยเข้าไปไว้ในกระพุ้งแก้มได้ เกือบทั้งหวี โดยเอาไปเก็บไว้ที่แก้มก่อนแล้วจึง นำามาเคี้ยวบริโภคและกลืนกินเข้าไปภาย หลัง... ” ซึ่งหมายความว่าเมื่อเกิดนำ้า ท่วมก็ขุดคลองเพื่อนำานำ้า ให้มารวมกันแล้วนำามาเก็บไว้เป็นบ่อพักนำ้า ก็เปรียบ เหมือนแก้มลิง แล้วจึงระบายนำ้าลงทะเล เมื่อปริมาณนำ้า ทะเลลดลง ลักษณะของงานเป็นการระบายนำ้าออกจาก พื้นที่ตอนบนให้ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ ใต้ ลง คลองพักนำ้าขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเลเมื่อระดับนำ้า ทะเลลดตำ่าลงกว่าระดับนำ้า ในคลองก็นำาการระบายนำ้า
  • 15. จากคลองดังกล่าวออกทางประตูระบายนำ้า โดยใช้ หลัก การทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) และสูบนำ้าออกเพื่อให้ นำ้าในคลองพักมีระดับตำ่าที่สุดซึ่งจะทำาให้นำ้าจากคลองตอน บนไหลลงสู่คลอง พักนำ้าได้ตลอดเวลา แต่เมื่อระดับนำ้าทะเลสูงกว่าระดับนำ้าในคลองก็จะปิดประตู ระบายนำ้าเพื่อไม่ให้ นำ้าไหลย้อนกลับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงการพัง ทลายของดินและการสูญเสียหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ พระองค์จึงทรงมีพระราชดำาริให้ศึกษา “ หญ้าแฝก ” และนำามาใช้ในการอนุรักษ์ดินและนำ้า รวมทั้งใช้ ประโยชน์ด้านอื่นๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา ใน ปัจจุบันได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนมากกว่า 30 หน่วยงาน ร่วมดำาเนินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับหญ้า แฝก จากการศึกษาวิจัยหญ้าแฝกมีความก้าวหน้าเป็น อย่าง ดี ทำาให้ประเทศไทยได้รับเกียรติจัดสัมมนาหญ้าแฝก ระดับนานาชาติ (International Conference on Vetiver) เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2539 เพื่อให้นัก วิชาการมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับ หญ้าแฝก และเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ รอบ 50 ปี ต่อมาอีก 4 ปี ประเทศไทยได้รับเกียรติ จัดสัมมนา นานาชาติ ในหัวข้อ “ หญ้าแฝกกับสิ่งแวดล้อม ” (Vetiver and The Environment) ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18-19 มกราคม 2543 เพื่อเป็นการ เฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระ ชนมายุ 72 พรรษา สำาหรับการประชุมครั้งที่ 3 จะมีขึ้นที่เมืองกวางเจา มลรัฐกวางตุ้ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 18-22 ตุลาคม พ.ศ. 2547 โครงการนำ้าดีไล่นำ้าเสีย หลักการบำาบัดนำ้าเสียโดยการทำาให้เจือจาง (Dilution) ตามแนว ทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ"นำ้าดีไล่นำ้าเสีย" โดยใช้
  • 16. หลักการตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) การใช้นำ้าคุณภาพดีมาช่วยบรรเทานำ้าเน่าเสีย หรือที่เรียกกันว่า "นำ้า ดีไล่นำ้าเสีย" นั้น ได้แก่ การใช้นำ้าที่มีคุณ ภาพดีช่วยผลักดันนำ้าเน่าเสีย ออกไป และช่วยให้นำ้าเน่าเสีย มีสภาพเจือจางลง ทั้งนี้โดยรับนำ้าจาก แม่นำ้าเจ้าพระยา หรือจากแหล่ง นำ้าภายนอก ส่งเข้าไปตามคลองต่าง ๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ หรือ คลองบางลำาพู ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งกระแสนำ้าจะไหลแผ่กระจายขยายไป ตามคลองซอยที่เชื่อมกับแม่นำ้า เจ้าพระยาอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นเมื่อ การ กำาหนดวงรอบ เกี่ยวกับการไหลของนำ้าไปตามคลองต่าง ๆ นับแต่ ปากคลอง ที่นำ้าไหลเข้าจนถึง ปลายคลองที่นำ้าไหลออกได้อย่างเหมาะ สม โดยที่นำ้าสามารถไหลเวียนไปตามลำาคลอง ได้ตลอด แล้ว ย่อม สามารถเจือจางนำ้าเน่าเสียและชักพาสิ่งโสโครกไปได้มาก ซึ่งจะเป็นวิธี การช่วยบรรเทานำ้าเน่าเสียในคลอง ต่าง ๆ ตอนช่วงฤดูแล้งได้อย่างดี จากแนวพระราชดำาริดังกล่าวข้างต้นนี้ จึงบังเกิดกรรมวิธีในการบำาบัด นำ้าเสีย ๒ ระการ ตามแนวพระราชดำาริ "นำ้าดีไล่นำ้าเสีย" คือ วิธีที่หนึ่ง ให้ เปิดประตูอาคารควบคุมนำ้ารับนำ้าจากแม่นำ้าเจ้าพระยาในช่วงจังหวะ นำ้า ขึ้น และระบายออกสู่แม่นำ้าเจ้าพระยา ตอนระยะนำ้าลง ซึ่งมีผลทำาให้ นำ้า ตามลำาคลองมีโอกาสไหลถ่ายเทกันไปมามากขึ้นกว่าเดิม เกิดมีการ หมุนเวียนของนำ้าที่มีสภาพเน่าเสีย กลิ่นเหม็น กลายเป็นนำ้าที่มีคุณภาพดี ขึ้น วิธีที่สอง ให้ขุดลอกคลองเปรมประชากรพร้อมทั้งกำาจัดวัชพืชเพื่อ ให้เป็นคลอง สายหลักใน การผันนำ้าคุณภาพดีไปช่วยบรรเทาให้นำ้าเสีย เจือจางลงและให้คลองเปรมประชากรตอน ล่างเป็นคลองที่สามารถรับ นำ้าจากแม่นำ้าเจ้าพระยาไปช่วยบรรเทานำ้าเสียโดยส่ง กระจายไปตาม คลองต่าง ๆของกรุงเทพมหานคร ส่วนคลองเปรมประชากรตอนบนนั้น ให้หาวิธีรับนำ้าเข้าคลองเป็นปริมาณมากอย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นการเพิ่ม ระดับนำ้าให้สูงขึ้นจะได้สามารถกระจายนำ้าเข้าสู่ทุ่งบาง ไทร-บางปะอิน เพื่อการเพาะปลูก และเพื่อให้คลองเปรมประชากรตอนบน มีลักษณะเป็น อ่างเก็บนำ้า เพื่อใช้ผลักดันนำ้าเน่าเสียในคลองเปรมประชากรตอนล่างต่อ ไปได้
  • 17. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ทางทะเล เฉลิมพระเกียรติ ฯ ประวัติความเป็นมา ในระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน มีการนำาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์เป็นอย่างมาก โดยขาดการจัดการที่เหมาะสม จึงก่อให้ เกิด ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างยิ่ง รัฐบาลทุกยุคทุกสมัย ได้ ตระหนักถึงผลกระทบดังกล่าว และมีความพยายามที่จะอนุรักษ์ และ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมให้ดำารงอยู่ในสภาพที่ดี ลดสภาพเสื่อมโทรม เพื่อให้ สามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นเวลานาน และเป็นมรดกแก่ลูกหลานสืบไป อยู่ตลอดเวลา ในส่วนของระบบนิเวศวิทยาทางทะเล คณะรัฐมนตรีได้มี มติเมื่อ ๔ มิ.ย.๓๔ ให้กองทัพเรือ กรมป่าไม้ กรมประมง ดำาเนินการตาม มาตรการเร่งด่วนในการป้องกัน การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน การป้องกัน การทำาลายปะการัง และดำาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนัก ถึงคุณค่าของทรัพยากร และสภาพแวดล้อมในทะเล กองทัพเรือ ได้จัดทำาโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อม ทางทะเลและชายฝั่ง และดำาเนินงานตาม โครงการดังกล่าวอย่างต่อ เนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน โดยกองทัพเรือ ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นรับผิด ชอบเรียกว่า คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพ แวดล้อมทางทะเล และชายฝั่งกองทัพเรือ ประกอบด้วย คณะกรรมการอำานวยการอนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในทะเล คณะกรรมการอำานวยการอนุรักษ์ และ ฟื้นฟูสภาพ แวดล้อมชายฝั่ง คณะกรรมการอำานวยการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ ทะเล ศูนย์อนุรักษ์สภาพแวดล้อมในแม่นำ้าเจ้าพระยา และคณะกรรมการ อุทยานใต้ทะเลจุฬาภรณ์ ๓๖ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว จะทรงครองราชย์ปีที่ ๕๐ ใน พ.ศ.๒๕๓๙ และรัฐบาลมีน โยบาย ที่จะจัดให้มีโครงการเฉลิมพระเกียรติ ฯ จึงเป็นโอกาสดี ที่จะ เร่งรัด และเพิ่มระดับการปฏิบัติ ในการอนุรักษ์ ฯ ให้ปรากฏผลอย่างเป็น รูปธรรม ไปพร้อม ๆ กับการประชาสัมพันธ์ให้ หน่วยงานภาคเอกชนและ ประชาชน ร่วมมือใน การอนุรักษ์สภาพแวดล้อม เพราะประชาชนชาว ไทย ซึ่งต่างมีความจงรักภักดีต่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะให้ ความร่วมมือเป็นอย่างดี โครงการนี้กองทัพเรือ ได้รับความร่วมมือจาก มหาวิทยาลัยบูรพา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธนาคารอาคาร
  • 18. สงเคราะห์ และองค์กรเอกชนอื่น ๆ ที่ดำาเนินการด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และแบ่งการดำาเนินการออกเป็น ๕ งานดังนี้ ๑.การเก็บสิ่งปฏิกูลใต้นำ้าและชายฝั่งทะเล ๒.การปลูกปะการัง ๓.การเพาะเลี้ยงเต่าทะเล ๔.การเพาะเลี้ยงหอยนมสาว ๕.การประชาสัมพันธ์ หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยงานเจ้าของโครงการ กองทัพเรือ หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยบูรพา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธนาคารอาคารสงเคราะห์ องค์กรเอกชนอื่น ๆ ที่ดำาเนินงานด้านอนุรักษ์สภาพแวดล้อม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ๑. เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัติปีที่ ๕๐ ๒. เพื่อลดการทำาลายสภาพแวดล้อมทางทะเล และฟื้นฟูสภาพ แวดล้อมที่ถูกทำาลาย ให้กลับมีสภาพดีขึ้น และเป็นมรดกของชาติสืบไป ๓. เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำาคัญ และตระหนักถึงคุณค่าของ ทรัพยากร และสภาพแวดล้อมในทะเล ๔. เพื่อเพิ่มแหล่งที่อยู่อาศัยและผลผลิตของสัตว์ทะเล ลักษณะของโครงการ
  • 19. เป็นงานฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางทะเล เพื่อดำาเนินงานอนุรักษ์ สภาพแวดล้อมทางทะเล เสริมการดำาเนินโครงการอนุรักษ์ ฯ ที่กองทัพ เรือดำาเนินการอยู่แล้ว ให้ปรากฏผลในทางปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ใน ระยะเวลาที่รวดเร็ว มุ่งเน้นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ให้สัมฤทธิ์ผล ใน ระดับหนึ่ง ภายใน พ.ศ.๒๕๓๙ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ เป็นปีที่ ๕๐ ระยะเวลาดำาเนินการ เริ่มต้น ๑ มกราคม ๒๕๓๘ สิ้นสุด ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๙ การดำาเนินการ แบ่งการดำาเนินการเป็น ๕ งานดังนี้ ๑.การเก็บสิ่งปฏิกูลใต้นำ้าและชายฝั่งทะเล บริเวณ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดสงขลา จังหวัดพังงา ๒.เชิญชวนและขอความร่วมมือจากประชาชน ส่วนราชการต่าง ๆ สถานศึกษา และหน่วยงานภาคเอกชนทำาความสะอาดและเก็บสิ่งปฏิกูล ชายฝั่งทะเลบริเวณจังหวัด ชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรีจังหวัด ตราด จังหวัดสงขลา จังหวัดพังงา ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางทะเล และมีการทิ้งสิ่งปฏิกูลทำาให้เกิดความสกปรก และเกิดสภาพเสื่อมโทรม ขึ้น โดยขอบเขตที่จะดำาเนินการจะกำาหนดตามลักษณะของสถานที่นั้น ๆ ๓.เชิญชวน และขอความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชน ชมรมดำานำ้า ทำาความสะอาดเก็บสิ่งปฏิกูลใต้นำ้า เก็บซากอวน บริเวณเกาะคราม และบริเวณเกาะแสมสาร ๔.ห้วงเวลาดำาเนินการ จะพิจารณาตามความเหมาะสม ดำาเนิน การอย่างต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลาของโครงการ ฯ โดยเน้นหนัก ในห้วง ระยะเวลาที่มีนักท่องเที่ยว จำานวนมาก ๕.การปลูกปะการัง
  • 20. ๖. ขอความร่วมมือจากสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา และสถาบันทางวิชาการอื่น ๆ ในการสำารวจ วางแผนปลูกปะการัง เพื่อฟื้นฟูแนวปะการัง ๗. พื้นที่เป้าหมายในเบื้องต้น จะดำาเนินการที่เกาะต่าง ๆ บริเวณ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เป็นพื้นที่ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ตารางเมตร และจะขยายการดำาเนินการไปยังเกาะซึ่งเป็นที่ตั้งของประภาคารที่ กองทัพเรือรับ ผิดชอบ และบริเวณใกล้เคียงที่ตั้งหน่วยของกองทัพเรือ ๘. การเพาะเลี้ยงเต่าทะเล ๙. เพาะฟัก และเพาะเลี้ยงเต่าทะเลและกระทะเล ให้ได้จำานวนทั้ง สิ้น ๕๐,๙๓๙ ตัว ในพื้นที่ ๓ แห่ง คือ เกาะคราม สถานีสมุทรศาสตร์ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และหน่วย บัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ๑๐. การดำาเนินการปล่อยเต่าทะเลและกระทะเล ตามระยะเวลา และพื้นที่ที่เหมาะสม โดยเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประชาชน ร่วมในกิจกรรมดังกล่าวด้วย ๑๑. การเพาะเลี้ยงหอยนมสาว เพาะเลี้ยงหอยนมสาวที่สถานี สมุทรศาสตร์ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ อำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี แล้วนำาไปปล่อยสู่แหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติบริเวณเกาะต่าง ๆ บริเวณอำาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และเกาะที่เป็นที่ตั้งประภาคาร ที่ กองทัพเรือรับผิดชอบ และบริเวณใกล้เคียงที่ตั้งหน่วยของกองทัพเรือ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่กองทัพเรือดูแลได้ และมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การ เจริญเติบโตของลูกหอย โดยจะปล่อยลูกหอยให้ได้จำานวนทั้งสิ้น 350,939 ตัว ๑๒. การประชาสัมพันธ์ สำานักงานเลขานุการกองทัพเรือ จะเป็น หน่วยหลักในการประชาสัมพันธ์ โดยจะดำาเนินการเป็นส่วนรวม ดังนี้ ๑๓. จัดทำาสารคดีเกี่ยวกับการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางทะเลใน งานดังกล่าว ตามความเหมาะสม แพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ โดยขอ ความร่วมมือเชิญชวนหน่วยงานภาคเอกชนที่ดำาเนินธุรกิจในด้านการ จัดทำา สารคดีร่วมดำาเนินการด้วย
  • 21. ๑๔. จัดทำาสปอตเผยแพร่ทางวิทยุโทรทัศน์ เพื่อรณรงค์ให้ ประชาชนตระหนักถึงความสำาคัญของสภาพแวดล้อมทางทะเล ๑๕. จัดการแถลงข่าวโครงการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางทะเล เฉลิมพระเกียรติ เป็นส่วนรวมโดยเรียนเชิญผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ผู้ที่ เกี่ยวข้องและผู้ให้การสนับสนุน จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วมในการแถลงข่าวด้วย ๑๖. เชิญสื่อมวลชน และผู้แทนหน่วยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ไปเยี่ยมชม และทำาข่าวการดำาเนินงานตามโครงการในงานต่าง ๆ ทั้ง ๔ งาน ดังกล่าวแล้ว งป.ดำาเนินการ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น จำานวน ๙,๘๑๒,๕๐๐.-บาท (เก้าล้านแปดแสน หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน) โดยกองทัพเรือจะดำาเนินการจัดหา และขอความร่วมมือจากภาคเอกชนและประชาชนทั่วไป พื้นที่ดำาเนินการ ในทะเลและชายฝั่งบริเวณอ่าวไทย และทะเลอันดามัน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน วโรกาส ทรงครองราชย์ ปีที่ ๕๐ ๒.สามารถเพิ่มระดับของการดำาเนินการอนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพ แวดล้อมในทะเล ให้สูงขึ้น จากที่กองทัพเรือดำาเนินการอยู่เดิม จน สามารถเห็นผลการปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ได้ภายใน ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ๓.สภาพแวดล้อมทางทะเลถูกทำาลายลดน้อยลง และส่วนที่ เสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู ให้มีสภาพดีขึ้น ๔.ผู้เข้าร่วมโครงการ และประชาชน จะตระหนักถึงปัญหาของสิ่ง แวดล้อมในทะเล และมีจิตสำานึก ที่จะมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติในทะเล