SlideShare a Scribd company logo
วิจารณ “บทความวิจัย หลักสูตรมหาวิทยาลัยสงฆกับพระธรรมวินัย”

          เนื่องจากบทความวิจัยนี้ ทานผูทําวิจัยไดตั้งสมมติฐานซึงเปนประเด็นหลักไว ๓ ประเด็น
                                                                   ่
ในแตละประเด็นก็มีหัวขอยอยหลายหัวขอ ซึ่งลวนนาสนใจเปนอยางยิ่ง ผูวิจารณจะพยายาม
วิจารณใหครบทุกประเด็นหัวขอ เพื่อชี้ใหเห็นถึงขอที่เห็นดวยและไมเห็นดวยอยางไร
          - การศึกษาของสงฆกับการศึกษาของแผนดิน
          ในหัวขอการศึกษาของสงฆกับการศึกษาของแผนดิน                ทานผูวิจยไดวิเคราะหเนื้อหา
                                                                                ั
การศึกษาของสงฆและการศึกษาของแผนดิน                    โดยลําดับเหตุการณจากอดีตคือสมัยสุโขทัย
เรื่อยมาจนถึง พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยยกหลักฐานมาอางประกอบเพื่อใหเหมาะกับเหตุการณชวงนั้น ๆ
ผูวิจารณเห็นดวยวา มีความชัดเจนดี
          - การบวชเรียนเปนทางออกดานการศึกษา
          ในประเด็นตอนทายของหัวขอนีที่ผูวิจยสรุปวา “พระภิกษุและสามเณรที่เขามาบวชใน
                                       ้       ั
พระพุทธศาสนา สวนใหญนั้นมีเหตุผลในการบวชเพื่ออาศัยประโยชนทางดานการศึกษา อัน
เปนประเพณีปฏิบัตในสังคมไทยมาชานาน” ผูวิจารณเห็นดวยในประเด็นนี้ แตก็ไมเห็นดวยกับ
                     ิ
ทานผุวิจัยที่มองขามสวนนอย คือนาจะพูดถึงพระภิกษุและสามเณรอีกสวนหนึ่งที่ทานบวชเขามา
ดวยสรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจริง ๆ ซึ่งคงปฏิเสธไมไดวาไมมีอยู แมจะเปนสวนไมมากก็
ตาม ควรจะกลาวถึงเพื่อใหเห็นความเสมอภาพในสังคมประชาธิปไตย
          - หลักสูตรการศึกษาวิชาทางโลกของมหาวิทยาลัยสงฆกับพระราชปณิธานรัชกาลที่หา
ทานผูวิจัยไดบอกวา “มหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองไมไดมีการใหความสําคัญแกการศึกษาพระธรรม
วินัยมากไปกวาการศึกษาวิชาการทางโลก ดวยเหตุนี้กอน พ.ศ. ๒๕๒๗ ซึงทางรัฐบาลยอมรับ  ่
การศึกษาของมหาวิทยาลัยทั้งสอง ระบบการศึกษาทีจัดทําขึ้นโดยมหาวิทยาบัยสงฆทงสองนั้นจึง
                                                        ่                                 ั้
ไมไดรับการยอมรับใหเปนการศึกษาของคณะสงฆทั้งจากทางมหเถรสมาคมและจากทาง
ภาครัฐบาล ทั้ง ๆ ที่มหาวิทยาลัยทังสองไดกอตั้งมานานหลายสิบป” ซึ่งในประเด็นนี้ผุวจารณ
                                     ้                                                        ิ
เองกเห็นดวยกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว            แตไมเห็นดวยทั้งหมดทีเดียว           เพราะการที่
มหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองนําการศึกษาวิชาการทางโลกมาบรรจุไวในหลักสูตร ไมไดหมายความวา
จะใหความสําคัญตอการศึกษาพระธรรมวินยนอยไปกวา เพราะยังคงมีการศึกษาในหลักสูตรพระ
                                            ั
ธรรมวินัยควบคูกันไปดวย ซีงมหาวิทยาลัยสงฆืทั้งสองอาจมีเจตนาเพื่อปรับระบบการศึกษาของ
                   
สงฆใหเขากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป               และทานผูวจัยบอกอีกวา
                                                                ิ                   “คณะรัฐบาลใน
อดีตที่ผานมานันมีความเห็นวา การเรียนการสอนที่ไมเปนไปตามพระธรรมวินัยของมหาวิทยาลัย
                 ้
สงฆนั้น นอกจากจะขัดตอพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูหวแลว การ        
เรียนการสอนวิชาการทางโลกตาง ๆ อาจจะขัดตอสมณวิสัย ซึงบรรพชิตทั้งหลายไมควร
                                                                         ่
ประพฤติปฏิบัติ          และในที่สุดแลวการศึกษาวิชาการทางโลกยอมจะเปนการสงเสริมวิชาในการ
ประกอบอาชีพในทางโลกใหแกพระภิกษุแทน อันจะเปนไปเพื่อการลาสิกขาของพระภิกษุสามเณร
ได” ในประเด็นนี้ผูวิจารณก็ไมเห็นดวยกับทานผูวิจย เพราะเหตุวา พระราชประสงคของรัชกาลที่
                                                       ั
หา มุงใหสถาบันสงฆทงสองแหงศึกษาเลาเรียนพระไตรปฎกและวิชาชันสูงในพระพุทธศาสนา
                            ั้                                          ้
แตก็มีการถกเถียงและตีความกันไปตาง ๆ วาวิชาชั้นสูงในทางพระพุทธศาสนานันที่แทแลวคือวิชา
                                                                              ้
เกี่ยวกับอะไร แตเมื่อเร็ว ๆ นี้ที่การสัมมนาที่ผานมา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัยไดกลาววา วิชาชั้นสูงนั้นไดแกภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนวิชาทีกําลังไดรับความนิยมในยุค
                                                                     ่
ปจจุบัน จะตรงตามพระราชประสงคหรือไมตองใชวิตารณญาณตรองดูดวยตนเอง แตผูวจารณ      ิ
เห็นวาวิชาการชั้นสูงนั้น นาจะไดแกวชาวิปสสนากัมมัฏฐาน เพราะถือวาวิชานีเ้ มื่อศึกษาและ
                                            ิ
ปฏิบัติแลวทําใหหลุดพนจากทุกขได และมีแตเฉพาะใหพระพุทธศาสนาเทานั้น การศึกษา
วิชาการทางโลกถาฟงดูแลวก็อาจจะดูวาไมสมควรไมเหมาะแกสมณเพศ แตถามองใหกวาง ก็จะ
เห็นวาการศึกษาวิชาการทางโลกเหลานันจะเปนประโยชนมากทีเดียวแกพระสงฆในการเผยแผ
                                          ้
ศาสนาในยุคแหงความเปลี่ยนแปลง เพราะไดรูเทาทันความเปนไปของโลก แตหลักสูตรและการ
เรียนการสอนก็ควรจัดใหเหมาะสมปรับใหเขากับสมณภาวะก็ไมนาจะมีผลเสียอะไร เห็นดวยที่
บอกวาเมื่อศึกษาวิชาการทางโลกจบแลวจะเปนเหตุใหพระสงฆสวนหนึ่งตองลาสิกขาไปเพื่อ
ประกอบอาชีพ แตก็ใชวาจะเปนเชนนั้นหมด เพราะผูทบวชดวยศรัทธาและมีความตั้งใจจะเผยแผ
                                                         ี่
พระศาสนาก็ยังมีอีกมากเหมือนกัน
          ในประเด็นที่วา “การบวชในสังคมไทยสวนใหญเปนการบวชเพื่อแสวงหาโอกาสทางการ
ศึกษาเลาเรียน” เห็นดวยในคํากลาวนี้ เพราะสวนมากตังแตอดีตมามีแนวโนมเปนเชนนั้นจริง แต
                                                            ้
อยางที่บอกขางตนวา ไมใชทั้งหมด เพราะผูบวชดวยศรัทธาจริง ๆ ก็ยังคงมีอยู และทําใหมองวา
ทานผูที่ทําวิจัยมีความปรารถนาอยางแรกกลาที่อยากจะใหพระสงฆเปนพระสงฆในอุดมคติจริง ๆ
เมื่อไมเปนไปตามนั้นกอาจจะมองพระสงฆไปในแงลบโดยสวนเดียว แตอยาลืมวาพระสงฆซึ่งถา
ยังเปนปุถชนและยังตองเกี่ยวของกับสังคมตราบใด ตราบนั้นก็ยังตองปรับตัวเองไปกับกระแสโลก
            ุ
อยูตลอดเวลา และเมื่อเปนเชนนี้ ถาจะมองวาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหงไมตรง
ตามพระราชประสงคก็อาจเปนไปได หรืออาจเปนไปไมไดดวยเหตุผลตามที่กลาวมา
          อีกประเด็นที่นาสนใจคือ “หลักสูตรวิชาการทางโลกดังกลาวนั้นเปนวิชาการที่สงเสริมให
พระภิกษุที่ลาสิกขาแลว สามารถนําไปประกอบอาชีพไดในสังคมฆราวาส” ผูวิจารณเห็นดวย
เพราะสวนใหญที่ลาสิกขาแลว ก็จะนําวิชาความรูที่ศึกษาจบแลว มาใชในการประกอบอาชีพใน
                                                     
สังคม แตถามองในแงดีก็ไมนาจะเกิดผลเสียอะไร ตรงขากลับเปนผลดีมากกวา เพราะเมื่อเปน
พลเมืองของชาติและมีการศึกษามีงานทําก็ไดชื่อวาไมเปนภาระในสังคม และที่บอกวา “การ
ตัดสินเรื่องการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆืจึงจําเปนตองใชหลักพระธรรมวินัยเปนเกณฑในการ
ตัดสิน” สวนนี้ผูวจารณเห็นดวยเปนอยางยิ่ง เพราะพระสงฆเมื่อยังคงเพศเปนสมณะควรยึดพระ
                       ิ
ธรรมวินัยเปนหลักใหญ แมวาจะกระทําการในเรื่องใด ๆ
           - การศึกษาตามพระธรรมวินยกับหลักสูตรวิชาการทางโลก
                                           ั
           ประเด็นที่บอกวา “การศึกษาวิชาทางโลกจึงไมตอบสนองตอวิถีชีวิตของบรรพชิตที่มุงตอ
ความหลุดพนจากกิเลสเครื่องรอยรัด ในทางกลับกัน การศึกษาทางโลกนั้น เปนเรื่องของฆราวาส
และมิไดเปนไปเพื่อความพนทุกข” ผูวิจารณเห็นดวยกับประเด็นนี้ แตไมทั้งหมด เพราะเหตุวา
ทานผูวิจัยมองเฉพาะวา ผูที่เขามาบวชจัดตองปฏิบัติตนเพื่อใหพนทุกขฝายเดียว โดยลืมไปวา
อุปนิสัยและบารมีของแตละบุคคลนั้นมีมากนอยตางกัน และดวยสังคมโลกทีเ่ ปลี่ยนไป การ
ปฏิบัติของพระสงฆเพื่อใหพนทุกขอยางเดียวยอมเปนไปไดยาก แตก็ใชวาจะไมมการประพฤติ
                                                                                  ี
ปฏิบัติเสียทีเดียว ในยณะเดียวกันพระสงฆก็ไดมีโอกาสทําคุณประโยชนตอสังคมและเผยแผพระ
ธรรมวินัยควบคูไปดวยตั้งแตอดีตถึงปจจุบน แมจะไมไดผลดังเชนสมัยพุทธกาล แตกถือวาไดนํา
                                             ั                                       ็
ประโยชนและความสุขมาสูสังคมโลกมาแลวมิใชนอย
           - ขอมูลทางสถิติการศึกษาพระธรรมวินัยของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหง
           จากสถิติขอมูลการศึกษาของมหาวิทยาสงฆทั้งสองทีนํามาอางอิงกนับวาเปนประโยชนตอ
                                                            ่
การศึกษาเรื่องนี้ยิ่ง ผูวจารณเห็นดวย แตไมทั้งหมด เพราะในความเปนจริงจากการที่ไดศึกษา
                            ิ
เลาเรียนมาแลวจะพบวา ไดรับความรูความเขาใจเกี่ยวกับพุทธศาสนามาไมนอยเลย แมจะมีวชา     ิ
ที่เกียวกับพระธรรมวินัยไมมาก ถาไมไดศึกษาตรงตามสาขานั้น ๆ แตดวยตระหนักถึงสมณภาวะ
      ่
และจําเปนตองใชตลอดเวลาเพื่อการแผยแผธรรม ทําใหตองเรงศึกษามากขึ้นกวาแตกอน และ
จากการศึกษาวิชาทางโลกทําใหรูจักปรับความรูในทั้งสองฝายใหเขากันไดในการใชประโยชน
           - วิเคราะหเรื่องศีล
           ผูวิจัยกลาววา     “ปจจุบันการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหง       ในสวนของ
การศึกษาและปฏิบัตในเรื่องเกียวกับศีลสิกขาบทหรือกลาวโดยตรงคือ
                         ิ        ่                                            พระวินยปฎกของ
                                                                                       ั
พระภิกษุนั้นถือวามีความยอหยอนกวาในสมัยพุทธกาลมาก” ผูวิจารณเองก็เห็นดวยในประเด็นนี้
แตผูวิจัยเองลืมมองไปวา ยุคสมัยมีความแตกตางกันในหลายดาน สิกขาบทของพระสงฆตาม
พระธรรมวินัยแมจะยังคมหลักการเดิมอยู แตในทางปฏิบัติอาจจะไมตรงตามตัวแมบทเสียทีเดียว
คือมีการลวงละเมิดบาง เพราะความที่พระสงฆในปจจุบันยังเปนปุถชน ถาจะนําไปทียบกับยุค
                                                                   ุ
พุทธกาลซึงลวนแตเปนพระอริยสงฆเสียโดยมากยอมเปนไปไมได
              ่
           แลในประเด็นที่วา “เรื่องการใหความสําคัญในการศึกษาพระวินัยนัน มหาวิทยาลัยสงฆ
                                                                            ้
ไมไดมีการใหความสําคัญอยางจริงจัง ทั้ง ๆ ที่มหาวิทยาลัยสงฆซึ่งเปนผูนําในดานการศึกษาควร
จะเนนในเรื่องารศึกษาและการปฏิบัตตามพระวินัย อันเปนรากแกวของพระสาสนา” ผูวิจารณ
                                         ิ
ไมไดเห็นดวยทั้งหมดในประเด็นนี้ เพระาถาจะดูตามสถิติที่ยกมาอางก็จะดูวาการใหความสําคัญ
ในเรื่องพระวินัยดูจะนอยไป แตความจริงโครงสรางของหลักสูตรที่มีอยูนั้น ถาศึกษาใหดจะรูวา
                                                                                             ี
มีความละเอียดพอสมควร เพราะมีรายละเอียดเกี่ยวกับพระวินัยปฏกครบ แตอยูที่วาผูสอนและ
ผูเรียนจะใสใจศึกษากันอยางจริงจังหรือไม
          - การปฏิบัติสมาธิและวิปสสนา
          ทานผูวิจัยสรูปประเด็นไววา “จากขอมูลในสวนของการปฏิบัติในไตรสิกขา ถือวา
มหาวิทยาลัยสงฆยังไมสามารถพัฒนาระบบการศึกษาและการปฏิบัติเพื่อใหพระภิกษุบรรลุ
คุณธรรมชันสูงไดดังทีควรเปนตามพระธรรมวินย” ประเด็นนี้ผูวิจารณเห็นดวย แตไมทั้งหมด
            ้            ่                        ั
เพราะในสวนของโครงสรางหลักสูตรถาศึกษาใหดจะพบวา  ี                  มีโครงสรางที่มีความละเอียด
พอสมควรจากระดับงายไปหาระดับยาก                       ถามีการเรียนการสอนและปฏิบัติตามขั้นตอนใน
หลักสูตรจนครบแลว เชื่อแนวา จะทําใหสามารถบรรลุถึงคุณธรรมชั้นสูงไดแนนอนตามระดับ
สติปญญาของบุคคลนัน ๆ      ้
          การเผยแผตามพระธรรมวินัยกับหลักสูตรวิชาทางโลก
          มีประเด็นที่นาสนใจที่ผูวิจยสรุปไวคือ “การที่มหาวิทยาลัยสงฆอางวา การศึกษาวิชาทาง
                                      ั
โลกในมหาวิทยาลัยสงฆเพื่อสนับสนุนการเผยแผพระธรรมวินัยยอมเปนเหตุผลที่ไมมีน้ําหนัก
นอกจากนี้ยังไมสอดคลองกับพระธรรมวินัยและไมตรงตามที่พระพุทธองคทรงแสดงหลักในการ
เผยแผพระธรรมวินยไว เพราะไมไดเปนการเผยแผเรื่องไตรสิกขาเพื่อความดับทุกข นอกจากนี้
                      ั
มหาวิทยาลัยสงฆยังมิสามารถผลิตบุคลากรในการสอนพระธรรมวินัยไดอยางเพียงพอทั้งในดาน
ปริมาณและคุณภาพเพราะสวนใหญลาสิกขาไป เปนตน การศึกษาวิชาทางโลกจึงเปนการให
ความชวยเหลือในดานโอกาสทางการศึกษามากกวาเหตุผลในการชวยเผยแผพระธรรมวินัยดังที่
มหาวิทยาลัยสงฆอางแกสังคม” เชนเดียวกัน ถามองโดยแงเดียวแลวเห็นดวยกับประเด็นนี้
เพราะโดยสภาพความเปนจริงตามที่ปรากฏแลวเปนดังทีทานผูวิจัยกลาว แตฝูวิจารณเองมองเห็น
                                                            ่     
อีกดานหนึงวา ในเมื่อสังคมโลกมีความเปลี่ยนแปลงไปตลอด การจะใหพระสงฆประพฤติปฏิบัติ
              ่
ดังเชนในอดีตคงเปนเรื่องเปนไปไดยาก แตก็ไมใชวาพระสงฆจะทิ้งหลักการเดิมเสียทั้งหมด คือ
ยังคงหลักไวตามเดิม แตการศึกษาและปฏิบัติอาจจะไมเขมขนเหมือนในอดีต การศึกษาพระ
ธรรมวินัยซึ่งควบคูกับวิชาทางโลกก็เพื่อประโยชนตอการเผยแผดังกลาว และจะไดผลมากกวาเมื่อ
เทียบกับการเผยแผโดยที่รูเฉพาะดานเดียวดวยซ้ําไป และผูวิจารณเห็นวา ทานผูทําวิจยเรื่องนี้มี
                                                                                      ั
มุมมองแคบไป ควรจะมองหลาย ๆ มุมเพื่อใหเห็นสภาพความเปนจริงซึ่งเปนประโยชนตอสังคม
สวนรวมจะดีกวา คือทานผูทําวิจัยอยากจะใหพระสงฆเปนพระสงฆในอุดมคติจริง ๆ ซึ่งเมื่อไม
                               
เปนดังที่คาดหวังก็อาจจะมองเหตุผลอยางอื่นดอยไปหมดก็เปนได
          แมในประเด็นที่เหลือเมื่อนํามาตั้งเปนขอสังเกตก็จะพบวา ทานผูวิจัยพยายามจะชีใหเห็น
                                                                                            ้
ขอเท็จจริงปรากฏในปจจุบนของวงการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหงวา “การศึกษาวิชา
                             ั
ทางโลกเปนเรื่องที่ไมถูกตองตามพระธรรมวินัยในทุกดาน       และในที่สุดก็จะเปนไปเพื่อความ
ลมเหลวและเสื่อมสูญแหงพระพุทธศาสนา เพราะไมไดเรียนพระปริยัติธรรมที่พระพุทธองคทรง
ตรัสซึ่งนําไปสูความเสื่อมประการอื่น ๆ ในพระพุทธศาสนาตามหลักอันตรธาน ๕ นอกจากนันใน      ้
แงของบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆที่มการศึกษาวิชาทางโลก โดยเหตุผลประการหลักที่สําคัญ
                                       ี
คือ การใหโอกาสทางดานการศึกษาแกผูดอยโอกาสนั้น บทบาทดังกลาวยอมไมใชบทบาทหลัก
ของพระสงฆตามหลักพระธรรมวินัย และบทบาทดังกลาวนั้นยังทําใหบทบาทหลักตามพระธรรม
วินัยของพระสงฆเสียไปดวย”               ในประเด็นสรุปโดยรวมนี้     ผูวิจารณเองก็ยังมองวา
ทานผูวิจัยกลาวหนักเกินไป และเปนกลาวโดยมองเฉพาะมุมเดียว นาจะมีการมองใหตางมุมบาง
คือถาจะมองในลักษณะนี้ นาจะคํานึงถึงหลักไตรลักษณดวย จะไดเขาใจถูกตองตามความเปน
จริงของความเปลียนแปลงในเรื่องตาง ๆ โดยไมหยุดนิง ไมควรจะยึดอุดมคติโดยอัตโนมัติของตน
                   ่                              ่
ถายเดียว
หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย                มีหลักการดังนี
๑.เป็ นการศึกษาเพือเพิมความรู ้และทักษะเฉพาะด ้านที
สามารถนํ าไปประกอบอาชีพให ้สอดคล ้องกับภาวะ
เศรษฐกิจและสั งคม
๒.เป็ นการศึกษาทีสนองต่อการพัฒนาอาชีพในท ้องถิน
หรือการศึกษาต่อ
๓.เป็ นการศึกษาทีส่งเสริมการนํ ากระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเหมาะสมไปใช ้ในการพัฒนา
                            ี
คุณภาพชีวตท ้องถิน
           ิ
และประเทศชาติ

จุดหมาย

การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็ นการศึกษาทีมุง     ่
ให ้ผู ้เรียนพัฒนาคุณภาพชีวตและให ้สามารถทําประโยชน์
                           ิ
ให ้กับสั งคมตามบทบาทและ
หน ้าทีของตนในฐานะพลเมืองดีตามระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตยทีมีพระมหากษั ตริยเป็ นประมุขโดยให ้
                                     ์
ผู ้เรียนได ้พัฒนาเชาวน์ปัญญา มีความรู ้และทักษะเฉพาะ
ด ้านตามศั กยภาพเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพร่วม
พัฒนาสั งคมด ้วยแนวทางและวิธการใหม่ๆและบําเพ็ญตน
                               ี
ให ้เป็ น                              ประโยชน์ตอสั งคม
                                                ่
ตารางหล ักการ
ประกอบโครงสร ้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย
พุทธศั กราช       ๒๕๒๔(ฉบับปรับปรุง     พ.ศ.    ๒๕๓๓)

แนวดําเนินการ
รศ.บุญนํ า ทานสัมฤทธิ
                                                                      ทีปรึกษารัฐมนตรีชว ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
                                                                                       ่

                    ครู 11 ต้อง                                            ครู 12 ไม่
1. ต ้อง รู ้ก่อน

2. ต ้อง สอน ทวนซํ า                                  1. ไม่ หน ้าบึง หน ้างอ

3. ต ้อง ทํา ให ้เห็น                                 2. ไม่ ด่าทอ หยาบคาย

4. ต ้อง เน ้น ปฏิบต ิ
                   ั                                  3. ไม่ มาสอนสายเป็ นประจํ า

5. ต ้อง จัด เสริมกําลังใจ                            4. ไม่ ชักนํ าให ้เชือโชคลาง

6. ต ้อง ชี พิษภัยให ้กลัว                            5. ไม่ พูดอย่างทําอย่าง

7. ต ้อง ทําตัว ใกล ้ชิดศิษย์                         6. ไม่ วางท่าข ้าเยียม

8. ต ้อง กล่อมจิตให ้เกิดศรัทธา                       7. ไม่ ลืมเตรียมการสอน

9. ต ้อง รักษากติกาอย่างเคร่งครัด                     8. ไม่ ลืมนํ าอุปกรณ์มาใช ้

10. ต ้อง วัดและประเมินผลอย่างเทียงตรง 9. ไม่ แต่งกายหวือหวา

11. ต ้อง ดํารงความรักความเมตตาไว ้ให ้               10. ไม่ วิงหาอบายมุข
ถาวร                                                  11. ไม่ ก่อทุกข์ให ้ผู ้อืน
     อุปกรณ์ คือ ครูดมคากว่าสิงใด
                     ี ี ่                            12. ไม่ ฝื นใจสอน




                                      กลับหน ้าบทความวิชาการ

                                               Copyright @ : 2002 Ministry of Education, THAILAND
                                                                         แหล่งข ้อมูล : รศ.บุญนํา ทานสัมฤทธิ
                    รวบรวม จัดเตรียมข ้อมูล พัฒนาและนํ าเสนอ :นางสายพิณ เชือน ้อย ( 13 ส.ค. 2545))
                                    หน่วยงาน : กลุมพัฒนาระบบสารสนเทศ ศูนย์สารสนเทศ สป. ศธ.
                                                   ่
                                            โทร. 281-9809 , 628-5643 , 628-5644 โทรสาร 281-8218
                                                         ติดต่อผู ้ดูแลระบบ : website@emisc.moe.go.th
ระบบการศึกษาแบบใหม่

เนืองด ้วยพระราชบัญญัตฉบับนีว่าด ้วยเรืองการศึกษาแห่งชาติ มิได ้เกียวข ้องกับการ
                          ิ
ปกครองคณะสงฆ์ แต่ทต ้องเกียวก็เพราะ พระราชบัญญัตคณะสงฆ์โยงไปผูกติดไว ้กับ
                        ี                            ิ
กรมการศาสนาและกระทรวงศึกษาธิการ เมือได ้รับการแก ้ไขมิให ้โยงใยก ้าวก่ายกันแล ้วก็
จบกัน ดังนั น เรืองทีควรจะพิจารณากันต่อไปก็คอ เรืองการศึกษาของคณะสงฆ์และ
                                             ื
การศาสนศึกษา

ตามพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ นั นได ้แบ่งการศึกษออกเป็ น ๓
               ิ
รูปแบบ คือ
  (๑) การศึกษาในระบบ เป็ นการศึกษาทีกําหนดจุดมุงหมาย วิธการศึกษา หลักสูตร
                                                      ่          ี
      ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและประเมินผล ซึงเป็ นเงือนไขของการสํ าเร็จ
      การศึกษาทีแน่นอน
  (๒) การศึกษานอกระบบ เป็ นการศึกษาทีมีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย
                                                        ่                      ่
      รูปแบบ วิธการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและการ
                ี
      ประเมินผล ซึงเป็ นเงือนไขสํ าคัญของการสํ าเร็จการศึกษา โดยเนือหาและ
      หลักสูตร จะต ้องมีความเหมาะสม สอดคล ้องกับสภาพปั ญหาและความต ้องการ
      ของบุคคลแต่ละกลุม  ่
  (๓) การศึกษาตามอัธยาศั ย เป็ นการศึกษาทีให ้ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้ด ้วยตนเองตามความ
      สนใจ ศั กยภาพ ความพร ้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์
      สังคม สภาพแวดล ้อม สือ หรือแหล่งความรู ้อืน ๆ

สํ าหรับการศึกษาพระปริยัตธรรม คือ นั กธรรมและบาลี และปริยัตธรรมสามัญ ทีคณะสงฆ์
                          ิ                                      ิ
ให ้พระภิกษุ สามเณรศึกษาเล่าเรียนกันอยูขณะนี ยังมิได ้พูดจาหาข ้อยุตวา จัดอยูในระบบ
                                         ่                              ิ ่      ่
อะไร ใน ๓ แบบนี หรือจัดเข ้าไม่ได ้ด ้วยเหตุผลใด เรืองนีเป็ นเรืองเร่งด่วนทีจะต ้องหาข ้อ
ยุตโดยเร็ว เพราะเป็ นไปเพือความอยูรอดของพระพุทธศาสนาส่วนหนึง
    ิ                               ่


                       อนาคตของพระพุทธศาสนาขึนอยูก ับ
                                                 ่

                         พระราชบ ัญญ ัติการศึกษาแห่งชาติ

                   ความส ัมพ ันธ์ระหว่างการศึกษาก ับการศาสนา


ตังแต่โบราณมา ก่อนทีจะมีกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการ ในปั จจุบัน
การศึกษากับการพระศาสนานั น เชือมโยงสัมพันธ์กนอย่างใกล ้ชิดมาโดยตลอด โดยวัด
                                                ั
เป็ นสถานทีศึกษาของชาวบ ้าน พระทําหน ้าทีเป็ นครูสอน คนไทยจึงได ้รับทังวิชาความรู ้
และวิชาศีลธรรมไปพร ้อมกัน แม ้ต่อมารัฐจะจัดตังโรงเรียนและมีครูเป็ นของตัวเอง
โรงเรียนก็ยังคงอยูในวัดเป็ นส่วนใหญ่ วิชาศีลธรรมก็ยังคงอยู่ แม ้ชือกระทรวงก็ชอว่า
                  ่                                                          ื
กระทรวงธรรมการ แม ้ตราสัญลักษณ์ ของกระทรวงก็เป็ นรูปเสมา ธรรมจักร ซึงระบุถง      ึ
พระธรรม ต่อมาได ้มีการเปลียนเป็ นชือกระทรวงศึกษาธิการ รัฐจึงตังกระทรวงขึนเอง
และนํ าโรงเรียนออกจากวัดไปส่วนหนึง บทบาทของพระผู ้สอนหนั งสือ จึงลดน ้อยลง
ระบบนํ าเยาวชนเข ้าถึงศีลธรรมก็เริมเสือมถอยลง พร ้อมกับปั ญหาเสือมโทรมทาง
ศีลธรรมของผู ้คนมีมากขึน และทวีความรุนแรงมากขึนตามลําดับ จนกระทังลุกลามไปทํา
ให ้เกิดปั ญหาทางสังคมอย่างอืนตามมาอีก
ดังนั น จึงอาจกล่าวได ้ว่า การศึกษากับการพระศาสนานั น จะต ้องเดินเคียงคูกันไป
                                                                        ่
ตลอดเวลา ถูกจับแยกกันเมือใด ความหายนะของผู ้คนและบ ้านเมืองก็จะมีความทวี
รุนแรงมากขึนเท่านั น จนกระทังอาจสินชาติสนศาสนาไปเลยก็ได ้
                                           ิ

เรืองทีน่าเป็ นห่วงมากทีสุด ในขณะนีก็คอ การทีจะรักษาสถานภาพวิชาศีลธรรมให ้คงอยู่
                                       ื
ในโรงเรียน กล่าวคือยังคงการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาไว ้เหมือนกับในอดีต
และทําให ้เข ้มข ้นกว่า เพราะการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ในโรงเรียนนั น ถูก
ปล่อยปละละเลยจากทุกฝ่ ายมานานแล ้ว บางยุคบางสมัยถึงกับถูกการตัดทิง ต ้องออก
แรงมาเรียกร ้องกันจึงกลับมาได ้ แต่ก็กลับมาแบบอ่อนล ้า ไร ้เรียวแรงผลักดัน เป็ นเพียง
วิชาเลือกวิชาหนึงเท่านั น

การทีวิชาศีลธรรม จะได ้มีโอกาส แผ่รัศมีในโรงเรียน และในจิตใจ ของเยาวชน เหมือน
สมัยปู่ ย่าตายาย ก็มอยูหนทางเดียว คือ อาศั ยการกําหนดนโยบาย และแผนการศึกษา
                    ี ่
ของชาติไว ้ และผู ้ทีทําหน ้าทีหรือมีอํานาจในการกําหนดนโยบาย ดังกล่าวนั น ก็คอ
                                                                             ื
คณะกรรมการต่าง ๆ ทีถูกกําหนดไว ้ในพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ เช่น สภา
                                                     ิ
การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ลงไป
จนกระทังถึงคณะกรรมการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพืนทีการศึกษา

การจะให ้บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว ก็จําต ้องดําเนินการอย่างน ้อย ๒ ประการ คือ
  (๑) ให ้มีพระภิกษุ ผู ้ทีมีความรู ้ความสามารถ เข ้าไปร่วมเป็ นคณะกรรมการในคณะต่าง ๆ
      เพือเป็ นตัวแทนศาสนาและเป็ นกระบอกเสียงให ้
  (๒) ทําความตกลงกับคณะกรรมการคณะต่าง ๆ นั นเพือให ้กําหนดนโยบายเรือง
      การศึกษาวิชาศีลธรรมในโรงเรียนไว ้เป็ นหลักฐาน เรืองนีถือว่าเป็ นเรืองรีบด่วน
      จะต ้องดําเนินการ ก่อนทีอะไร ๆ จะสายเกินไป จนกระทังตามแก ้กันไม่ไหวใน
      อนาคต ถ ้าพลาดในจุดนีแล ้ว อาจถือว่า เราได ้ทิงเยาวชนปี ละนั บสิบล ้านคน และ
      เยาวชนเหล่านีแหละ คือผู ้ทีจะต ้องมีสวนสืบทอดและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ใน
                                               ่
      อนาคต ในเมือเขาไม่รู ้เรืองพระพุทธศาสนา มาตังแต่เด็ก เขาก็จะคงไม่เห็น
      ความสํ าคัญของพระพุทธศาสนา และพร ้อมเสมอทีจะทิง หรือทําลาย
      พระพุทธศาสนา ด ้วยความไม่รู ้ไม่เข ้าใจ หรือทําตัวเป็ นปฏิปักษ์ตอ  ่
      พระพุทธศาสนา ซึงผู ้ใหญ่บางคนกําลังกระทําอยูในขณะนี ซึงอาศั ยอยูในประเทศ
                                                           ่                 ่
      ไทยแท ้ ๆ การทีจะมานั งหวังว่าเขาจะเป็ นเหมือนพ่อแม่หรือวงศ์ตระกูลนัน ก็
      ค่อนข ้างจะยากเหลือเกิน หรือเป็ นไปได ้ยาก และการทีเยาวชนคนรุนใหม่จะหัน
                                                                           ่
      หลังให ้กับพระพุทธศาสนา นั นค่อนข ้างเห็นได ้ชัดเจนมากขึนอยูทกวัน เรืองนีเป็ น
                                                                       ่ ุ
      ทีทราบกันดีอยู่
กล่าวให้ช ัด ก็ คอ การสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนนนแหละ เปนการเผย
                 ื                                           ั        ็
แผ่พระพุทธศาสนาทีดีทสุดและได้ผลดีทสุด ดังนั น นั กการศาสนาทุกศาสนา จึงจ ้อง
                          ี               ี
ทีจะนํ าศาสนธรรมของตน ให ้เข ้าไปในโรงเรียนกัน ก็แล ้วแต่วากลยุทธ์ของใครจะดีกว่า
                                                          ่
กัน ใครมีกลยุทธ์ทดีกว่า ก็สามารถยึดพืนทีสถานศึกษาได ้มาก
                   ี
เรือง                                                ชันมัธยมศึกษาปี ท ี ๔



๑ ประวัตและความสํ าคัญ ของ
        ิ                                 พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธการทีเป็ นสากลและมีข ้อปฏิบัตทยึด
                                                                    ี                            ิ ี
พระพุทธศาสนา-พุทธประวัต ิ                  ทางสายกลาง

                                          พระพุทธศาสนาเน ้นการพั ฒนาศรัทธาและปั ญญาทีถูกต ้อง

                                          วิเคราะห์ส ั งคมชมพูทวีป และคติความเชือทางศาสนาสมัยก่อน
                                           พระพุทธเจ ้า

                                          สรุปและวิเคราะห์พุ ทธประวัตด ้านการตรัส รู ้และการก่อตัง
                                                                      ิ
                                           พระพุทธศาสนา


                              พระร ัตนตร ัย
๒. หลักธรรมทางพระพุ ทธศาสนา
                                                  o      วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ

                              อริยส ัจ ๔

                                          ทุกข์ (ธรรมทีควรรู)
                                                             ้

                                                                   o    ขันธ์ ๕
                              - นามรูป

                                          สมุท ัย (ธรรมทีควรละ)
                                                                   o    หลักกรรม
                              - นิยาม ๕

                                                                   o    วิตก ๓

                                          นิโรธ (ธรรมทีควรบรรลุ)

                                                                   o    ภาวนา ๔

                                          มรรค (ธรรมทีควรเจริญ)

                                                                   o    พระสัทธรรม ๓

                                                                   o    ปั ญญาวุฒธรรม ๔
                                                                                 ิ

                                                                   o    พละ ๕

                                                                   o    อุบาสกธรรม ๕

                                                                   o    มงคล ๓๘

                                                                                              สงเคราะห์บุตร

                                                                                              สงเคราะห์ภรรยา

                                                                                              สันโดษ


- พุทธศาสนสุภาษิ ต                        จิตฺตํ ทนฺ ตํ สุขาวหํ
                              ขุ.ธ. ๒๕/๓๕/๒๒.

                              จิตทีฝึ กดีแล ้ว นํ าสุขมาให ้

                                          น อุจฺจาวจํ ปณฺ ฑตา ทสฺสยนฺ ต ิ
                                                            ิ
                              ขุ.ธ. ๒๕/๘๓/๓๑.
                                        บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึนๆ ลงๆ

                                          นตฺถ ิ โลเก อนินฺทโต
                                                             ิ
                              ขุ.ธ. ๒๕/๒๒๗/๕๗.

                              คนทีไม่ถกนิน ทา ไม่มในโลก
                                      ู           ี
       โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ
                                สํ .ส. ๑๕/๗๑/๔๗.
                                         ฆ่าความโกรธได ้ย่ อมอยู่ เป็ นสุข



- พระไตรปิ ฎก                               วิเคราะห์ความสํ าคัญและคุณค่าของพระไตรปิ ฎก



- เรืองน่า รู ้จากพระไตรปิ ฎก               การครองตนเป็ นพลเมืองทีดี

                                         (ตามนัย ขุ.ชา.๒๘/๙๔๙/๓๓๒)



- ศัพท์ทางพระพุ ทธศาสนาทีควร                ภพ - ภูม ิ
ทราบ



๓ ประวัตพุทธสาวก พุทธสาวิกา
        ิ                                   พระอัสสชิ

                                            พระกีสาโคตมีเถรี

                                            พระนางมัลลิกา

                                            หมอชีว ก



- ชาดก                                      เวสสันดรชาดก



๔. หน ้าทีชาวพุทธ                           การเข ้าใจในกิจของพระภิกษุ เช่น การศึกษา การปฏิบัตธรรม และการ
                                                                                               ิ
                                             เป็ นนักบวชทีดี

                                            การศึกษาเรืองคุณสมบัตของทายกและปฏิคาหก
                                                                  ิ

                                            การรักษาศีล ๘

                                            การเข ้าร่วมกิจกรรมและเป็ นสมาชิกขององค์กรชาวพุ ทธ

                                            การเป็ นชาวพุ ทธทีดี ตามหลักทิศเบืองบน ในทิศ ๖

                                            การเข ้าค่ายคุณธรรม

                                            การเข ้าร่วมพิธ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา

                                            การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ



-มรรยาทชาวพุทธและการปฏิบัตตน
                          ิ                 การปฏิบัตตนต่อพระภิกษุ ทางกาย วาจา และใจ ทีประกอบด ้วยเมตตา
                                                      ิ
ต่อพระภิกษุ

                                            การปฏิสน ถารทีเหมาะสมต่อพระภิกษุ ในโอกาสต่าง ๆ
                                                    ั



- ชาวพุ ทธตัวอย่าง                          พระนาคเสน – พระยามิลนท์
                                                                 ิ

                                            สมเด็จพระวัน รัต (เฮง เขมจารี)

                                            พระอาจารย์มัน ภูรทตฺ โต
                                                              ิ

                                            สุชพ ปุญญานุภาพ
                                                ี
๕. การบริห ารจิตและเจริญปั ญญา                สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา

                                              รู ้และเข ้าใจวิธปฏิบัตและประโยชน์ข องการบริหารจิตและเจริญปั ญญา
                                                                ี     ิ

                                              ฝึ กการบริหารจิตและเจริญปั ญญาตามหลักสติปั ฏฐาน

                                              นํ าวิธการบริหารจิตและเจริญปั ญญาไปใชในการพัฒนาการเรียนรู ้
                                                      ี                             ้
                                               คุณภาพชีว ต และสังคม
                                                          ิ

                                              พัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธ ี คือ วิธคดแบบ
                                                                        ี ิ                               ี ิ
                                               สามัญญลักษณะและวิธ ีคดแบบเป็ นอยู่ในขณะปั จจุบัน
                                                                            ิ



๖. วันสํ าคัญทางพระพุทธศาสนา                  ศึกษาหลักธรรมทีเกียวเนืองในวันสํ าคัญทางพระพุทธศาสนา

                                              ว ันธรรมสวนะและเทศกาลสํ าค ัญ

                                                                o     ศึกษาหลักธรรมทีเกียวเนืองในวันธรรมสวนะ
                                                                      และเทศกาลสํ าคัญ


-ศาสนพิธ ี                                    ประเภทของพุ ทธศาสนพิธ ี

                                              ศาสนพิธเนืองด ้วยพุทธบัญญัต ิ เช่ น พิธแสดงตนเป็ นพุทธมากะ พิธ ี
                                                        ี                             ี
                                               เวียนเทียน ถวายสั งฆทาน ถวายผ ้าอาบนํ าฝน พิธทอดกฐิน พิธ ี
                                                                                             ี
                                               ปวารณา เป็ นต ้น

                                              ศาสนพิธทนํ าพระพุทธศาสนาเข ้าไปเกียวเนือง เช่ น การทําบุญเลียง
                                                      ี ี
                                               พระในโอกาสต่าง ๆ




๗.สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การ                   พระพุทธศาสนากับการการศึกษาทีสมบูรณ์
แก ้ปั ญหาและการพัฒนา




                  หัวข ้อเรือง                            ชันมัธยมศึกษาปี ท ี ๕



             ๑ ประวัตและ
                      ิ                      ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา
             ความสํ าคัญของ
             พระพุทธศาสนาพุทธ
             ประวัต ิ                        หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์

                                             พระพุทธศาสนาเน ้นการฝึ กหัดอบรมตน การพึงตนเองและการ
                                              มุ่งอิสรภาพ

                                             การคิดตามนัยแห่ งพระพุ ทธศาสนาและการคิดแบบ
                                              วิทยาศาสตร์

                                             วิเคราะห์พุ ทธประวัตด ้านวิธการสอนและการเผยแผ่
                                                                  ิ       ี
                                              พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา


                                 พระร ัตนตร ัย
             ๒. หลักธรรมทาง
             พระพุทธศาสนา                    วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของธรรมะ

                                 อริยส ัจ ๔
      ทุกข์ (ธรรมทีควรรู)
                                                   ้
                                                   o       ขันธ์ ๕
                     - โลกธรรม ๘

                                สมุท ัย (ธรรมทีควรละ)
                                                   o       กรรมนิยาม
                     - กรรม ๑๒

                                                   o       มิจฉาวณิชชา ๕

                                นิโรธ (ธรรมทีควรบรรลุ)
                                                   o       วิมุตติ ๕

                                มรรค (ธรรมทีควรเจริญ)
                                                   o       อปริหานิยธรรม ๗

                                                   o       ปาปณิกธรรม ๓

                                                   o       ทิฏฐธัมมิกตถสังวัตตนิกธรรม ๔
                                                                     ั

                                                   o       โภคอาทิยะ ๕

                                                   o       อริยวัฑฒิ ๕

                                                   o       มงคล ๓๘

                                                                                ถูกโลกธรรม
                                                                                 จิตไม่
                                                                                 หวันไหว

                                                                                จิตไม่เศร ้า
                                                                                 โศก

                                                                                จิตไม่มัว
                                                                                 หมอง

                                                                                จิตเกษม


- พุทธศาสนสุภาษิ ต              ปฏิรปการี ธุรวา อุฏฺาตา
                                     ู
                     วินฺทเต ธนํ . สํ .ส. ๑๕/๒๔๖/๒๕๙.
                              คนขยันเอาการเอางาน กระทํ าเหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได ้

                                วายเมเถว ปุรโส ยาว อตฺ ถสฺส นิปฺปทา. สํ .ส. ๑๕/๒๕๔/๒๗๑.
                                             ิ
                     เกิดเป็ นคนควรจะพยายามจนกว่าจะประสบความสํ าเร็จ

                                สนฺตฏฺปรมํ ธนํ.
                                     ุ
                              ขุ.ธ. ๒๕/๒๐๔/๕๓.
                     ความสันโดษเป็ นทรัพย์อย่า งยิง

                                อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก
                     นัย องฺ.ฉกฺ ก. ๒๒/๔๕/๓๓๘.
                              การเป็ นหนีเป็ นทุกข์ในโลก



- พระไตรปิ ฎก                   วิเคราะห์การสั งคายนาและการเผยแผ่พระไตรปิ ฎก



- เรืองน่า รู ้จาก              คนครองเรือนทีร ้ายและทีดี ๑๐ ประเภท (กามโภคีสตร ตาม
                                                                              ู
พระไตรปิ ฎก                      นัย องฺ. ทสก.(ไทย) ๒๔/๙๑/๒๐๗-๒๑๒)
- ศัพท์ทาง               โพธิปักขิยธรรม
พระพุทธศาสนาทีควร
ทราบ
                         วาสนา – บารมี



๓ ประวัตพุทธสาวก
        ิ                พระอนุ รทธะ
                                  ุ
พุทธสาวิกา

                         พระองคุลมาล
                                  ิ

                         พระธัมมทินนาเถรี

                         จิตตคหบดี



- ชาดก                   มโหสถชาดก



๔. หน ้าทีชาวพุทธ        การบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา

                         ประโยชน์ข องการบรรพชาอุปสมบท

                         การบวชเป็ นแม่ ช ี ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี

                         การศึกษาพุ ทธศาสนาวันอาทิตย์และธรรมศึกษา

                         การปลูกจิตสํ า นึกและการมีสวนร่วมในสังคมพุทธ
                                                     ่

                         การปฏิบัตตนทีเหมาะสมในฐานะผู ้ปกครองและผู ้อยู่ใน
                                   ิ
                          ปกครอง ตามหลักทิศเบืองล่าง ในทิศ ๖

                         การเข ้าค่ายคุณธรรม

                         เข ้าร่วมพิธ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา

                         การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ



-มรรยาทชาวพุทธและ        การแสดงความเคารพตามหลักพระพุ ทธศาสนา ต่อพระ
การปฏิบัตตนต่อ
         ิ                รัตนตรัย ปู ชนียสถาน ปูชนียวัตถุ และปูชนียบุคคล
พระภิกษุ

                         การปฏิสน ถารตามหลักปฏิสน ถาร ๒
                                 ั               ั



- ชาวพุ ทธตัวอย่าง       สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

                         พระธรรมโกศาจารย์ (พุ ทธทาสภิกขุ)

                         พระธรรมโกศาจารย์ (ปั ญญานันทภิกขุ)

                         ดร.เอ็มเบดการ์



๕. การบริห ารจิตและ      สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
เจริญปั ญญา

                         รู ้และเข ้าใจวิธปฏิบัตและประโยชน์ข องการบริหารจิตและ
                                           ี     ิ
                          เจริญปั ญญา

                         ฝึ กการบริหารจิตและเจริญปั ญญาตามหลักสติปั ฏฐาน

                         นํ าวิธการบริหารจิตและเจริญปั ญญาไปใชในการพัฒนาการ
                                 ี                             ้
                          เรียนรู ้ คุณภาพชีว ต และสั งคม
                                              ิ
       พัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธ ี คือ วิธ ี
                                                                ี ิ
                                       คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ และวิธคดแบบวิภชชวาท
                                                                          ี ิ      ั



          ๖. วันสํ าคัญทาง            ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมทีเกียวเนืองในวันสํ าคัญ ทาง
          พระพุทธศาสนา                 พระพุทธศาสนา

                                      วันธรรมสวนะและเทศกาลสํ าคัญ

                                             o     ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ทีเกียวเนืองวัน
                                                   ธรรมสวนะและเทศกาลสํ าคัญ



          -ศาสนพิธ ี                  ความหมาย ความสํ าคัญ คติธรรมในพิธ ีกรรม บทสวดสวดมนต์
                                       ของนั กเรียน งานพิธ ี คุณค่า และประโยชน์

                                      พิธบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัตของผู ้ขอบรรพชาอุปสมบท
                                          ี                     ิ
                                       เครืองอัฏฐบริขาร




          ๗.สัมมนา                    พระพุทธศาสนากับการเมืองและสันติภาพ
          พระพุทธศาสนากับการ
          แก ้ปั ญหาและการ
          พัฒนา




        รายละเอียดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาระด ับม ัธยมศึกษา
                                ้

            หัวข ้อเรือง                                    ชันมัธยมศึกษาปี ท ี ๖



๑ ประวัตและความสํ าคัญ ของ
        ิ                               พระพุทธศาสนาเป็ นศาสตร์แห่งการศึกษา
พระพุทธศาสนา-พุทธประวัต ิ

                                        พระพุทธศาสนาเน ้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัย และวิธ ีการแก ้ปั ญหา

                                        พระพุทธศาสนาฝึ กคนไม่ให ้ประมาท

                                        พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์สข และสันติภาพแก่บุคคล สังคม และ
                                                                  ุ
                                         โลก

                                        พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาแบบยังยืน

                                        สรุปพุทธประวัต ิ

                                        สรุปและวิเคราะห์พุ ทธประวัตด ้านการบริหารและการธํ ารงรักษา
                                                                    ิ
                                         พระพุทธศาสนา

                                        วิเคราะห์พ ระพุทธเจ ้าในฐานะเป็ นมนุษย์ผู ้ฝึ กตนได ้อย่า งสูงสุด
พระร ัตนตร ัย
๒. หลักธรรมทางพระพุ ทธศาสนา
                                          วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของสั งฆะ

                              อริยส ัจ ๔

                                          ทุกข์ (ธรรมทีควรรู)
                                                             ้
                                                           o       ขันธ์ ๕
                              - จิต, เจตสิก

                                          สมุท ัย (ธรรมทีควรละ)
                                                           o       ธรรมนิยาม
                              - ปฏิจจสมุปบาท
                                                           o       นิวรณ์ ๕

                                                           o       อุปาทาน ๔

                                          นิโรธ (ธรรมทีควรบรรลุ)
                                                           o       นิพพาน

                                          มรรค (ธรรมทีควรเจริญ)
                                                           o       อธิปไตย ๓

                                                           o       สาราณียธรรม ๖

                                                           o       ทศพิธราชธรรม ๑๐

                                                           o       วิปัสสนาญาณ ๙

                                                           o       มงคล ๓๘

                                                                                           ความเพียรเผากิเลส

                                                                                           ประพฤติพรหมจรรย์

                                                                                           เห็ นอริยสัจ

                                                                                           บรรลุนพพาน
                                                                                                  ิ


- พุทธศาสนสุภาษิ ต                                                 ราชา มุขํ มนุสฺสานํ
                                                             วิ.ม. ๕/๓๐๐/๘๔.

                                                     พระราชาเป็ นประมุข ของประชาชน

                                                                   สติ โลกสฺม ิ ชาคโร
                                                             สํ .ส. ๑๕/๘๐/๕๑.

                                                           สติเป็ นเครืองตืนในโลก

                                                                    นตฺถ ิ สนฺ ตปรํ สุขํ
                                                                                 ิ
                                                            ขุ.ธ. ๒๕/๒๐๒/๕๒.

                                                         สุขอืนยิงกว่าความสงบไม่ม ี

                                                                    นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
                                                            ขุ.ธ. ๒๕/๒๐๓/๕๒.

                                                           นิพพานเป็ นสุข อย่างยิง




- พระไตรปิ ฎก                                    วิธการศึกษาและค ้นคว ้าพระไตรปิ ฎกและคัมภีรรองอืน ๆ
                                                     ี                                       ์
- เรืองน่า รู ้จากพระไตรปิ ฎก                        มหาสาโรปมสูตร (มัชฌิมนิกาย มูลปั ณณาสก์)



- ศัพท์ทางพระพุ ทธศาสนาทีควร                           ฌาณสมาบัต ิ – ผลสมาบัต- นิโรธสมาบัต ิ
                                                                              ิ
ทราบ

                                                                  สัมมัตตะ - มิจฉัตตะ



๓ ประวัตพุทธสาวกพุทธสาวิกา
        ิ                               พระอานนท์

                                        พระปฏาจาราเถรี

                                        จูฬสุภททา
                                               ั

                                        สุมนมาลาการ



- ชาดก                                                              มหาชนกชาดก



๔. หน ้าทีชาวพุทธ                       วิเคราะห์หน ้าทีและบทบาทของพระภิกษุ ในฐานะพระนักเทศน์ พระ
                                         ธรรมทูต พระธรรมจาริก พระวิทยากร พระกรรมฐาน และพระนักพัฒ นา

                                        วิเคราะห์หน ้าทีและบทบาทของอุบาสกอุบาสิกาทีมีต่อสังคมไทยใน
                                         ปั จจุบัน

                                        วิเคราะห์เกียวกับการปกป้ องคุ ้มครองพระพุทธศาสนาของพุทธ บริษัท
                                         ในสังคมไทย

                                        การปฏิบัตตนเป็ นสมาชิกทีดีข องครอบครัว ตามหลักทิศเบืองหลัง ใน
                                                  ิ
                                         ทิศ ๖

                                        การเข ้าค่ายคุณธรรม

                                        เข ้าร่วมพิธ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา

                                        การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ



                                        การบํ าเพ็ ญ ตนให ้เป็ นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และ
-มรรยาทชาวพุทธและการปฏิบัตตน
                          ิ                                               โลก
ต่อพระภิกษุ
                                           การปฏิบัตตนทีเหมาะสมต่อพระภิกษุ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ
                                                     ิ



- ชาวพุ ทธตัวอย่าง                      พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หัว

                                        พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)

                                        พระธรรมปิ ฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)

                                        อนาคาริก ธรรมปาละ



๕. การบริห ารจิตและเจริญปั ญญา          สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา

                                        รู ้และเข ้าใจวิธปฏิบัตและประโยชน์ข องการบริหารจิตและเจริญปั ญญา
                                                          ี     ิ

                                        ฝึ กการบริหารจิตและเจริญปั ญญาตามหลักสติปั ฏฐาน

                                        นํ าวิธการบริหารจิตและเจริญปั ญญาไปใชในการพัฒนาการเรียนรู ้
                                                ี                             ้
คุณภาพชีว ต และสังคม
                                             ิ

                                  พัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ทบทวนทัง ๑๐ วิธ ี
                                                            ี ิ




๖. วันสํ าคัญทางพระพุทธศาสนา      ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรม อภิปรายผล ทีเกียวเนืองในวันสํ าคัญทาง
                                   พระพุทธศาสนา

                                  วันธรรมสวนะและเทศกาลสํ าคัญ

                                                   o      ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม อภิปราย
                                                          ผล ทีเกียวเนืองใน วันธรรมสวนะและเทศกาล
                                                          สํ าคัญ




-ศาสนพิธ ี                                             บุญพิธ ี ทานพิธ ี กุศลพิธ ี

                                              วิเคราะห์คุณค่า และประโยชน์ของศาสนพิธ ี



๗.สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การ       พระพุทธศาสนากับการพัฒนาแบบยังยืน
แก ้ปั ญหาและการพัฒนา

More Related Content

What's hot

ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
Panda Jing
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
aunchana123
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
PhusitSudhammo
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
Martin Trinity
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
niralai
 

What's hot (17)

ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
บทคัดย่อ (พฤติกรรม)1
บทคัดย่อ (พฤติกรรม)1บทคัดย่อ (พฤติกรรม)1
บทคัดย่อ (พฤติกรรม)1
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 

Viewers also liked

วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพItt Bandhudhara
 
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadiaข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
Santichon Islamic School
 
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตวรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
NoiRr DaRk
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2MilkOrapun
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตKanjana ZuZie NuNa
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
mahakhum
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
mahakhum
 
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
Chalermsak Sornchai
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
Vorawut Wongumpornpinit
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsNittaya Mitpothong
 
สรจักร ศพข้างบ้าน
สรจักร   ศพข้างบ้านสรจักร   ศพข้างบ้าน
สรจักร ศพข้างบ้านsornblog2u
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 

Viewers also liked (20)

วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
 
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadiaข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
ข้างหลังภาพ Asma safa_nadia
 
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตวรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
กุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิต
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 20
 
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 35
 
Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
Microsoft word   กิจกรรม nasa  exerciseMicrosoft word   กิจกรรม nasa  exercise
Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
 
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
ทน
ทนทน
ทน
 
Stormy aries
Stormy ariesStormy aries
Stormy aries
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
 
สรจักร ศพข้างบ้าน
สรจักร   ศพข้างบ้านสรจักร   ศพข้างบ้าน
สรจักร ศพข้างบ้าน
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to วิเคราะห์วิจารณ์

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
niralai
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
การเรียนรู้กับการแบ่งปัน
การเรียนรู้กับการแบ่งปันการเรียนรู้กับการแบ่งปัน
การเรียนรู้กับการแบ่งปันJiraprapa Suwannajak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3tanarak
 

Similar to วิเคราะห์วิจารณ์ (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
2 changes in_the_world21
2 changes in_the_world212 changes in_the_world21
2 changes in_the_world21
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
การเรียนรู้กับการแบ่งปัน
การเรียนรู้กับการแบ่งปันการเรียนรู้กับการแบ่งปัน
การเรียนรู้กับการแบ่งปัน
 
History
HistoryHistory
History
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
งานคอม3
งานคอม3งานคอม3
งานคอม3
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
Tongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
Tongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
Tongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
Tongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
Tongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
Tongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
Tongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

วิเคราะห์วิจารณ์

  • 1. วิจารณ “บทความวิจัย หลักสูตรมหาวิทยาลัยสงฆกับพระธรรมวินัย” เนื่องจากบทความวิจัยนี้ ทานผูทําวิจัยไดตั้งสมมติฐานซึงเปนประเด็นหลักไว ๓ ประเด็น ่ ในแตละประเด็นก็มีหัวขอยอยหลายหัวขอ ซึ่งลวนนาสนใจเปนอยางยิ่ง ผูวิจารณจะพยายาม วิจารณใหครบทุกประเด็นหัวขอ เพื่อชี้ใหเห็นถึงขอที่เห็นดวยและไมเห็นดวยอยางไร - การศึกษาของสงฆกับการศึกษาของแผนดิน ในหัวขอการศึกษาของสงฆกับการศึกษาของแผนดิน ทานผูวิจยไดวิเคราะหเนื้อหา ั การศึกษาของสงฆและการศึกษาของแผนดิน โดยลําดับเหตุการณจากอดีตคือสมัยสุโขทัย เรื่อยมาจนถึง พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยยกหลักฐานมาอางประกอบเพื่อใหเหมาะกับเหตุการณชวงนั้น ๆ ผูวิจารณเห็นดวยวา มีความชัดเจนดี - การบวชเรียนเปนทางออกดานการศึกษา ในประเด็นตอนทายของหัวขอนีที่ผูวิจยสรุปวา “พระภิกษุและสามเณรที่เขามาบวชใน ้ ั พระพุทธศาสนา สวนใหญนั้นมีเหตุผลในการบวชเพื่ออาศัยประโยชนทางดานการศึกษา อัน เปนประเพณีปฏิบัตในสังคมไทยมาชานาน” ผูวิจารณเห็นดวยในประเด็นนี้ แตก็ไมเห็นดวยกับ ิ ทานผุวิจัยที่มองขามสวนนอย คือนาจะพูดถึงพระภิกษุและสามเณรอีกสวนหนึ่งที่ทานบวชเขามา ดวยสรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจริง ๆ ซึ่งคงปฏิเสธไมไดวาไมมีอยู แมจะเปนสวนไมมากก็ ตาม ควรจะกลาวถึงเพื่อใหเห็นความเสมอภาพในสังคมประชาธิปไตย - หลักสูตรการศึกษาวิชาทางโลกของมหาวิทยาลัยสงฆกับพระราชปณิธานรัชกาลที่หา ทานผูวิจัยไดบอกวา “มหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองไมไดมีการใหความสําคัญแกการศึกษาพระธรรม วินัยมากไปกวาการศึกษาวิชาการทางโลก ดวยเหตุนี้กอน พ.ศ. ๒๕๒๗ ซึงทางรัฐบาลยอมรับ ่ การศึกษาของมหาวิทยาลัยทั้งสอง ระบบการศึกษาทีจัดทําขึ้นโดยมหาวิทยาบัยสงฆทงสองนั้นจึง ่ ั้ ไมไดรับการยอมรับใหเปนการศึกษาของคณะสงฆทั้งจากทางมหเถรสมาคมและจากทาง ภาครัฐบาล ทั้ง ๆ ที่มหาวิทยาลัยทังสองไดกอตั้งมานานหลายสิบป” ซึ่งในประเด็นนี้ผุวจารณ ้ ิ เองกเห็นดวยกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว แตไมเห็นดวยทั้งหมดทีเดียว เพราะการที่ มหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองนําการศึกษาวิชาการทางโลกมาบรรจุไวในหลักสูตร ไมไดหมายความวา จะใหความสําคัญตอการศึกษาพระธรรมวินยนอยไปกวา เพราะยังคงมีการศึกษาในหลักสูตรพระ ั ธรรมวินัยควบคูกันไปดวย ซีงมหาวิทยาลัยสงฆืทั้งสองอาจมีเจตนาเพื่อปรับระบบการศึกษาของ  สงฆใหเขากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป และทานผูวจัยบอกอีกวา ิ “คณะรัฐบาลใน อดีตที่ผานมานันมีความเห็นวา การเรียนการสอนที่ไมเปนไปตามพระธรรมวินัยของมหาวิทยาลัย ้ สงฆนั้น นอกจากจะขัดตอพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูหวแลว การ  เรียนการสอนวิชาการทางโลกตาง ๆ อาจจะขัดตอสมณวิสัย ซึงบรรพชิตทั้งหลายไมควร ่
  • 2. ประพฤติปฏิบัติ และในที่สุดแลวการศึกษาวิชาการทางโลกยอมจะเปนการสงเสริมวิชาในการ ประกอบอาชีพในทางโลกใหแกพระภิกษุแทน อันจะเปนไปเพื่อการลาสิกขาของพระภิกษุสามเณร ได” ในประเด็นนี้ผูวิจารณก็ไมเห็นดวยกับทานผูวิจย เพราะเหตุวา พระราชประสงคของรัชกาลที่ ั หา มุงใหสถาบันสงฆทงสองแหงศึกษาเลาเรียนพระไตรปฎกและวิชาชันสูงในพระพุทธศาสนา ั้ ้ แตก็มีการถกเถียงและตีความกันไปตาง ๆ วาวิชาชั้นสูงในทางพระพุทธศาสนานันที่แทแลวคือวิชา ้ เกี่ยวกับอะไร แตเมื่อเร็ว ๆ นี้ที่การสัมมนาที่ผานมา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยไดกลาววา วิชาชั้นสูงนั้นไดแกภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนวิชาทีกําลังไดรับความนิยมในยุค ่ ปจจุบัน จะตรงตามพระราชประสงคหรือไมตองใชวิตารณญาณตรองดูดวยตนเอง แตผูวจารณ ิ เห็นวาวิชาการชั้นสูงนั้น นาจะไดแกวชาวิปสสนากัมมัฏฐาน เพราะถือวาวิชานีเ้ มื่อศึกษาและ ิ ปฏิบัติแลวทําใหหลุดพนจากทุกขได และมีแตเฉพาะใหพระพุทธศาสนาเทานั้น การศึกษา วิชาการทางโลกถาฟงดูแลวก็อาจจะดูวาไมสมควรไมเหมาะแกสมณเพศ แตถามองใหกวาง ก็จะ เห็นวาการศึกษาวิชาการทางโลกเหลานันจะเปนประโยชนมากทีเดียวแกพระสงฆในการเผยแผ ้ ศาสนาในยุคแหงความเปลี่ยนแปลง เพราะไดรูเทาทันความเปนไปของโลก แตหลักสูตรและการ เรียนการสอนก็ควรจัดใหเหมาะสมปรับใหเขากับสมณภาวะก็ไมนาจะมีผลเสียอะไร เห็นดวยที่ บอกวาเมื่อศึกษาวิชาการทางโลกจบแลวจะเปนเหตุใหพระสงฆสวนหนึ่งตองลาสิกขาไปเพื่อ ประกอบอาชีพ แตก็ใชวาจะเปนเชนนั้นหมด เพราะผูทบวชดวยศรัทธาและมีความตั้งใจจะเผยแผ ี่ พระศาสนาก็ยังมีอีกมากเหมือนกัน ในประเด็นที่วา “การบวชในสังคมไทยสวนใหญเปนการบวชเพื่อแสวงหาโอกาสทางการ ศึกษาเลาเรียน” เห็นดวยในคํากลาวนี้ เพราะสวนมากตังแตอดีตมามีแนวโนมเปนเชนนั้นจริง แต ้ อยางที่บอกขางตนวา ไมใชทั้งหมด เพราะผูบวชดวยศรัทธาจริง ๆ ก็ยังคงมีอยู และทําใหมองวา ทานผูที่ทําวิจัยมีความปรารถนาอยางแรกกลาที่อยากจะใหพระสงฆเปนพระสงฆในอุดมคติจริง ๆ เมื่อไมเปนไปตามนั้นกอาจจะมองพระสงฆไปในแงลบโดยสวนเดียว แตอยาลืมวาพระสงฆซึ่งถา ยังเปนปุถชนและยังตองเกี่ยวของกับสังคมตราบใด ตราบนั้นก็ยังตองปรับตัวเองไปกับกระแสโลก ุ อยูตลอดเวลา และเมื่อเปนเชนนี้ ถาจะมองวาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหงไมตรง ตามพระราชประสงคก็อาจเปนไปได หรืออาจเปนไปไมไดดวยเหตุผลตามที่กลาวมา อีกประเด็นที่นาสนใจคือ “หลักสูตรวิชาการทางโลกดังกลาวนั้นเปนวิชาการที่สงเสริมให พระภิกษุที่ลาสิกขาแลว สามารถนําไปประกอบอาชีพไดในสังคมฆราวาส” ผูวิจารณเห็นดวย เพราะสวนใหญที่ลาสิกขาแลว ก็จะนําวิชาความรูที่ศึกษาจบแลว มาใชในการประกอบอาชีพใน  สังคม แตถามองในแงดีก็ไมนาจะเกิดผลเสียอะไร ตรงขากลับเปนผลดีมากกวา เพราะเมื่อเปน พลเมืองของชาติและมีการศึกษามีงานทําก็ไดชื่อวาไมเปนภาระในสังคม และที่บอกวา “การ ตัดสินเรื่องการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆืจึงจําเปนตองใชหลักพระธรรมวินัยเปนเกณฑในการ
  • 3. ตัดสิน” สวนนี้ผูวจารณเห็นดวยเปนอยางยิ่ง เพราะพระสงฆเมื่อยังคงเพศเปนสมณะควรยึดพระ ิ ธรรมวินัยเปนหลักใหญ แมวาจะกระทําการในเรื่องใด ๆ - การศึกษาตามพระธรรมวินยกับหลักสูตรวิชาการทางโลก ั ประเด็นที่บอกวา “การศึกษาวิชาทางโลกจึงไมตอบสนองตอวิถีชีวิตของบรรพชิตที่มุงตอ ความหลุดพนจากกิเลสเครื่องรอยรัด ในทางกลับกัน การศึกษาทางโลกนั้น เปนเรื่องของฆราวาส และมิไดเปนไปเพื่อความพนทุกข” ผูวิจารณเห็นดวยกับประเด็นนี้ แตไมทั้งหมด เพราะเหตุวา ทานผูวิจัยมองเฉพาะวา ผูที่เขามาบวชจัดตองปฏิบัติตนเพื่อใหพนทุกขฝายเดียว โดยลืมไปวา อุปนิสัยและบารมีของแตละบุคคลนั้นมีมากนอยตางกัน และดวยสังคมโลกทีเ่ ปลี่ยนไป การ ปฏิบัติของพระสงฆเพื่อใหพนทุกขอยางเดียวยอมเปนไปไดยาก แตก็ใชวาจะไมมการประพฤติ  ี ปฏิบัติเสียทีเดียว ในยณะเดียวกันพระสงฆก็ไดมีโอกาสทําคุณประโยชนตอสังคมและเผยแผพระ ธรรมวินัยควบคูไปดวยตั้งแตอดีตถึงปจจุบน แมจะไมไดผลดังเชนสมัยพุทธกาล แตกถือวาไดนํา ั ็ ประโยชนและความสุขมาสูสังคมโลกมาแลวมิใชนอย - ขอมูลทางสถิติการศึกษาพระธรรมวินัยของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหง จากสถิติขอมูลการศึกษาของมหาวิทยาสงฆทั้งสองทีนํามาอางอิงกนับวาเปนประโยชนตอ ่ การศึกษาเรื่องนี้ยิ่ง ผูวจารณเห็นดวย แตไมทั้งหมด เพราะในความเปนจริงจากการที่ไดศึกษา ิ เลาเรียนมาแลวจะพบวา ไดรับความรูความเขาใจเกี่ยวกับพุทธศาสนามาไมนอยเลย แมจะมีวชา ิ ที่เกียวกับพระธรรมวินัยไมมาก ถาไมไดศึกษาตรงตามสาขานั้น ๆ แตดวยตระหนักถึงสมณภาวะ ่ และจําเปนตองใชตลอดเวลาเพื่อการแผยแผธรรม ทําใหตองเรงศึกษามากขึ้นกวาแตกอน และ จากการศึกษาวิชาทางโลกทําใหรูจักปรับความรูในทั้งสองฝายใหเขากันไดในการใชประโยชน - วิเคราะหเรื่องศีล ผูวิจัยกลาววา “ปจจุบันการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหง ในสวนของ การศึกษาและปฏิบัตในเรื่องเกียวกับศีลสิกขาบทหรือกลาวโดยตรงคือ ิ ่ พระวินยปฎกของ ั พระภิกษุนั้นถือวามีความยอหยอนกวาในสมัยพุทธกาลมาก” ผูวิจารณเองก็เห็นดวยในประเด็นนี้ แตผูวิจัยเองลืมมองไปวา ยุคสมัยมีความแตกตางกันในหลายดาน สิกขาบทของพระสงฆตาม พระธรรมวินัยแมจะยังคมหลักการเดิมอยู แตในทางปฏิบัติอาจจะไมตรงตามตัวแมบทเสียทีเดียว คือมีการลวงละเมิดบาง เพราะความที่พระสงฆในปจจุบันยังเปนปุถชน ถาจะนําไปทียบกับยุค ุ พุทธกาลซึงลวนแตเปนพระอริยสงฆเสียโดยมากยอมเปนไปไมได ่ แลในประเด็นที่วา “เรื่องการใหความสําคัญในการศึกษาพระวินัยนัน มหาวิทยาลัยสงฆ ้ ไมไดมีการใหความสําคัญอยางจริงจัง ทั้ง ๆ ที่มหาวิทยาลัยสงฆซึ่งเปนผูนําในดานการศึกษาควร จะเนนในเรื่องารศึกษาและการปฏิบัตตามพระวินัย อันเปนรากแกวของพระสาสนา” ผูวิจารณ ิ ไมไดเห็นดวยทั้งหมดในประเด็นนี้ เพระาถาจะดูตามสถิติที่ยกมาอางก็จะดูวาการใหความสําคัญ
  • 4. ในเรื่องพระวินัยดูจะนอยไป แตความจริงโครงสรางของหลักสูตรที่มีอยูนั้น ถาศึกษาใหดจะรูวา  ี มีความละเอียดพอสมควร เพราะมีรายละเอียดเกี่ยวกับพระวินัยปฏกครบ แตอยูที่วาผูสอนและ ผูเรียนจะใสใจศึกษากันอยางจริงจังหรือไม - การปฏิบัติสมาธิและวิปสสนา ทานผูวิจัยสรูปประเด็นไววา “จากขอมูลในสวนของการปฏิบัติในไตรสิกขา ถือวา มหาวิทยาลัยสงฆยังไมสามารถพัฒนาระบบการศึกษาและการปฏิบัติเพื่อใหพระภิกษุบรรลุ คุณธรรมชันสูงไดดังทีควรเปนตามพระธรรมวินย” ประเด็นนี้ผูวิจารณเห็นดวย แตไมทั้งหมด ้ ่ ั เพราะในสวนของโครงสรางหลักสูตรถาศึกษาใหดจะพบวา ี มีโครงสรางที่มีความละเอียด พอสมควรจากระดับงายไปหาระดับยาก ถามีการเรียนการสอนและปฏิบัติตามขั้นตอนใน หลักสูตรจนครบแลว เชื่อแนวา จะทําใหสามารถบรรลุถึงคุณธรรมชั้นสูงไดแนนอนตามระดับ สติปญญาของบุคคลนัน ๆ ้ การเผยแผตามพระธรรมวินัยกับหลักสูตรวิชาทางโลก มีประเด็นที่นาสนใจที่ผูวิจยสรุปไวคือ “การที่มหาวิทยาลัยสงฆอางวา การศึกษาวิชาทาง ั โลกในมหาวิทยาลัยสงฆเพื่อสนับสนุนการเผยแผพระธรรมวินัยยอมเปนเหตุผลที่ไมมีน้ําหนัก นอกจากนี้ยังไมสอดคลองกับพระธรรมวินัยและไมตรงตามที่พระพุทธองคทรงแสดงหลักในการ เผยแผพระธรรมวินยไว เพราะไมไดเปนการเผยแผเรื่องไตรสิกขาเพื่อความดับทุกข นอกจากนี้ ั มหาวิทยาลัยสงฆยังมิสามารถผลิตบุคลากรในการสอนพระธรรมวินัยไดอยางเพียงพอทั้งในดาน ปริมาณและคุณภาพเพราะสวนใหญลาสิกขาไป เปนตน การศึกษาวิชาทางโลกจึงเปนการให ความชวยเหลือในดานโอกาสทางการศึกษามากกวาเหตุผลในการชวยเผยแผพระธรรมวินัยดังที่ มหาวิทยาลัยสงฆอางแกสังคม” เชนเดียวกัน ถามองโดยแงเดียวแลวเห็นดวยกับประเด็นนี้ เพราะโดยสภาพความเปนจริงตามที่ปรากฏแลวเปนดังทีทานผูวิจัยกลาว แตฝูวิจารณเองมองเห็น ่  อีกดานหนึงวา ในเมื่อสังคมโลกมีความเปลี่ยนแปลงไปตลอด การจะใหพระสงฆประพฤติปฏิบัติ ่ ดังเชนในอดีตคงเปนเรื่องเปนไปไดยาก แตก็ไมใชวาพระสงฆจะทิ้งหลักการเดิมเสียทั้งหมด คือ ยังคงหลักไวตามเดิม แตการศึกษาและปฏิบัติอาจจะไมเขมขนเหมือนในอดีต การศึกษาพระ ธรรมวินัยซึ่งควบคูกับวิชาทางโลกก็เพื่อประโยชนตอการเผยแผดังกลาว และจะไดผลมากกวาเมื่อ เทียบกับการเผยแผโดยที่รูเฉพาะดานเดียวดวยซ้ําไป และผูวิจารณเห็นวา ทานผูทําวิจยเรื่องนี้มี  ั มุมมองแคบไป ควรจะมองหลาย ๆ มุมเพื่อใหเห็นสภาพความเปนจริงซึ่งเปนประโยชนตอสังคม สวนรวมจะดีกวา คือทานผูทําวิจัยอยากจะใหพระสงฆเปนพระสงฆในอุดมคติจริง ๆ ซึ่งเมื่อไม  เปนดังที่คาดหวังก็อาจจะมองเหตุผลอยางอื่นดอยไปหมดก็เปนได แมในประเด็นที่เหลือเมื่อนํามาตั้งเปนขอสังเกตก็จะพบวา ทานผูวิจัยพยายามจะชีใหเห็น ้ ขอเท็จจริงปรากฏในปจจุบนของวงการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทั้งสองแหงวา “การศึกษาวิชา ั
  • 5. ทางโลกเปนเรื่องที่ไมถูกตองตามพระธรรมวินัยในทุกดาน และในที่สุดก็จะเปนไปเพื่อความ ลมเหลวและเสื่อมสูญแหงพระพุทธศาสนา เพราะไมไดเรียนพระปริยัติธรรมที่พระพุทธองคทรง ตรัสซึ่งนําไปสูความเสื่อมประการอื่น ๆ ในพระพุทธศาสนาตามหลักอันตรธาน ๕ นอกจากนันใน ้ แงของบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆที่มการศึกษาวิชาทางโลก โดยเหตุผลประการหลักที่สําคัญ ี คือ การใหโอกาสทางดานการศึกษาแกผูดอยโอกาสนั้น บทบาทดังกลาวยอมไมใชบทบาทหลัก ของพระสงฆตามหลักพระธรรมวินัย และบทบาทดังกลาวนั้นยังทําใหบทบาทหลักตามพระธรรม วินัยของพระสงฆเสียไปดวย” ในประเด็นสรุปโดยรวมนี้ ผูวิจารณเองก็ยังมองวา ทานผูวิจัยกลาวหนักเกินไป และเปนกลาวโดยมองเฉพาะมุมเดียว นาจะมีการมองใหตางมุมบาง คือถาจะมองในลักษณะนี้ นาจะคํานึงถึงหลักไตรลักษณดวย จะไดเขาใจถูกตองตามความเปน จริงของความเปลียนแปลงในเรื่องตาง ๆ โดยไมหยุดนิง ไมควรจะยึดอุดมคติโดยอัตโนมัติของตน ่ ่ ถายเดียว
  • 6. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย มีหลักการดังนี ๑.เป็ นการศึกษาเพือเพิมความรู ้และทักษะเฉพาะด ้านที สามารถนํ าไปประกอบอาชีพให ้สอดคล ้องกับภาวะ เศรษฐกิจและสั งคม ๒.เป็ นการศึกษาทีสนองต่อการพัฒนาอาชีพในท ้องถิน หรือการศึกษาต่อ ๓.เป็ นการศึกษาทีส่งเสริมการนํ ากระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเหมาะสมไปใช ้ในการพัฒนา ี คุณภาพชีวตท ้องถิน ิ และประเทศชาติ จุดหมาย การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็ นการศึกษาทีมุง ่ ให ้ผู ้เรียนพัฒนาคุณภาพชีวตและให ้สามารถทําประโยชน์ ิ ให ้กับสั งคมตามบทบาทและ หน ้าทีของตนในฐานะพลเมืองดีตามระบอบการปกครอง แบบประชาธิปไตยทีมีพระมหากษั ตริยเป็ นประมุขโดยให ้ ์ ผู ้เรียนได ้พัฒนาเชาวน์ปัญญา มีความรู ้และทักษะเฉพาะ ด ้านตามศั กยภาพเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพร่วม พัฒนาสั งคมด ้วยแนวทางและวิธการใหม่ๆและบําเพ็ญตน ี ให ้เป็ น ประโยชน์ตอสั งคม ่ ตารางหล ักการ ประกอบโครงสร ้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศั กราช ๒๕๒๔(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) แนวดําเนินการ
  • 7. รศ.บุญนํ า ทานสัมฤทธิ ทีปรึกษารัฐมนตรีชว ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ่ ครู 11 ต้อง ครู 12 ไม่ 1. ต ้อง รู ้ก่อน 2. ต ้อง สอน ทวนซํ า 1. ไม่ หน ้าบึง หน ้างอ 3. ต ้อง ทํา ให ้เห็น 2. ไม่ ด่าทอ หยาบคาย 4. ต ้อง เน ้น ปฏิบต ิ ั 3. ไม่ มาสอนสายเป็ นประจํ า 5. ต ้อง จัด เสริมกําลังใจ 4. ไม่ ชักนํ าให ้เชือโชคลาง 6. ต ้อง ชี พิษภัยให ้กลัว 5. ไม่ พูดอย่างทําอย่าง 7. ต ้อง ทําตัว ใกล ้ชิดศิษย์ 6. ไม่ วางท่าข ้าเยียม 8. ต ้อง กล่อมจิตให ้เกิดศรัทธา 7. ไม่ ลืมเตรียมการสอน 9. ต ้อง รักษากติกาอย่างเคร่งครัด 8. ไม่ ลืมนํ าอุปกรณ์มาใช ้ 10. ต ้อง วัดและประเมินผลอย่างเทียงตรง 9. ไม่ แต่งกายหวือหวา 11. ต ้อง ดํารงความรักความเมตตาไว ้ให ้ 10. ไม่ วิงหาอบายมุข ถาวร 11. ไม่ ก่อทุกข์ให ้ผู ้อืน อุปกรณ์ คือ ครูดมคากว่าสิงใด ี ี ่ 12. ไม่ ฝื นใจสอน กลับหน ้าบทความวิชาการ Copyright @ : 2002 Ministry of Education, THAILAND แหล่งข ้อมูล : รศ.บุญนํา ทานสัมฤทธิ รวบรวม จัดเตรียมข ้อมูล พัฒนาและนํ าเสนอ :นางสายพิณ เชือน ้อย ( 13 ส.ค. 2545)) หน่วยงาน : กลุมพัฒนาระบบสารสนเทศ ศูนย์สารสนเทศ สป. ศธ. ่ โทร. 281-9809 , 628-5643 , 628-5644 โทรสาร 281-8218 ติดต่อผู ้ดูแลระบบ : website@emisc.moe.go.th
  • 8. ระบบการศึกษาแบบใหม่ เนืองด ้วยพระราชบัญญัตฉบับนีว่าด ้วยเรืองการศึกษาแห่งชาติ มิได ้เกียวข ้องกับการ ิ ปกครองคณะสงฆ์ แต่ทต ้องเกียวก็เพราะ พระราชบัญญัตคณะสงฆ์โยงไปผูกติดไว ้กับ ี ิ กรมการศาสนาและกระทรวงศึกษาธิการ เมือได ้รับการแก ้ไขมิให ้โยงใยก ้าวก่ายกันแล ้วก็ จบกัน ดังนั น เรืองทีควรจะพิจารณากันต่อไปก็คอ เรืองการศึกษาของคณะสงฆ์และ ื การศาสนศึกษา ตามพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ นั นได ้แบ่งการศึกษออกเป็ น ๓ ิ รูปแบบ คือ (๑) การศึกษาในระบบ เป็ นการศึกษาทีกําหนดจุดมุงหมาย วิธการศึกษา หลักสูตร ่ ี ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและประเมินผล ซึงเป็ นเงือนไขของการสํ าเร็จ การศึกษาทีแน่นอน (๒) การศึกษานอกระบบ เป็ นการศึกษาทีมีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย ่ ่ รูปแบบ วิธการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดผลและการ ี ประเมินผล ซึงเป็ นเงือนไขสํ าคัญของการสํ าเร็จการศึกษา โดยเนือหาและ หลักสูตร จะต ้องมีความเหมาะสม สอดคล ้องกับสภาพปั ญหาและความต ้องการ ของบุคคลแต่ละกลุม ่ (๓) การศึกษาตามอัธยาศั ย เป็ นการศึกษาทีให ้ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้ด ้วยตนเองตามความ สนใจ ศั กยภาพ ความพร ้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล ้อม สือ หรือแหล่งความรู ้อืน ๆ สํ าหรับการศึกษาพระปริยัตธรรม คือ นั กธรรมและบาลี และปริยัตธรรมสามัญ ทีคณะสงฆ์ ิ ิ ให ้พระภิกษุ สามเณรศึกษาเล่าเรียนกันอยูขณะนี ยังมิได ้พูดจาหาข ้อยุตวา จัดอยูในระบบ ่ ิ ่ ่ อะไร ใน ๓ แบบนี หรือจัดเข ้าไม่ได ้ด ้วยเหตุผลใด เรืองนีเป็ นเรืองเร่งด่วนทีจะต ้องหาข ้อ ยุตโดยเร็ว เพราะเป็ นไปเพือความอยูรอดของพระพุทธศาสนาส่วนหนึง ิ ่ อนาคตของพระพุทธศาสนาขึนอยูก ับ ่ พระราชบ ัญญ ัติการศึกษาแห่งชาติ ความส ัมพ ันธ์ระหว่างการศึกษาก ับการศาสนา ตังแต่โบราณมา ก่อนทีจะมีกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการ ในปั จจุบัน การศึกษากับการพระศาสนานั น เชือมโยงสัมพันธ์กนอย่างใกล ้ชิดมาโดยตลอด โดยวัด ั เป็ นสถานทีศึกษาของชาวบ ้าน พระทําหน ้าทีเป็ นครูสอน คนไทยจึงได ้รับทังวิชาความรู ้ และวิชาศีลธรรมไปพร ้อมกัน แม ้ต่อมารัฐจะจัดตังโรงเรียนและมีครูเป็ นของตัวเอง โรงเรียนก็ยังคงอยูในวัดเป็ นส่วนใหญ่ วิชาศีลธรรมก็ยังคงอยู่ แม ้ชือกระทรวงก็ชอว่า ่ ื กระทรวงธรรมการ แม ้ตราสัญลักษณ์ ของกระทรวงก็เป็ นรูปเสมา ธรรมจักร ซึงระบุถง ึ พระธรรม ต่อมาได ้มีการเปลียนเป็ นชือกระทรวงศึกษาธิการ รัฐจึงตังกระทรวงขึนเอง และนํ าโรงเรียนออกจากวัดไปส่วนหนึง บทบาทของพระผู ้สอนหนั งสือ จึงลดน ้อยลง ระบบนํ าเยาวชนเข ้าถึงศีลธรรมก็เริมเสือมถอยลง พร ้อมกับปั ญหาเสือมโทรมทาง ศีลธรรมของผู ้คนมีมากขึน และทวีความรุนแรงมากขึนตามลําดับ จนกระทังลุกลามไปทํา ให ้เกิดปั ญหาทางสังคมอย่างอืนตามมาอีก
  • 9. ดังนั น จึงอาจกล่าวได ้ว่า การศึกษากับการพระศาสนานั น จะต ้องเดินเคียงคูกันไป ่ ตลอดเวลา ถูกจับแยกกันเมือใด ความหายนะของผู ้คนและบ ้านเมืองก็จะมีความทวี รุนแรงมากขึนเท่านั น จนกระทังอาจสินชาติสนศาสนาไปเลยก็ได ้ ิ เรืองทีน่าเป็ นห่วงมากทีสุด ในขณะนีก็คอ การทีจะรักษาสถานภาพวิชาศีลธรรมให ้คงอยู่ ื ในโรงเรียน กล่าวคือยังคงการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาไว ้เหมือนกับในอดีต และทําให ้เข ้มข ้นกว่า เพราะการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ในโรงเรียนนั น ถูก ปล่อยปละละเลยจากทุกฝ่ ายมานานแล ้ว บางยุคบางสมัยถึงกับถูกการตัดทิง ต ้องออก แรงมาเรียกร ้องกันจึงกลับมาได ้ แต่ก็กลับมาแบบอ่อนล ้า ไร ้เรียวแรงผลักดัน เป็ นเพียง วิชาเลือกวิชาหนึงเท่านั น การทีวิชาศีลธรรม จะได ้มีโอกาส แผ่รัศมีในโรงเรียน และในจิตใจ ของเยาวชน เหมือน สมัยปู่ ย่าตายาย ก็มอยูหนทางเดียว คือ อาศั ยการกําหนดนโยบาย และแผนการศึกษา ี ่ ของชาติไว ้ และผู ้ทีทําหน ้าทีหรือมีอํานาจในการกําหนดนโยบาย ดังกล่าวนั น ก็คอ ื คณะกรรมการต่าง ๆ ทีถูกกําหนดไว ้ในพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ เช่น สภา ิ การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ลงไป จนกระทังถึงคณะกรรมการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพืนทีการศึกษา การจะให ้บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว ก็จําต ้องดําเนินการอย่างน ้อย ๒ ประการ คือ (๑) ให ้มีพระภิกษุ ผู ้ทีมีความรู ้ความสามารถ เข ้าไปร่วมเป็ นคณะกรรมการในคณะต่าง ๆ เพือเป็ นตัวแทนศาสนาและเป็ นกระบอกเสียงให ้ (๒) ทําความตกลงกับคณะกรรมการคณะต่าง ๆ นั นเพือให ้กําหนดนโยบายเรือง การศึกษาวิชาศีลธรรมในโรงเรียนไว ้เป็ นหลักฐาน เรืองนีถือว่าเป็ นเรืองรีบด่วน จะต ้องดําเนินการ ก่อนทีอะไร ๆ จะสายเกินไป จนกระทังตามแก ้กันไม่ไหวใน อนาคต ถ ้าพลาดในจุดนีแล ้ว อาจถือว่า เราได ้ทิงเยาวชนปี ละนั บสิบล ้านคน และ เยาวชนเหล่านีแหละ คือผู ้ทีจะต ้องมีสวนสืบทอดและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ใน ่ อนาคต ในเมือเขาไม่รู ้เรืองพระพุทธศาสนา มาตังแต่เด็ก เขาก็จะคงไม่เห็น ความสํ าคัญของพระพุทธศาสนา และพร ้อมเสมอทีจะทิง หรือทําลาย พระพุทธศาสนา ด ้วยความไม่รู ้ไม่เข ้าใจ หรือทําตัวเป็ นปฏิปักษ์ตอ ่ พระพุทธศาสนา ซึงผู ้ใหญ่บางคนกําลังกระทําอยูในขณะนี ซึงอาศั ยอยูในประเทศ ่ ่ ไทยแท ้ ๆ การทีจะมานั งหวังว่าเขาจะเป็ นเหมือนพ่อแม่หรือวงศ์ตระกูลนัน ก็ ค่อนข ้างจะยากเหลือเกิน หรือเป็ นไปได ้ยาก และการทีเยาวชนคนรุนใหม่จะหัน ่ หลังให ้กับพระพุทธศาสนา นั นค่อนข ้างเห็นได ้ชัดเจนมากขึนอยูทกวัน เรืองนีเป็ น ่ ุ ทีทราบกันดีอยู่ กล่าวให้ช ัด ก็ คอ การสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนนนแหละ เปนการเผย ื ั ็ แผ่พระพุทธศาสนาทีดีทสุดและได้ผลดีทสุด ดังนั น นั กการศาสนาทุกศาสนา จึงจ ้อง ี ี ทีจะนํ าศาสนธรรมของตน ให ้เข ้าไปในโรงเรียนกัน ก็แล ้วแต่วากลยุทธ์ของใครจะดีกว่า ่ กัน ใครมีกลยุทธ์ทดีกว่า ก็สามารถยึดพืนทีสถานศึกษาได ้มาก ี
  • 10. เรือง ชันมัธยมศึกษาปี ท ี ๔ ๑ ประวัตและความสํ าคัญ ของ ิ  พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธการทีเป็ นสากลและมีข ้อปฏิบัตทยึด ี ิ ี พระพุทธศาสนา-พุทธประวัต ิ ทางสายกลาง  พระพุทธศาสนาเน ้นการพั ฒนาศรัทธาและปั ญญาทีถูกต ้อง  วิเคราะห์ส ั งคมชมพูทวีป และคติความเชือทางศาสนาสมัยก่อน พระพุทธเจ ้า  สรุปและวิเคราะห์พุ ทธประวัตด ้านการตรัส รู ้และการก่อตัง ิ พระพุทธศาสนา พระร ัตนตร ัย ๒. หลักธรรมทางพระพุ ทธศาสนา o วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ อริยส ัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมทีควรรู) ้ o ขันธ์ ๕ - นามรูป  สมุท ัย (ธรรมทีควรละ) o หลักกรรม - นิยาม ๕ o วิตก ๓  นิโรธ (ธรรมทีควรบรรลุ) o ภาวนา ๔  มรรค (ธรรมทีควรเจริญ) o พระสัทธรรม ๓ o ปั ญญาวุฒธรรม ๔ ิ o พละ ๕ o อุบาสกธรรม ๕ o มงคล ๓๘  สงเคราะห์บุตร  สงเคราะห์ภรรยา  สันโดษ - พุทธศาสนสุภาษิ ต  จิตฺตํ ทนฺ ตํ สุขาวหํ ขุ.ธ. ๒๕/๓๕/๒๒. จิตทีฝึ กดีแล ้ว นํ าสุขมาให ้  น อุจฺจาวจํ ปณฺ ฑตา ทสฺสยนฺ ต ิ ิ ขุ.ธ. ๒๕/๘๓/๓๑. บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึนๆ ลงๆ  นตฺถ ิ โลเก อนินฺทโต ิ ขุ.ธ. ๒๕/๒๒๗/๕๗. คนทีไม่ถกนิน ทา ไม่มในโลก ู ี
  • 11. โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ สํ .ส. ๑๕/๗๑/๔๗. ฆ่าความโกรธได ้ย่ อมอยู่ เป็ นสุข - พระไตรปิ ฎก  วิเคราะห์ความสํ าคัญและคุณค่าของพระไตรปิ ฎก - เรืองน่า รู ้จากพระไตรปิ ฎก  การครองตนเป็ นพลเมืองทีดี (ตามนัย ขุ.ชา.๒๘/๙๔๙/๓๓๒) - ศัพท์ทางพระพุ ทธศาสนาทีควร  ภพ - ภูม ิ ทราบ ๓ ประวัตพุทธสาวก พุทธสาวิกา ิ  พระอัสสชิ  พระกีสาโคตมีเถรี  พระนางมัลลิกา  หมอชีว ก - ชาดก  เวสสันดรชาดก ๔. หน ้าทีชาวพุทธ  การเข ้าใจในกิจของพระภิกษุ เช่น การศึกษา การปฏิบัตธรรม และการ ิ เป็ นนักบวชทีดี  การศึกษาเรืองคุณสมบัตของทายกและปฏิคาหก ิ  การรักษาศีล ๘  การเข ้าร่วมกิจกรรมและเป็ นสมาชิกขององค์กรชาวพุ ทธ  การเป็ นชาวพุ ทธทีดี ตามหลักทิศเบืองบน ในทิศ ๖  การเข ้าค่ายคุณธรรม  การเข ้าร่วมพิธ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา  การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ -มรรยาทชาวพุทธและการปฏิบัตตน ิ  การปฏิบัตตนต่อพระภิกษุ ทางกาย วาจา และใจ ทีประกอบด ้วยเมตตา ิ ต่อพระภิกษุ  การปฏิสน ถารทีเหมาะสมต่อพระภิกษุ ในโอกาสต่าง ๆ ั - ชาวพุ ทธตัวอย่าง  พระนาคเสน – พระยามิลนท์ ิ  สมเด็จพระวัน รัต (เฮง เขมจารี)  พระอาจารย์มัน ภูรทตฺ โต ิ  สุชพ ปุญญานุภาพ ี
  • 12. ๕. การบริห ารจิตและเจริญปั ญญา  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  รู ้และเข ้าใจวิธปฏิบัตและประโยชน์ข องการบริหารจิตและเจริญปั ญญา ี ิ  ฝึ กการบริหารจิตและเจริญปั ญญาตามหลักสติปั ฏฐาน  นํ าวิธการบริหารจิตและเจริญปั ญญาไปใชในการพัฒนาการเรียนรู ้ ี ้ คุณภาพชีว ต และสังคม ิ  พัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธ ี คือ วิธคดแบบ ี ิ ี ิ สามัญญลักษณะและวิธ ีคดแบบเป็ นอยู่ในขณะปั จจุบัน ิ ๖. วันสํ าคัญทางพระพุทธศาสนา  ศึกษาหลักธรรมทีเกียวเนืองในวันสํ าคัญทางพระพุทธศาสนา  ว ันธรรมสวนะและเทศกาลสํ าค ัญ o ศึกษาหลักธรรมทีเกียวเนืองในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสํ าคัญ -ศาสนพิธ ี  ประเภทของพุ ทธศาสนพิธ ี  ศาสนพิธเนืองด ้วยพุทธบัญญัต ิ เช่ น พิธแสดงตนเป็ นพุทธมากะ พิธ ี ี ี เวียนเทียน ถวายสั งฆทาน ถวายผ ้าอาบนํ าฝน พิธทอดกฐิน พิธ ี ี ปวารณา เป็ นต ้น  ศาสนพิธทนํ าพระพุทธศาสนาเข ้าไปเกียวเนือง เช่ น การทําบุญเลียง ี ี พระในโอกาสต่าง ๆ ๗.สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การ  พระพุทธศาสนากับการการศึกษาทีสมบูรณ์ แก ้ปั ญหาและการพัฒนา หัวข ้อเรือง ชันมัธยมศึกษาปี ท ี ๕ ๑ ประวัตและ ิ  ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา ความสํ าคัญของ พระพุทธศาสนาพุทธ ประวัต ิ  หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์  พระพุทธศาสนาเน ้นการฝึ กหัดอบรมตน การพึงตนเองและการ มุ่งอิสรภาพ  การคิดตามนัยแห่ งพระพุ ทธศาสนาและการคิดแบบ วิทยาศาสตร์  วิเคราะห์พุ ทธประวัตด ้านวิธการสอนและการเผยแผ่ ิ ี พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา พระร ัตนตร ัย ๒. หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา  วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของธรรมะ อริยส ัจ ๔
  • 13. ทุกข์ (ธรรมทีควรรู) ้ o ขันธ์ ๕ - โลกธรรม ๘  สมุท ัย (ธรรมทีควรละ) o กรรมนิยาม - กรรม ๑๒ o มิจฉาวณิชชา ๕  นิโรธ (ธรรมทีควรบรรลุ) o วิมุตติ ๕  มรรค (ธรรมทีควรเจริญ) o อปริหานิยธรรม ๗ o ปาปณิกธรรม ๓ o ทิฏฐธัมมิกตถสังวัตตนิกธรรม ๔ ั o โภคอาทิยะ ๕ o อริยวัฑฒิ ๕ o มงคล ๓๘  ถูกโลกธรรม จิตไม่ หวันไหว  จิตไม่เศร ้า โศก  จิตไม่มัว หมอง  จิตเกษม - พุทธศาสนสุภาษิ ต  ปฏิรปการี ธุรวา อุฏฺาตา ู วินฺทเต ธนํ . สํ .ส. ๑๕/๒๔๖/๒๕๙. คนขยันเอาการเอางาน กระทํ าเหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได ้  วายเมเถว ปุรโส ยาว อตฺ ถสฺส นิปฺปทา. สํ .ส. ๑๕/๒๕๔/๒๗๑. ิ เกิดเป็ นคนควรจะพยายามจนกว่าจะประสบความสํ าเร็จ  สนฺตฏฺปรมํ ธนํ. ุ ขุ.ธ. ๒๕/๒๐๔/๕๓. ความสันโดษเป็ นทรัพย์อย่า งยิง  อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก นัย องฺ.ฉกฺ ก. ๒๒/๔๕/๓๓๘. การเป็ นหนีเป็ นทุกข์ในโลก - พระไตรปิ ฎก  วิเคราะห์การสั งคายนาและการเผยแผ่พระไตรปิ ฎก - เรืองน่า รู ้จาก  คนครองเรือนทีร ้ายและทีดี ๑๐ ประเภท (กามโภคีสตร ตาม ู พระไตรปิ ฎก นัย องฺ. ทสก.(ไทย) ๒๔/๙๑/๒๐๗-๒๑๒)
  • 14. - ศัพท์ทาง  โพธิปักขิยธรรม พระพุทธศาสนาทีควร ทราบ  วาสนา – บารมี ๓ ประวัตพุทธสาวก ิ  พระอนุ รทธะ ุ พุทธสาวิกา  พระองคุลมาล ิ  พระธัมมทินนาเถรี  จิตตคหบดี - ชาดก  มโหสถชาดก ๔. หน ้าทีชาวพุทธ  การบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา  ประโยชน์ข องการบรรพชาอุปสมบท  การบวชเป็ นแม่ ช ี ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี  การศึกษาพุ ทธศาสนาวันอาทิตย์และธรรมศึกษา  การปลูกจิตสํ า นึกและการมีสวนร่วมในสังคมพุทธ ่  การปฏิบัตตนทีเหมาะสมในฐานะผู ้ปกครองและผู ้อยู่ใน ิ ปกครอง ตามหลักทิศเบืองล่าง ในทิศ ๖  การเข ้าค่ายคุณธรรม  เข ้าร่วมพิธ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา  การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ -มรรยาทชาวพุทธและ  การแสดงความเคารพตามหลักพระพุ ทธศาสนา ต่อพระ การปฏิบัตตนต่อ ิ รัตนตรัย ปู ชนียสถาน ปูชนียวัตถุ และปูชนียบุคคล พระภิกษุ  การปฏิสน ถารตามหลักปฏิสน ถาร ๒ ั ั - ชาวพุ ทธตัวอย่าง  สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  พระธรรมโกศาจารย์ (พุ ทธทาสภิกขุ)  พระธรรมโกศาจารย์ (ปั ญญานันทภิกขุ)  ดร.เอ็มเบดการ์ ๕. การบริห ารจิตและ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา เจริญปั ญญา  รู ้และเข ้าใจวิธปฏิบัตและประโยชน์ข องการบริหารจิตและ ี ิ เจริญปั ญญา  ฝึ กการบริหารจิตและเจริญปั ญญาตามหลักสติปั ฏฐาน  นํ าวิธการบริหารจิตและเจริญปั ญญาไปใชในการพัฒนาการ ี ้ เรียนรู ้ คุณภาพชีว ต และสั งคม ิ
  • 15. พัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธ ี คือ วิธ ี ี ิ คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ และวิธคดแบบวิภชชวาท ี ิ ั ๖. วันสํ าคัญทาง  ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมทีเกียวเนืองในวันสํ าคัญ ทาง พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา  วันธรรมสวนะและเทศกาลสํ าคัญ o ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ทีเกียวเนืองวัน ธรรมสวนะและเทศกาลสํ าคัญ -ศาสนพิธ ี  ความหมาย ความสํ าคัญ คติธรรมในพิธ ีกรรม บทสวดสวดมนต์ ของนั กเรียน งานพิธ ี คุณค่า และประโยชน์  พิธบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัตของผู ้ขอบรรพชาอุปสมบท ี ิ เครืองอัฏฐบริขาร ๗.สัมมนา  พระพุทธศาสนากับการเมืองและสันติภาพ พระพุทธศาสนากับการ แก ้ปั ญหาและการ พัฒนา รายละเอียดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาระด ับม ัธยมศึกษา ้ หัวข ้อเรือง ชันมัธยมศึกษาปี ท ี ๖ ๑ ประวัตและความสํ าคัญ ของ ิ  พระพุทธศาสนาเป็ นศาสตร์แห่งการศึกษา พระพุทธศาสนา-พุทธประวัต ิ  พระพุทธศาสนาเน ้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัย และวิธ ีการแก ้ปั ญหา  พระพุทธศาสนาฝึ กคนไม่ให ้ประมาท  พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์สข และสันติภาพแก่บุคคล สังคม และ ุ โลก  พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาแบบยังยืน  สรุปพุทธประวัต ิ  สรุปและวิเคราะห์พุ ทธประวัตด ้านการบริหารและการธํ ารงรักษา ิ พระพุทธศาสนา  วิเคราะห์พ ระพุทธเจ ้าในฐานะเป็ นมนุษย์ผู ้ฝึ กตนได ้อย่า งสูงสุด
  • 16. พระร ัตนตร ัย ๒. หลักธรรมทางพระพุ ทธศาสนา  วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของสั งฆะ อริยส ัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมทีควรรู) ้ o ขันธ์ ๕ - จิต, เจตสิก  สมุท ัย (ธรรมทีควรละ) o ธรรมนิยาม - ปฏิจจสมุปบาท o นิวรณ์ ๕ o อุปาทาน ๔  นิโรธ (ธรรมทีควรบรรลุ) o นิพพาน  มรรค (ธรรมทีควรเจริญ) o อธิปไตย ๓ o สาราณียธรรม ๖ o ทศพิธราชธรรม ๑๐ o วิปัสสนาญาณ ๙ o มงคล ๓๘  ความเพียรเผากิเลส  ประพฤติพรหมจรรย์  เห็ นอริยสัจ  บรรลุนพพาน ิ - พุทธศาสนสุภาษิ ต  ราชา มุขํ มนุสฺสานํ วิ.ม. ๕/๓๐๐/๘๔. พระราชาเป็ นประมุข ของประชาชน  สติ โลกสฺม ิ ชาคโร สํ .ส. ๑๕/๘๐/๕๑. สติเป็ นเครืองตืนในโลก  นตฺถ ิ สนฺ ตปรํ สุขํ ิ ขุ.ธ. ๒๕/๒๐๒/๕๒. สุขอืนยิงกว่าความสงบไม่ม ี  นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ ขุ.ธ. ๒๕/๒๐๓/๕๒. นิพพานเป็ นสุข อย่างยิง - พระไตรปิ ฎก  วิธการศึกษาและค ้นคว ้าพระไตรปิ ฎกและคัมภีรรองอืน ๆ ี ์
  • 17. - เรืองน่า รู ้จากพระไตรปิ ฎก  มหาสาโรปมสูตร (มัชฌิมนิกาย มูลปั ณณาสก์) - ศัพท์ทางพระพุ ทธศาสนาทีควร  ฌาณสมาบัต ิ – ผลสมาบัต- นิโรธสมาบัต ิ ิ ทราบ  สัมมัตตะ - มิจฉัตตะ ๓ ประวัตพุทธสาวกพุทธสาวิกา ิ  พระอานนท์  พระปฏาจาราเถรี  จูฬสุภททา ั  สุมนมาลาการ - ชาดก  มหาชนกชาดก ๔. หน ้าทีชาวพุทธ  วิเคราะห์หน ้าทีและบทบาทของพระภิกษุ ในฐานะพระนักเทศน์ พระ ธรรมทูต พระธรรมจาริก พระวิทยากร พระกรรมฐาน และพระนักพัฒ นา  วิเคราะห์หน ้าทีและบทบาทของอุบาสกอุบาสิกาทีมีต่อสังคมไทยใน ปั จจุบัน  วิเคราะห์เกียวกับการปกป้ องคุ ้มครองพระพุทธศาสนาของพุทธ บริษัท ในสังคมไทย  การปฏิบัตตนเป็ นสมาชิกทีดีข องครอบครัว ตามหลักทิศเบืองหลัง ใน ิ ทิศ ๖  การเข ้าค่ายคุณธรรม  เข ้าร่วมพิธ ีกรรมทางพระพุทธศาสนา  การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ  การบํ าเพ็ ญ ตนให ้เป็ นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และ -มรรยาทชาวพุทธและการปฏิบัตตน ิ โลก ต่อพระภิกษุ  การปฏิบัตตนทีเหมาะสมต่อพระภิกษุ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ิ - ชาวพุ ทธตัวอย่าง  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หัว  พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)  พระธรรมปิ ฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)  อนาคาริก ธรรมปาละ ๕. การบริห ารจิตและเจริญปั ญญา  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  รู ้และเข ้าใจวิธปฏิบัตและประโยชน์ข องการบริหารจิตและเจริญปั ญญา ี ิ  ฝึ กการบริหารจิตและเจริญปั ญญาตามหลักสติปั ฏฐาน  นํ าวิธการบริหารจิตและเจริญปั ญญาไปใชในการพัฒนาการเรียนรู ้ ี ้
  • 18. คุณภาพชีว ต และสังคม ิ  พัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยวิธคดแบบโยนิโสมนสิการ ทบทวนทัง ๑๐ วิธ ี ี ิ ๖. วันสํ าคัญทางพระพุทธศาสนา  ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรม อภิปรายผล ทีเกียวเนืองในวันสํ าคัญทาง พระพุทธศาสนา  วันธรรมสวนะและเทศกาลสํ าคัญ o ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม อภิปราย ผล ทีเกียวเนืองใน วันธรรมสวนะและเทศกาล สํ าคัญ -ศาสนพิธ ี  บุญพิธ ี ทานพิธ ี กุศลพิธ ี  วิเคราะห์คุณค่า และประโยชน์ของศาสนพิธ ี ๗.สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การ  พระพุทธศาสนากับการพัฒนาแบบยังยืน แก ้ปั ญหาและการพัฒนา