SlideShare a Scribd company logo
Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
สมมติว่าในขณะนี้คุณเป็นนักศึกษาฝึกสอนโดยทาการสอนที่โรงเรียนสาระวิทยา หลังจากที่คุณสอนมาได้
ระยะหนึ่งแล้ว คุณก็สังเกตเห็นว่านักเรียนมีลักษณะต่างๆ ดังนี้
ด.ญ.ปนัดดา เป็นคนขยัน ชอบอ่านหนังสือมาก เธอบอกว่าชอบทาความเข้าใจเนื้อหาจากการอ่านหนังสือ
หรือเอกสารมากกว่า ฟังครูอธิบาย
ด.ช.เรียงชัย เป็นคนที่ชอบเรียนรู้สิ่งแปลกใหม่ ชอบค้นคว้า ชอบสิ่งที่ตื่นตาตื่นใจและท้าทายความสามารถ
เพราะยิ่งท้าทายและตื่นตามากเท่าไหร่ ยิ่งจดจ่อกับสิ่งนั้นมากและทาให้เกิดการเรียนรู้สิ่งเหล่านั้นได้ดี
ด.ช. มรกต เป็นคนที่ขาดจินตนาการ ถ้าไม่ได้เรียนจากการมองเห็นภาพหรือของจริง เวลาครูสอนในชั้นนึก
ภาพตามไม่ทัน ส่งผลทาให้เขาเรียนรู้ได้ช้าและไม่ทันเพื่อน
ด.ญ. สะรีรัตน์ เป็นคนที่ไม่ชอบศึกษาจากหนังสือที่เป็นข้อความหรือตัวอักษร เพราะในเวลาเรียนเขาจะตั้งใจ
ฟังครูอธิบายเนื้อหา ทาความเข้าใจและพยายามจับประเด็นที่สาคัญให้ได้ในขณะที่เรียน เช่น กระบวนการใน
การแก้โจทย์ เขาจะต้องเข้าใจตอนนั้น โดยไม่ต้องกลับไปอ่านหนังสืออีก เป็นต้น
ภารกิจที่ 1
นักศึกษาจะนําความรู้เรื่องสื่อการสอน ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไรเพื่อสนับสนุน
วิธีการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนแต่ละคนให้มีประสิทธิภาพโดยสื่อที่นํามาใช้
นั้นต้องสนองตอบต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนเป็น
ผู้สร้างความรู้เองด้วย
จากสถานการณ์เบื้องต้นจะเห็นว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มักให้ความสนใจกับสิ่งที่
ตนเองสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ด้วยตนเอง และสามารถมีรูปธรรมที่แสดงถึงเนื้อหา
การเรียนรู้ที่ตนเองควรจะเข้าถึงได้ ซึ่งอาจมองว่าผู้เรียนต้องการโอกาสสําหรับความ
สนใจของตนในการเรียนรู้
วิเคราะห์สถานการณ์
การจัดการเรียนรู้
ควรจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ครูเป็นผู้กําหนดสถานการณ์ปัญหาและควบคุมชั้นเรียน โดยเชื่อมโยงแนวความคิด
ของนักเรียนให้สามารถเรียนรู้และเข้าใจไปได้พร้อมๆกัน รวมทั้งคอยกระตุ้นให้นักเรียนคิดหา
แนวทางต่างๆ ในการแก้ไขปัญหา และคอยท้าทายให้คิดต่อไม่เพียงแค่หยุดที่คําตอบแรก
ให้นักเรียนออกมานําเสนอแนวคิดหน้าชั้นเรียน เพื่อให้เพื่อนสังเกตแนวคิด
และการแก้ไขปัญหา ให้รับฟังและกระตุ้นให้เกิดการต่อยอดทางความคิดหรือการบูรณา
การความคิดเพื่อพัฒนาแนวคิดต่อๆไปได้
ภารกิจที่ 2
ในปัจจุบันนี้จะพบคาว่า "สื่อการสอน" กับคาว่า "สื่อการเรียนรู้" ในฐานะที่
นักศึกษาจะก้าวออกไปเป็นครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ ให้อธิบายว่า สองคํานี้ เหมือน
หรือมีความแตกต่างกันอย่างไร
สื่อการสอน หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ส่งผ่านเนื้อหาไปยังผู้เรียน
เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน โดยมีผู้สอนเป็นผู้บอกและเป็นผู้รวบรวมข้อมูล
ที่ใช้ในการสอน
สื่อการเรียนรู้ หมายถึง เครื่องมือที่ออกแบบให้ผู้เรียนได้ศึกษา
รวมถึงกระตุ้นให้เกิดการคิดแก้ไขปัญหา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์
ความรู้และเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ลักษณะของสื่อการสอน และสื่อการเรียนรู้เหมือนกันคือ
วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการ
ความแตกต่าง
ถ่ายทอดเนื้อหาความรู้จากผู้สอนไปยังผู้เรียน
จากบทเรียน ความรู้และประสบการณ์ของครู
เพื่อให้นักเรียนจดจําและนําไปใช้
มุ่งเน้นการให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ภายในชั้น
เรียนเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง จาก
สถานการณ์ปัญหาที่กําหนดให้
ภารกิจที่ 3
ออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสาระ
การเรียนรู้ของท่าน
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การนําเสนอโจทย์ปัญหาภายในชั้นเรียน สร้างความกระตือรือร้นให้
ผู้เรียนสนใจ รวมทั้งมีการนําเสนอแนวคิดหน้าชั้นเรียน เพื่อใช้ในการสร้าง
กระบวนการคิดแก้ไขปัญหาที่แตกต่างให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้โดย
เชื่อมโยงกับแนวความคิดของเพื่อนและนํามาปรับใช้กับแนวคิดของตนเอง
และสร้างความกระตือรือร้นในการเรียนรู้จากการหาคําตอบหรือวิธีการแก้ไข
ปัญหานั้นๆ คอยแนะแนวทางและสรุปแนวคิดของนักเรียนเพื่อนํามาขยาย
ความเข้าใจและนํามาอธิบายการแก้ไขปัญหาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
นายณัฐกิจ ภารประดับ 553050072-6
นางสาวดุจรัตนดา กําไรศิลป 553050074-2
นายธนวัฒน โททุมพล 553050076-8
241203 Sec.1

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
Krujanppm2017
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
Khorkhuad Jakkritch
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
Jirathorn Buenglee
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทับทิม เจริญตา
 
Document 1320130813093429
Document 1320130813093429Document 1320130813093429
Document 1320130813093429
Inmylove Nupad
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
ToponeKsh
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Mod DW
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 

What's hot (20)

07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)008 pat 1 (1)
008 pat 1 (1)
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
Document 1320130813093429
Document 1320130813093429Document 1320130813093429
Document 1320130813093429
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to สื่อการเรียนรู้

Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
June Khanittha
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
June Khanittha
 
Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattakamon
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Wiparat Khangate
 
บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้Mod Phonprasat
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
Jitthana_ss
 
นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1Naparat Sriton
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
Kanatip Sriwarom
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
Thamonwan Kottapan
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattakamon
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บท4
บท4บท4
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4Amu P Thaiying
 

Similar to สื่อการเรียนรู้ (20)

Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4Sattkamon groupa a4
Sattkamon groupa a4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้บทที่4สื่อการเรียนรู้
บทที่4สื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1นวัตกรรมบทที่ 4.1
นวัตกรรมบทที่ 4.1
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
All4
All4All4
All4
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
 

More from เมี๊ยวว เมี๊ยวว (6)

นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
นวัตPpt ii
นวัตPpt iiนวัตPpt ii
นวัตPpt ii
 

สื่อการเรียนรู้