SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 7
การบริหารจัดการศึกษา
ในอดีตการจัดการศึกษาเกิดจากพื้นฐานคุณภาพ
ชุมชน เกิดความร่วมมือของ 3 สถาบันในสังคม คือ บ้าน
วัด โรงเรียน จนหลายคนคุ้นเคยกับคาว่า “บวร” เมื่อกระแส
โลกาภิวัฒน์ไหลเข้าสู่ประเทศไทย ส่งผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทุกด้านอันเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าของ
สารสนเทศ ที่เชื่อมต่อกัน
โรงเรียนวิถีพุทธ คือความหวังที่จะพลิกฟื้นสังคมไทยกลับ
สู่ความดีงามเหมือนอดีตได้จริงหรือ
โรงเรียนวิถีพุทธคืออะไร
คือโรงเรียนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรมพระพุทธศาสนา
มาใช้หรือประยุกต์หรือประยุกต์มาใช้ในการบริหารและการพัฒนา
ผู้เรียนโดยรวมของสถานศึกษาเน้นบูรณาการตามหลักไตรสิกขา คือ
ศิล สมาธิ ปัญญา เรียนรู้การพัฒนา “การกิน อยู่ ดูฟังเป็น “ มีปัญญา
เข้าใจในคุณค่าแท้
• โรงเรียนวิถีพุทธเน้นการจัดสภาพทุกๆด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตาม
หลักพุทธธรรมอย่าบูรณาการที่ส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงามตามลักษณะแห่ง
ปัญญาวุฒิธรรม 4ประการคือ
• 1.สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้มีครู อาจารย์ดี มีข้อมูลมีสื่อที่ดี
• 2.สัทธรรมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษาโดยมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ดี
• 3.โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์พิจารณา เหตุผลที่ดีและถูก
วิธี
• 4.ธัมมานุธัมมปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ชีวิตได้ถูกต้อง
เหมาะสม
ลักษณะสำคัญ
• 1. ด้ำนกำยภำพ โรงเรียนได้จัดสภำพแวดล้อมห้องเรียนและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ลักษณะกำรพัฒนำ ศีล สมำธิ ปัญญำ โดยมี - พระพุทธรูป ที่เด่น เหมำะสม ที่ชวนให้
ระลึกถึงพระรัตนตรัยอยู่เสมอที่หอประชุม - มีป้ ำยนิเทศ ต้นไม้คุณธรรม ที่เน้นให้
นักเรียนได้ศึกษำพุทธธรรม
• 2. ด้ำนกิจกรรมพื้นฐำนวิถีพุทธ โรงเรียนจัดกิจกรรมวิถีชีวิตประจำวัน ประจำสัปดำห์
หรือในโอกำสต่ำงๆ ได้จัดกิจกรรมดังนี้- กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระก่อนเข้ำเรียนและ
ก่อนเลิกเรียนประจำวัน เพื่อใกล้ชิดกับศำสนำ - กิจกรรมกำรปฏิญำณตนเป็นพุทธมำน
กะ ซึ่งจัดขึ้นปีละครั้ง - กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระและอบรมจริยธรรมในวันศุกร์ของทุก
สัปดำห์ – กิจกรรมกำรฝึกทำวิปัสสนำกรรมฐำนจะจัดขึ้นในวันสำคัญทำง
พระพุทธศำสนำ - กิจกรรมกำรอบรมธรรมะจำกพระภิกษุ – กิจกรรมวันสำคัญทำง
พระพุทธศำสนำ เช่น วันเข้ำพรรษำ วันออกพรรษำ วันวิสำขบูชำ วันมำฆบูชำ
วิธีกำรจัดบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ตำม
แนวทำงโรงเรียนวิถีพุทธ
• 3. ด้ำนกำรเรียนกำรสอน สถำนศึกษำมีกำรจัดหลักสูตรสถำนศึกษำ
เน้นกำรเรียนกำรสอนที่บูรณำกำรพุทธธรรมเพื่อพัฒนำผู้เรียนผ่ำน
กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนอย่ำงชัดเจน ต่อเนื่องสม่ำเสมอ
• 4. ด้ำนบรรยำกำศและปฏิสัมพันธ์ สถำนศึกษำส่งเสริมบรรยำกำศใฝ่
เรียนรู้ มีกัลยำณมิตรเคำรพอ่อนน้อม ยิ้มแย้มแจ่มใส กำรมีเมตตำ
กรุณำต่อกัน โดยครูเป็นแบบอย่ำงที่ดีแก่นักเรียน
• 5. ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร สถำนศึกษำแสวงหำควำมร่วมมือจำกชุมชน
โดยสร้ำงควำมเข้ำใจวิธีกำรดำเนินกำรโรงเรียนวิถีพุทธ โดยจัด
กำรศึกษำตำมสภำพควำมพร้อม คำนึงภำพงดงำมของโรงเรียนวิถีพุทธ
มำใช้พัฒนำผู้เรียน
หลักสูตรสถานศึกษา
-สอดแทรกเพิ่มเติม พุทธธรรม ในวิสันยทัศน์และลักษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรียน
-เพิ่มเติมคุณธรรม จริยธรรมในผลกำรเรียนรู่ที่คำดหวัง
-ให้มีบูรณำกำรพุทธธรรมในกำรจัดกำรเรียนรู้ทุกกลุ่มสำระ
-สอดแทรกควำมรู้และกำรปฏิบัติจริงในกำรเรียนรู้ทุกกลุ่มสำระ กิจกรรม
พัฒนำผู้เรียนนอกห้องเรียนโดยบูรณำกำรไตรสิกขำ เข้ำในชีวิตประจำวัน
ผู้สอน
-เป็นตัวอย่ำงที่ดีของลักษณะ “สอนให้รู้ ให้ทำดู อยู่ให้เป็น” อย่ำงสม่ำเสมอ
-เป็นกัลยำณมิตรของผู้เรียน มีเมตตำธรรม อ่อนโยน อดทน อดกลั้นและสร้ำง
ขวัญและกำลังใจแก่ผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้
-พัฒนำผู้เรียน รอบด้ำน สมดุล สมบูรณ์ทั้งกำย (ภำวนำ) พฤติกรรม
(ศิลภำวนำ) จิตใจจิต(ภำวนำ) ปัญญำ (ปัญญำภำวนำ)
-จัดโอกำส ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ (กิน ดู อยู่ ฟัง )
-สร้ำงเสริมให้วัฒนธรรมแสวงปัญญำและวัฒนธรรมปัญญำและ
วัฒนธรรมเมตตำ
-เน้นให้เกิดกำรเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิกำร เข้ำใจและค้นพบคุณค่ำแท้
ของสรรพสิ่ง
1.กิจกรรมเสริมเนื้อหำตำมหลักสูตร เช่น
• วิธีแสดงตนเป็นพุทธมำมกะ
• ประกวดมำรยำทชำวพุทธ
• กิจกรรมค่ำยพุทธบำตร
• เรียนธรรมศึกษำ/สอบธรรมศึกษำ
• กำรบริหำรจิต กำรเจริญปัญญำ
• บรรพชำสำมเณรภำคฤดูร้อน
กำรจัดกิจกรรมของโรงเรียนวิถีพุทธ
2. กิจกรรมประจำวัน/ประจำสัปดำห์
• กิจกรรมหน้ำเสำธง ได้แก่
• กิจกรรมที่กระทำเพื่อระลึกถึง ชำติ พระมหำกษัตริย์
• กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ แผ่เมตตำและสงบนิ่ง (สมำธิ)
• กิจกรรมพุทธ
• กิจกรรมพุทธสุภำษิต
• กิจกรรมน้องไหว้พี่
• กิจกรรมศิษย์ไหว้ครู
• กิจกรรมเดินสมำธิเข้ำสู่ห้องเรียน
กิจกรรมทำควำมดีระหว่ำงวัน ได้แก่
• กิจกรรมกล่ำวคำพิจำรณำอำหำรก่อนรับประทำนอำหำร
• กิจกรรมขอบคุณหลังรับประทำนอำหำร
• กิจกรรมนั่งสมำธิก่อนเข้ำเรียน
กิจกรรมก่อนเลิกเรียน
• กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์
• กิจกรรมระลึกถึงพระคุณของผู้มีพระคุณ
กิจกรรมประจำสัปดำห์
• กิจกรรมสวดมนต์สำรภัญญะประจำสัปดำห์
• กิจกรรมทำบุญตักบำตรประจำสัปดำห์หรือวันพระ
3.กิจกรรมเนื่องในโอกำสวันสำคัญของพระพุทธศำสนำ ได้แก่ วันวิสำขบู
ชำ วันอำสำฬหบูชำ วันมำฆบูชำ วันเข้ำพรรษำ โรงเรียนควรจัด
นิทรรศกำร ทำบุญตักบำตร นำนักเรียนไปฟังเทศน์ เวียนเทียนที่วัด
ภำรกิจของโรงเรียนในวันสำคัญทำงศำสนำ คือ ร่วมมือกับชุมชนจัด
กิจกรรมประดับธงธรรมจักร เปิดเพลงธรรมะ ทำงหอกระจำยข่ำว
กิจกรรมพิเศษอื่นๆ ได้แก่
• กิจกรรมไขปัญหำธรรม
• กิจกรรมประเมินผลกำรทำควำมดี
• กิจกรรมอำสำตำวิเศษ (มีผู้สังเกตพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติธรรม)
• กิจกรรมบันทึกควำมดี
• กิจกรรมต้นไม้คุณธรรม
• จัดนิทรรศกำรผลงำนทำงพุทธศำสนำ
• กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ ครูทักทำยนักเรียนด้วยกิริยำ วำจำ อ่อนหวำน และ
สัมผัสด้วยเมตตำ
• กิจกรรมสร้ำงสรรค์สังคม เช่น กำรทำควำมสะอำด
กำรจัดบรรยำกำศให้เอื้อต่อโรงเรียนวิถีพุทธ
1.บรรยำกำศสงบเงียบ เรียบง่ำย
2.ใกล้ชิดกับธรรมชำติ ร่มรื่น
3.ใกล้ชิดชุมชน
4.สะอำดเรียบร้อย
5.ทันสมัย มีกำรปรับปรุงพัฒนำอยู่เสมอ
6.เป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งด้ำนวิชำกำร วิชำชีพและคุณธรรม
กำรจัดบรรยำกำศให้เอื้อต่อโรงเรียนวิถีพุทธ
ตัวอย่างการบริหารจัดการศึกษา
โรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธ หมายถึง โรงเรียนในวิถีแห่งปัญญา ที่พัฒนาอย่าง
บูรณาการในระบบแห่ง ไตรสิกขา สู่ความเป็นพุทธทาให้เป็นอิสระโดย
มีชีวิตที่ดี เจริญงอกงามมีความสุขจริงแท้และอยู่ร่วมสังคมอย่าง
สร้างสรรค์เกื้อกูล
ความเป็นมา เนื่องจากการประชุมเรื่องหลักสูตรใหม่เด็กไทยพัฒนา
เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๕ ณ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ศ.ดร. ชัย
อนันต์ สมุทรวณิช เสนอให้มีการนาหลักธรรมคาสอนพระพุทธศาสนา
มาบูรณาการการบริหารจัดการในโรงเรียนซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
กระทรวงศึกษาธิการจึงเริ่มรับสมัครโรงเรียนที่สนใจและจัดให้มีการ
ปฐมนิเทศ เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนได้เข้าใจแนวทางการ
ดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ
จากที่ผู้บริหารโรงเรียนซึ่งส่วนใหญ่สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสนใจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สพฐ.จึงให้
มี "ผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ" ในทุก สพท. ต่อจากนั้นจึง
ได้ประชาสัมพันธ์ให้ สพท. รับสมัคร และจัดปฐมนิเทศโรงเรียนวิถี
พุทธ ในแต่ละ สพท.เอง ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ เป็นต้นมา
ขณะนี้ เดือนธันวาคม ๒๕๕๖ มีโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนวิถีพุทธ ประมาณ ๑๘,๕๗๗ โรงเรียน
1.พระภิกษุสงฆ์ มหำเถรสมำคม กรมกำรศำสนำ สำนักงำนพระพุทธศำสนำ
แห่งชำติ มหำวิทยำลัยสงฆ์ และองค์กรภำคเอกชนหลำยแห่งฯลฯ ให้กำร
สนับสนุนโรงเรียนวิถีพุทธ เพรำะเห็นว่ำเป็นทำงรอดของสังคมไทย
2.ผู้รับผิดชอบโรงเรียนวิถีพุทธ เกิดกำรตื่นตัวที่จะเยี่ยมเยียน นิเทศ โรงเรียนวิถีพุทธ
เพื่อให้โรงเรียนสำมำรถนำหลักพุทธธรรมไปใช้ในกำรบริหำรจัดกำรในโรงเรียนทั้ง
ระบบ
3.ผู้บริหำรโรงเรียน ครูผู้สอน ตระหนักถึงควำมสำคัญ เริ่มปรับตัวนำหลักพุทธธรรม
เข้ำไปใช้ในกำรบริหำรจัดกำรทั้งระบบโรงเรียน รวมทั้งในกำรดำเนินชีวิตตนเอง
ลด ละ เลิก อบำยมุข
4.นักเรียนได้เรียนรู้ และเริ่มปรับตัว นำหลักพุทธธรรมไปปฏิบัติในวิถีชีวิต
5.ผู้ปกครอง ชุมชน ชื่นชมยินดีให้กำรสนับสนุนงำนของโรงเรียนมำกขึ้นเกิดควำม
สมำนฉันท์ ของ บ้ำน วัด โรงเรียน
ผลโครงกำรโรงเรียนวิถีพุทธ เชิงคุณภำพ
การศึกษาและพัฒนาอัตลักษณ์โรงเรียนวิถีพุทธนั้นมีขั้นตอนดังนี้
• 1. การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อศึกษา
• 2. จัดทาสนทนากลุ่ม (Focus group)
• 3. ทดลองใช้ในสภาพจริง
• 4. ประเมินผลโดยคณะทางานประเมินผล
• 5. สรุปผลการดาเนินงานและรายงาน
แนวทำงดำเนินกำร 29 ประกำรสู่ควำมเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ
แนวทางดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ประกอบด้วย
1. ด้านกายภาพ 7 ประการ
• 1.1 มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ
• 1.2 มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน
• 1.3 มีพระพุทธรูปประจาห้องเรียน
• 1.4 มีพระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดารัสติดตามที่ต่างๆ
• 1.5 มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น
• 1.6 มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม
• 1.7 ไม่มีสิ่งเสพติด เหล้า บุหรี่ 100 %
2. ด้านการเรียนการสอน 5 ประการ
• 2.1 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนเข้าเรียน เช้า บ่าย ทั้งครู และ นักเรียน
• 2.2 บูรณาการวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสาระ และในวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา
• 2.3 ครู พานักเรียนทาโครงงานคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสาสัปดาห์ละ 1
ครั้ง
• 2.4 ครู ผู้บริหาร และ นักเรียน ทุกคน ไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัดเดือนละ
1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้
• 2.5 ครู ผู้บริหำร และ นักเรียนทุกคน เข้ำค่ำยปฏิบัติธรรมอย่ำงน้อยปี
ละ 1 ครั้ง
3. ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน5 ประการ
• 3.1. รักษาศีล 5
• 3.2. ยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม
• 3.3. ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหารรับประทาน
อาหาร ไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ
• 3.4. ประหยัด ออม ถนอมใช้เงิน และ สิ่งของ
• 3.5. มีนิสัยใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก
4. ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ
• 4.1. ไม่มีอำหำรขยะขำยในโรงเรียน
• 4.2. ไม่ดุ ด่ำ นักเรียน
• 4.3. ชื่นชมคุณควำมดี หน้ำเสำธงทุกวัน
• 4.4. โฮมรูมเพื่อสะท้อนควำมรู้สึก เช่นควำมรู้สึกที่ได้ทำควำมดี
• 4.5. ครู ผู้บริหำร และนักเรียน มีสมุดบันทึกควำมดี
• 4.6 ครู ผู้บริหำร และนักเรียน สอบได้ธรรมศึกษำตรีเป็นอย่ำงน้อย
• 4.7. บริหำรจิต เจริญปัญญำ ก่อนกำรประชุมทุกครั้ง
• 4.8. มีพระมำสอนอย่ำงสม่ำเสมอ
5. ด้านกิจกรรมประจาวันพระ4 ประการ
• 5.1. ใส่เสื้อขาวทุกคน
• 5.2. ทาบุญใส่บาตร ฟังเทศน์
• 5.3. รับประทานอาหารมังสวิรัติในมื้อกลางวัน
• 5.4. สวดมนต์แปล
โรงเรียนวิถีพุทธ เริ่มดาเนินการมาเมื่อปี 2545 โดยมีโรงเรียนเข้าร่วม
โครงการ ณ พ.ศ. 2556 จานวนกว่า 18,000 โรงเรียน ซึ่งจากแนวทางการ
ดาเนินการที่รับทราบร่วมกันตั้งแต่เริ่มต้น คณะผู้บริหาร ครู และพระอาจารย์
จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์
แนวทางดาเนินการเดิม ยกร่างเป็นแนวทางดาเนินการที่เป็นรูปธรรมอีกครั้ง
สอดคล้องกับตัวชี้วัดแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ พ.ศ.
2548 แบ่งเป็น 5 ด้าน รวม 29 ประการ และคณะยกร่างได้นาร่างฯไป
สอบถามความเห็นของผู้เกี่ยวข้อง หลายครั้ง รวมทั้งผ่านความเห็นชอบของ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2553 จึง
ประกาศให้โรงเรียนวิถีพุทธทราบและเป็นแนวทางในการประเมินตนเอง
ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา
ผลการดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็น
โรงเรียนวิถีพุทธ
แนวทางดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธพุทธ
ประกอบด้วย
1. ด้านกายภาพ 7 ประการ
1.1 มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ
1.2 มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน
1.3 มีพระพุทธรูปประจาห้องเรียน
1.4 มีพระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดารัสติดตามที่ต่างๆ
1.5 มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น
1.6 มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม
1.7 ไม่มีสิ่งเสพติดเหล้าบุหรี่ 100 %
2. ด้ำนกิจกรรมประจำวันพระ 4 ประกำร
2.1 ใส่เสื้อขำวทุกคน
2.2 ทำบุญใส่บำตร ฟังเทศน์
2.3 กินมังสาวิรัติในมื้อกลางวัน
2.4 สวดมนต์แปล
3. ด้ำนกำรเรียนกำรสอน 5 ประกำร
3.1 บริหำรจิต เจริญปัญญำ ก่อนเข้ำเรียน เช้ำ บ่ำย ทั้งครู และ นักเรียน
3.2 บูรณำกำรวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสำระ และในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ
3.3 ครู พำนักเรียนทำโครงงำนคุณธรรม กิจกรรมจิตอำสำสัปดำห์ละ 1 ครั้ง
3.4 ครู ผู้บริหำร และ นักเรียน ทุกคน ไปปฏิบัติศำสนกิจที่วัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็น
แหล่งเรียนรู้
3.5 ครู ผู้บริหำร และ นักเรียนทุกคน เข้ำค่ำยปฏิบัติธรรมอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง
4. ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน 5 ประการ
4.1 รักษาศีล 5
4.2 ยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม
4.3 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร รับประทาน
อาหารไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ
4.4 ประหยัด ออม ถนอมใช้เงิน และ สิ่งของ
4.5 มีนิสัยใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก
5 ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ
5.1 .ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน
5.2 ไม่ดุ ด่า นักเรียน
5.3 ชื่นชมคุณความดี หน้าเสาธงทุกวัน
5.4 โฮมรูมเพื่อสะท้อนความรู้สึก เช่นความรู้สึกที่ได้ทาความดี
5.5 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน มีสมุดบันทึกความดี
5.6 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน สอบได้ธรรมศึกษาตรีเป็นอย่างน้อย
5.7 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนการประชุมทุกครั้ง
5.8 มีพระมาสอนอย่างสม่าเสมอ
โรงเรียนวิถีพุทธจะมีแนวการเรียนการสอนระบบปกติทั่วไปที่นา
หลักธรรมพระพุทธศาสนามาใช้หรือประยุกต์ในการพัฒนาเด็กโดยเน้น
กรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) ซึ่งเป็นการ
ฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญาอย่างบูรณา
การ
- ศีล คือ การมีวินัยในการดาเนินชีวิตที่ดีงามต่อตัวเองและผู้อื่น
- สมาธิ คือ มุ่งพัฒนาจิตใจให้เข้มแข็งอย่างมีคุณภาพ
- ปัญญา คือ การมีความรู้ที่ถูกต้อง มีศักยภาพในการคิดและ
แก้ปัญหา
แนวกำรเรียนกำรสอนของโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ลักษณะ “สอน
ให้รู้ ทาให้ดู อยู่ให้เห็น” การเรียนรู้ในชั้นเรียนจะเป็นลักษณะ
การบูรณาการพุทธธรรมในการเรียนรู้ ทั้งความรู้ กระบวนการฝึก
ปฏิบัติ และมีการวัดประเมินทุกหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะด้าน
คุณลักษณะนิสัย ศรัทธา ค่านิยม และโดยลักษณะโรงเรียนวิถีพุทธ
จะเน้นการจัดสภาพทุกๆ ด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตาม
หลักพุทธธรรมอย่างบูรณาการ ที่ส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงาม
ตามลักษณะแห่งปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ คือ
จุดเด่นของโรงเรียนวิถีพุทธ
1. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้
2. สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษา โดยมีหลักสูตรการเรียนการ
สอนที่ดี
3. โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ พิจารณาเหตุผล
ที่ดีและถูกวิธี
4. ธัมมานุธัมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้ถูก
การจัดกิจกรรมหลากหลายและต่อเนื่องเป็นวิถีชีวิต เพื่อให้เด็กๆ รู้จัก
คิดและได้ฝึกปฏิบัติเสมอๆ ให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านความประพฤติ จิตใจ
และปัญญาไปพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกิน อยู่ ดู ฟัง ใน
ชีวิตประจาวันที่มีสติสัมปชัญญะคอยกากับ เพื่อเป็นไปตามคุณค่าแท้ของ
การดาเนินชีวิต ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น สวดมนต์ก่อนและหลังเลิกเรียน
นั่งสมาธิ มีการเวียนเทียนในวันสาคัญทางพุทธศาสนา เข้าค่ายธรรมมะ
กิจกรรมที่มุ่งเน้นในโรงเรียนวิถีพุทธ
หลักการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักพุทธ
ศาสนา โดยมีบรรยากาศสงบเงียบ เรียบง่าย ร่มรื่น สะอาด มีระเบียบ
ปลอดภัย สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนมีการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ
โรงเรียนวิถีพุทธจะมีลักษณะเกื้อกูลและใกล้ชิดกับชุมชน โดยโรงเรียนจะ
มีการร่วมมือกับบ้านวัด และสถาบันต่างๆ ในชุมชนที่จะพัฒนาทั้ง
นักเรียนและสังคมตามหลักธรรมในพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์สุข
ร่วมกัน และเด็กๆ ก็ได้เรียนรู้วัฒนธรรมไทยอีกด้วย
สภำพแวดล้อมในโรงเรียนวิถีพุทธ
จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อพัฒนาเด็กๆ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนวิถีพุทธนั้นจะมุ่งเน้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่
มีเป้าหมายในเรื่องของชีวิต สามารถช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ซึ่งรวมถึง
การปลูกฝังเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ที่เป็นคุณธรรมสาหรับวัยเด็ก
สอดคล้องกับหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา และเรียนรู้ที่จะ
ดารงชีวิตอย่างเหมาะสม รู้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลง สร้างสังคมที่ดีมี
คุณภาพ ผ่าน ‘การกิน อยู่ ดู ฟังเป็น’ นั่นเอง
สิ่งที่เด็กได้รับจำกกำรเรียนในโรงเรียนวิถีพุทธ
เพื่อสนองตอบความสามารถที่แตกต่างกันของบุคคล เพื่อนาพาเด็กและ
เยาวชนไทยก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างไร้ขีดจากัด โรงเรียนวิถี
พุทธเป็นหนึ่งในโรงเรียนรูปแบบใหม่ ที่จะช่วยผลักดันให้เด็กและเยาวชน
ไทยสามารถพัฒนาตามศักยภาพ เป็นคนดี คนเก่งของสังคม และสามารถ
ดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข
กรอบแนวคิดรูปแบบโรงเรียนวิถีพุทธ
คณะกรรมการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา (๒๕๔๖) ได้ให้ความหมาย
ของโรงเรียนวิถีพุทธ คือ โรงเรียนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรม
พระพุทธศาสนามาใช้หรือประยุกต์ใช้ในการบริหารและการพัฒนาผู้เรียน
โดยรวมของสถานศึกษา เน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา อย่างบูรณา
การ
กำรดำเนินงำนโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธดาเนินการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้หลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ
ปัญญา อย่างบูรณาการ ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการพัฒนา “การกิน อยู่ ดู ฟัง เป็น”
วิถีชีวิตที่ดีงามตามหลักไตรสิกขาทั้ง ๓ ด้าน
1.ศีล (พฤติกรรม)
• มีกิริยามารยาท กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น
• รู้จักพิจารณาเลือกเสพสิ่งบริโภค และสื่อต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ด้วยปัญญา
• รู้จักความพอดี พอประมาณ ในการแสวงหา บริโภค สะสมสิ่งต่าง ๆ
• ปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ภายนอกที่ถูกต้องเพื่อให้เกิดวินัยในตนเอง
• ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่นโดยมีศีล๕ เป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิต
• มีชีวิตที่สัมพันธ์ด้วยดีกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม
รูปแบบโรงเรียนวิถีพุทธ
2.จิตใจ (สมาธิ)
• มีสมรรถภาวะที่ดี คือ มีสมาธิ มีความตั้งมั่น เข้มแข็ง มุ่งมั่นทาดี ด้วย
จิตใจกล้าหาญ อดทน สู้สิ่งยาก ขยันหมั่นเพียร ไม่ย่อท้อสามารถฟันฝ่า
อุปสรรคผ่านความยากลาบากไปได้พึ่งตนเองได้
• มีคุณภาวะ คือ มีความกตัญญูรู้คุณ มีจิตใจเมตตา กรุณาโอบอ้อมอารีมี
น้าใจ ละอายชั่วกลัวบาป ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ กล้ารับผิด เกิดจิตที่เป็น
บุญกุศลอย่างสม่าเสมอ
• มีสุขภาวะที่ดี คือ มีความสุข ความร่าเริง เบิกบาน มองโลกในแง่ดี มี
กาลังใจ เกิดแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ในการร่วมกิจกรรมงานต่าง ๆ
3.ปัญญา
• มีศรัทธาเลื่อมใสและมีความเข้าใจในพระรัตนตรัย ในกฎแห่งกรรม และใน
หลักบาปบุญคุณโทษ
• มีทักษะและอุปนิสัยในการเรียนรู้ทีดี จูงใจ ใฝ่รู้ รู้จักการค้นคว้า การจด
บันทึกให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การคิดวิเคราะห์ประมวลผล
สามารถนาเสนอถ่ายทอดได้ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล
• มีทักษะชีวิตเท่าทันต่อสิ่งเร้าภายนอก และกิเลสภายในตนสามารถแก้ปัญหา
ชีวิตได้สามารถนาหลักธรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้มี
ฐานชีวิตที่ดีมีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติธรรม เกิดปัญญาเข้าใจในสัจธรรมใน
ชีวิต
• ได้ตามวุฒิภาวะของตน สามารถต่อยอดพัฒนาไปสู่ปการปฏิบัติธรรมให้เกิด
ความเจริญงอกงามในธรรมที่สูงยิ่งขึ้นไป
เน้นการจัดสภาพทุก ๆ ด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตามหลัก
พุทธธรรมอย่าง บูรณาการ โดยส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงามตาม
ลักษณะแห่งปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ คือ
1) สัปปุริสสังเสวะ หมายถึงการอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้ มีครู อาจารย์ดี มีข้อมูล
มีสื่อที่ดี
2) สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษาโดยมีหลักสูตร การเรียนการสอน
ที่ดี
3) โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผลที่
ดีและถูกวิธี
4) ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตได้
ถูกต้องเหมาะสม
ลักษณะโรงเรียนวิถีพุทธ
1. ด้านกายภาพ โรงเรียนได้จัดสภาพแวดล้อมห้องเรียนและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ลักษณะการพัฒนา ศีล สมาธิ ปัญญา โดยมี พระพุทธรูป ที่เด่น เหมาะสม ที่ชวนให้
ระลึกถึงพระรัตนตรัยอยู่เสมอที่หอประชุม มีป้ายนิเทศ ต้นไม้คุณธรรม ที่เน้นให้
นักเรียนได้ศึกษาพุทธธรรม
2. ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีพุทธ โรงเรียนจัดกิจกรรมวิถีชีวิตประจาวัน ประจา
สัปดาห์หรือในโอกาสต่างๆ ได้จัดกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระก่อนเข้า
เรียนและก่อนเลิกเรียนประจาวัน เพื่อใกล้ชิดกับศาสนา - กิจกรรมการปฏิญาณตนเป็น
พุทธมานกะ ซึ่งจัดขึ้นปีละครั้ง - กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระและอบรมจริยธรรมในวัน
ศุกร์ของทุกสัปดาห์ – กิจกรรมการฝึกทาวิปัสสนากรรมฐานจะจัดขึ้นในวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา - กิจกรรมการอบรมธรรมะจากพระภิกษุ – กิจกรรมวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา
วิธีกำรจัดบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ตำมแนวทำงโรงเรียนวิธีพุทธ
3. ด้านการเรียนการสอน สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรสถานศึกษา
เน้นการเรียนการสอนที่บูรณาการพุทธธรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนผ่านกิจกรรม
การเรียนการสอนอย่างชัดเจน ต่อเนื่องสม่าเสมอ
4. ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ สถานศึกษาส่งเสริมบรรยากาศใฝ่
เรียนรู้ มีกัลยาณมิตรเคารพอ่อนน้อม ยิ้มแย้มแจ่มใส การมีเมตตากรุณาต่อกัน
โดยครูเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
5. ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาแสวงหาความร่วมมือจากชุมชน
โดยสร้างความเข้าใจวิธีการดาเนินการโรงเรียนวิถีพุทธ โดยจัดการศึกษาตาม
สภาพความพร้อม คานึงภาพงดงามของโรงเรียนวิถีพุทธมาใช้พัฒนาผู้เรียน
แหล่งอ้างอิง
วารสารวิชาการปีที่ 7Z(ฉบับที่ 1).1 มกราคม – มีนาคม 2547.สานักงาน
เลขาธิการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
จากเว็บไซต์ http://www.myfirstbrain.com/teacher view.aspx?ID=17635
จากเว็บไซต์ http://www.vitheebuddha.com/main.php?url=about&code=09

More Related Content

What's hot

ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ
002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ
002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ
niralai
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร
003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร
003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร
niralai
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
Ict Krutao
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
Oui Nuchanart
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Ch Khankluay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
สรสิช ขันตรีมิตร
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษานวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา
auei angkana
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
leemeanshun minzstar
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555Muhammadrusdee Almaarify
 

What's hot (19)

ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ
002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ
002การจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา พระเทพโสภณ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร
003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร
003การจัดการเรียนรู้วิชาพุทธสำหรับผุ้บริหาร
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษานวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
หลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัยหลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
 

Similar to บทท 7

หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
nattapong147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
fernfielook
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Theerayut Ponman
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
weskaew yodmongkol
 

Similar to บทท 7 (20)

หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 

บทท 7

  • 2. ในอดีตการจัดการศึกษาเกิดจากพื้นฐานคุณภาพ ชุมชน เกิดความร่วมมือของ 3 สถาบันในสังคม คือ บ้าน วัด โรงเรียน จนหลายคนคุ้นเคยกับคาว่า “บวร” เมื่อกระแส โลกาภิวัฒน์ไหลเข้าสู่ประเทศไทย ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทุกด้านอันเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าของ สารสนเทศ ที่เชื่อมต่อกัน
  • 3. โรงเรียนวิถีพุทธ คือความหวังที่จะพลิกฟื้นสังคมไทยกลับ สู่ความดีงามเหมือนอดีตได้จริงหรือ โรงเรียนวิถีพุทธคืออะไร คือโรงเรียนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรมพระพุทธศาสนา มาใช้หรือประยุกต์หรือประยุกต์มาใช้ในการบริหารและการพัฒนา ผู้เรียนโดยรวมของสถานศึกษาเน้นบูรณาการตามหลักไตรสิกขา คือ ศิล สมาธิ ปัญญา เรียนรู้การพัฒนา “การกิน อยู่ ดูฟังเป็น “ มีปัญญา เข้าใจในคุณค่าแท้
  • 4. • โรงเรียนวิถีพุทธเน้นการจัดสภาพทุกๆด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตาม หลักพุทธธรรมอย่าบูรณาการที่ส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงามตามลักษณะแห่ง ปัญญาวุฒิธรรม 4ประการคือ • 1.สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้มีครู อาจารย์ดี มีข้อมูลมีสื่อที่ดี • 2.สัทธรรมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษาโดยมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ดี • 3.โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์พิจารณา เหตุผลที่ดีและถูก วิธี • 4.ธัมมานุธัมมปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ชีวิตได้ถูกต้อง เหมาะสม ลักษณะสำคัญ
  • 5. • 1. ด้ำนกำยภำพ โรงเรียนได้จัดสภำพแวดล้อมห้องเรียนและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม ลักษณะกำรพัฒนำ ศีล สมำธิ ปัญญำ โดยมี - พระพุทธรูป ที่เด่น เหมำะสม ที่ชวนให้ ระลึกถึงพระรัตนตรัยอยู่เสมอที่หอประชุม - มีป้ ำยนิเทศ ต้นไม้คุณธรรม ที่เน้นให้ นักเรียนได้ศึกษำพุทธธรรม • 2. ด้ำนกิจกรรมพื้นฐำนวิถีพุทธ โรงเรียนจัดกิจกรรมวิถีชีวิตประจำวัน ประจำสัปดำห์ หรือในโอกำสต่ำงๆ ได้จัดกิจกรรมดังนี้- กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระก่อนเข้ำเรียนและ ก่อนเลิกเรียนประจำวัน เพื่อใกล้ชิดกับศำสนำ - กิจกรรมกำรปฏิญำณตนเป็นพุทธมำน กะ ซึ่งจัดขึ้นปีละครั้ง - กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระและอบรมจริยธรรมในวันศุกร์ของทุก สัปดำห์ – กิจกรรมกำรฝึกทำวิปัสสนำกรรมฐำนจะจัดขึ้นในวันสำคัญทำง พระพุทธศำสนำ - กิจกรรมกำรอบรมธรรมะจำกพระภิกษุ – กิจกรรมวันสำคัญทำง พระพุทธศำสนำ เช่น วันเข้ำพรรษำ วันออกพรรษำ วันวิสำขบูชำ วันมำฆบูชำ วิธีกำรจัดบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ตำม แนวทำงโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 6. • 3. ด้ำนกำรเรียนกำรสอน สถำนศึกษำมีกำรจัดหลักสูตรสถำนศึกษำ เน้นกำรเรียนกำรสอนที่บูรณำกำรพุทธธรรมเพื่อพัฒนำผู้เรียนผ่ำน กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนอย่ำงชัดเจน ต่อเนื่องสม่ำเสมอ • 4. ด้ำนบรรยำกำศและปฏิสัมพันธ์ สถำนศึกษำส่งเสริมบรรยำกำศใฝ่ เรียนรู้ มีกัลยำณมิตรเคำรพอ่อนน้อม ยิ้มแย้มแจ่มใส กำรมีเมตตำ กรุณำต่อกัน โดยครูเป็นแบบอย่ำงที่ดีแก่นักเรียน • 5. ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร สถำนศึกษำแสวงหำควำมร่วมมือจำกชุมชน โดยสร้ำงควำมเข้ำใจวิธีกำรดำเนินกำรโรงเรียนวิถีพุทธ โดยจัด กำรศึกษำตำมสภำพควำมพร้อม คำนึงภำพงดงำมของโรงเรียนวิถีพุทธ มำใช้พัฒนำผู้เรียน
  • 7. หลักสูตรสถานศึกษา -สอดแทรกเพิ่มเติม พุทธธรรม ในวิสันยทัศน์และลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียน -เพิ่มเติมคุณธรรม จริยธรรมในผลกำรเรียนรู่ที่คำดหวัง -ให้มีบูรณำกำรพุทธธรรมในกำรจัดกำรเรียนรู้ทุกกลุ่มสำระ -สอดแทรกควำมรู้และกำรปฏิบัติจริงในกำรเรียนรู้ทุกกลุ่มสำระ กิจกรรม พัฒนำผู้เรียนนอกห้องเรียนโดยบูรณำกำรไตรสิกขำ เข้ำในชีวิตประจำวัน ผู้สอน -เป็นตัวอย่ำงที่ดีของลักษณะ “สอนให้รู้ ให้ทำดู อยู่ให้เป็น” อย่ำงสม่ำเสมอ -เป็นกัลยำณมิตรของผู้เรียน มีเมตตำธรรม อ่อนโยน อดทน อดกลั้นและสร้ำง ขวัญและกำลังใจแก่ผู้เรียน
  • 8. การจัดการเรียนรู้ -พัฒนำผู้เรียน รอบด้ำน สมดุล สมบูรณ์ทั้งกำย (ภำวนำ) พฤติกรรม (ศิลภำวนำ) จิตใจจิต(ภำวนำ) ปัญญำ (ปัญญำภำวนำ) -จัดโอกำส ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ (กิน ดู อยู่ ฟัง ) -สร้ำงเสริมให้วัฒนธรรมแสวงปัญญำและวัฒนธรรมปัญญำและ วัฒนธรรมเมตตำ -เน้นให้เกิดกำรเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิกำร เข้ำใจและค้นพบคุณค่ำแท้ ของสรรพสิ่ง
  • 9. 1.กิจกรรมเสริมเนื้อหำตำมหลักสูตร เช่น • วิธีแสดงตนเป็นพุทธมำมกะ • ประกวดมำรยำทชำวพุทธ • กิจกรรมค่ำยพุทธบำตร • เรียนธรรมศึกษำ/สอบธรรมศึกษำ • กำรบริหำรจิต กำรเจริญปัญญำ • บรรพชำสำมเณรภำคฤดูร้อน กำรจัดกิจกรรมของโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 10. 2. กิจกรรมประจำวัน/ประจำสัปดำห์ • กิจกรรมหน้ำเสำธง ได้แก่ • กิจกรรมที่กระทำเพื่อระลึกถึง ชำติ พระมหำกษัตริย์ • กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ แผ่เมตตำและสงบนิ่ง (สมำธิ) • กิจกรรมพุทธ • กิจกรรมพุทธสุภำษิต • กิจกรรมน้องไหว้พี่ • กิจกรรมศิษย์ไหว้ครู • กิจกรรมเดินสมำธิเข้ำสู่ห้องเรียน กิจกรรมทำควำมดีระหว่ำงวัน ได้แก่ • กิจกรรมกล่ำวคำพิจำรณำอำหำรก่อนรับประทำนอำหำร • กิจกรรมขอบคุณหลังรับประทำนอำหำร • กิจกรรมนั่งสมำธิก่อนเข้ำเรียน
  • 11. กิจกรรมก่อนเลิกเรียน • กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ • กิจกรรมระลึกถึงพระคุณของผู้มีพระคุณ กิจกรรมประจำสัปดำห์ • กิจกรรมสวดมนต์สำรภัญญะประจำสัปดำห์ • กิจกรรมทำบุญตักบำตรประจำสัปดำห์หรือวันพระ 3.กิจกรรมเนื่องในโอกำสวันสำคัญของพระพุทธศำสนำ ได้แก่ วันวิสำขบู ชำ วันอำสำฬหบูชำ วันมำฆบูชำ วันเข้ำพรรษำ โรงเรียนควรจัด นิทรรศกำร ทำบุญตักบำตร นำนักเรียนไปฟังเทศน์ เวียนเทียนที่วัด ภำรกิจของโรงเรียนในวันสำคัญทำงศำสนำ คือ ร่วมมือกับชุมชนจัด กิจกรรมประดับธงธรรมจักร เปิดเพลงธรรมะ ทำงหอกระจำยข่ำว
  • 12. กิจกรรมพิเศษอื่นๆ ได้แก่ • กิจกรรมไขปัญหำธรรม • กิจกรรมประเมินผลกำรทำควำมดี • กิจกรรมอำสำตำวิเศษ (มีผู้สังเกตพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติธรรม) • กิจกรรมบันทึกควำมดี • กิจกรรมต้นไม้คุณธรรม • จัดนิทรรศกำรผลงำนทำงพุทธศำสนำ • กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ ครูทักทำยนักเรียนด้วยกิริยำ วำจำ อ่อนหวำน และ สัมผัสด้วยเมตตำ • กิจกรรมสร้ำงสรรค์สังคม เช่น กำรทำควำมสะอำด
  • 13. กำรจัดบรรยำกำศให้เอื้อต่อโรงเรียนวิถีพุทธ 1.บรรยำกำศสงบเงียบ เรียบง่ำย 2.ใกล้ชิดกับธรรมชำติ ร่มรื่น 3.ใกล้ชิดชุมชน 4.สะอำดเรียบร้อย 5.ทันสมัย มีกำรปรับปรุงพัฒนำอยู่เสมอ 6.เป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งด้ำนวิชำกำร วิชำชีพและคุณธรรม กำรจัดบรรยำกำศให้เอื้อต่อโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 15. โรงเรียนวิถีพุทธ หมายถึง โรงเรียนในวิถีแห่งปัญญา ที่พัฒนาอย่าง บูรณาการในระบบแห่ง ไตรสิกขา สู่ความเป็นพุทธทาให้เป็นอิสระโดย มีชีวิตที่ดี เจริญงอกงามมีความสุขจริงแท้และอยู่ร่วมสังคมอย่าง สร้างสรรค์เกื้อกูล ความเป็นมา เนื่องจากการประชุมเรื่องหลักสูตรใหม่เด็กไทยพัฒนา เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๕ ณ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ศ.ดร. ชัย อนันต์ สมุทรวณิช เสนอให้มีการนาหลักธรรมคาสอนพระพุทธศาสนา มาบูรณาการการบริหารจัดการในโรงเรียนซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ กระทรวงศึกษาธิการจึงเริ่มรับสมัครโรงเรียนที่สนใจและจัดให้มีการ ปฐมนิเทศ เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนได้เข้าใจแนวทางการ ดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 16. จากที่ผู้บริหารโรงเรียนซึ่งส่วนใหญ่สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสนใจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สพฐ.จึงให้ มี "ผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ" ในทุก สพท. ต่อจากนั้นจึง ได้ประชาสัมพันธ์ให้ สพท. รับสมัคร และจัดปฐมนิเทศโรงเรียนวิถี พุทธ ในแต่ละ สพท.เอง ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๖ เป็นต้นมา ขณะนี้ เดือนธันวาคม ๒๕๕๖ มีโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการ โรงเรียนวิถีพุทธ ประมาณ ๑๘,๕๗๗ โรงเรียน
  • 17. 1.พระภิกษุสงฆ์ มหำเถรสมำคม กรมกำรศำสนำ สำนักงำนพระพุทธศำสนำ แห่งชำติ มหำวิทยำลัยสงฆ์ และองค์กรภำคเอกชนหลำยแห่งฯลฯ ให้กำร สนับสนุนโรงเรียนวิถีพุทธ เพรำะเห็นว่ำเป็นทำงรอดของสังคมไทย 2.ผู้รับผิดชอบโรงเรียนวิถีพุทธ เกิดกำรตื่นตัวที่จะเยี่ยมเยียน นิเทศ โรงเรียนวิถีพุทธ เพื่อให้โรงเรียนสำมำรถนำหลักพุทธธรรมไปใช้ในกำรบริหำรจัดกำรในโรงเรียนทั้ง ระบบ 3.ผู้บริหำรโรงเรียน ครูผู้สอน ตระหนักถึงควำมสำคัญ เริ่มปรับตัวนำหลักพุทธธรรม เข้ำไปใช้ในกำรบริหำรจัดกำรทั้งระบบโรงเรียน รวมทั้งในกำรดำเนินชีวิตตนเอง ลด ละ เลิก อบำยมุข 4.นักเรียนได้เรียนรู้ และเริ่มปรับตัว นำหลักพุทธธรรมไปปฏิบัติในวิถีชีวิต 5.ผู้ปกครอง ชุมชน ชื่นชมยินดีให้กำรสนับสนุนงำนของโรงเรียนมำกขึ้นเกิดควำม สมำนฉันท์ ของ บ้ำน วัด โรงเรียน ผลโครงกำรโรงเรียนวิถีพุทธ เชิงคุณภำพ
  • 18. การศึกษาและพัฒนาอัตลักษณ์โรงเรียนวิถีพุทธนั้นมีขั้นตอนดังนี้ • 1. การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อศึกษา • 2. จัดทาสนทนากลุ่ม (Focus group) • 3. ทดลองใช้ในสภาพจริง • 4. ประเมินผลโดยคณะทางานประเมินผล • 5. สรุปผลการดาเนินงานและรายงาน แนวทำงดำเนินกำร 29 ประกำรสู่ควำมเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 19. แนวทางดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ประกอบด้วย 1. ด้านกายภาพ 7 ประการ • 1.1 มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ • 1.2 มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน • 1.3 มีพระพุทธรูปประจาห้องเรียน • 1.4 มีพระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดารัสติดตามที่ต่างๆ • 1.5 มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น • 1.6 มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม • 1.7 ไม่มีสิ่งเสพติด เหล้า บุหรี่ 100 %
  • 20. 2. ด้านการเรียนการสอน 5 ประการ • 2.1 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนเข้าเรียน เช้า บ่าย ทั้งครู และ นักเรียน • 2.2 บูรณาการวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสาระ และในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา • 2.3 ครู พานักเรียนทาโครงงานคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง • 2.4 ครู ผู้บริหาร และ นักเรียน ทุกคน ไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ • 2.5 ครู ผู้บริหำร และ นักเรียนทุกคน เข้ำค่ำยปฏิบัติธรรมอย่ำงน้อยปี ละ 1 ครั้ง
  • 21. 3. ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน5 ประการ • 3.1. รักษาศีล 5 • 3.2. ยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม • 3.3. ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหารรับประทาน อาหาร ไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ • 3.4. ประหยัด ออม ถนอมใช้เงิน และ สิ่งของ • 3.5. มีนิสัยใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก
  • 22. 4. ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ • 4.1. ไม่มีอำหำรขยะขำยในโรงเรียน • 4.2. ไม่ดุ ด่ำ นักเรียน • 4.3. ชื่นชมคุณควำมดี หน้ำเสำธงทุกวัน • 4.4. โฮมรูมเพื่อสะท้อนควำมรู้สึก เช่นควำมรู้สึกที่ได้ทำควำมดี • 4.5. ครู ผู้บริหำร และนักเรียน มีสมุดบันทึกควำมดี • 4.6 ครู ผู้บริหำร และนักเรียน สอบได้ธรรมศึกษำตรีเป็นอย่ำงน้อย • 4.7. บริหำรจิต เจริญปัญญำ ก่อนกำรประชุมทุกครั้ง • 4.8. มีพระมำสอนอย่ำงสม่ำเสมอ
  • 23. 5. ด้านกิจกรรมประจาวันพระ4 ประการ • 5.1. ใส่เสื้อขาวทุกคน • 5.2. ทาบุญใส่บาตร ฟังเทศน์ • 5.3. รับประทานอาหารมังสวิรัติในมื้อกลางวัน • 5.4. สวดมนต์แปล
  • 24. โรงเรียนวิถีพุทธ เริ่มดาเนินการมาเมื่อปี 2545 โดยมีโรงเรียนเข้าร่วม โครงการ ณ พ.ศ. 2556 จานวนกว่า 18,000 โรงเรียน ซึ่งจากแนวทางการ ดาเนินการที่รับทราบร่วมกันตั้งแต่เริ่มต้น คณะผู้บริหาร ครู และพระอาจารย์ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ แนวทางดาเนินการเดิม ยกร่างเป็นแนวทางดาเนินการที่เป็นรูปธรรมอีกครั้ง สอดคล้องกับตัวชี้วัดแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ พ.ศ. 2548 แบ่งเป็น 5 ด้าน รวม 29 ประการ และคณะยกร่างได้นาร่างฯไป สอบถามความเห็นของผู้เกี่ยวข้อง หลายครั้ง รวมทั้งผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2553 จึง ประกาศให้โรงเรียนวิถีพุทธทราบและเป็นแนวทางในการประเมินตนเอง ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ผลการดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็น โรงเรียนวิถีพุทธ
  • 25. แนวทางดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธพุทธ ประกอบด้วย 1. ด้านกายภาพ 7 ประการ 1.1 มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ 1.2 มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน 1.3 มีพระพุทธรูปประจาห้องเรียน 1.4 มีพระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดารัสติดตามที่ต่างๆ 1.5 มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น 1.6 มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม 1.7 ไม่มีสิ่งเสพติดเหล้าบุหรี่ 100 %
  • 26. 2. ด้ำนกิจกรรมประจำวันพระ 4 ประกำร 2.1 ใส่เสื้อขำวทุกคน 2.2 ทำบุญใส่บำตร ฟังเทศน์ 2.3 กินมังสาวิรัติในมื้อกลางวัน 2.4 สวดมนต์แปล 3. ด้ำนกำรเรียนกำรสอน 5 ประกำร 3.1 บริหำรจิต เจริญปัญญำ ก่อนเข้ำเรียน เช้ำ บ่ำย ทั้งครู และ นักเรียน 3.2 บูรณำกำรวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสำระ และในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ 3.3 ครู พำนักเรียนทำโครงงำนคุณธรรม กิจกรรมจิตอำสำสัปดำห์ละ 1 ครั้ง 3.4 ครู ผู้บริหำร และ นักเรียน ทุกคน ไปปฏิบัติศำสนกิจที่วัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็น แหล่งเรียนรู้ 3.5 ครู ผู้บริหำร และ นักเรียนทุกคน เข้ำค่ำยปฏิบัติธรรมอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง
  • 27. 4. ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน 5 ประการ 4.1 รักษาศีล 5 4.2 ยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม 4.3 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร รับประทาน อาหารไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ 4.4 ประหยัด ออม ถนอมใช้เงิน และ สิ่งของ 4.5 มีนิสัยใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก
  • 28. 5 ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ 5.1 .ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน 5.2 ไม่ดุ ด่า นักเรียน 5.3 ชื่นชมคุณความดี หน้าเสาธงทุกวัน 5.4 โฮมรูมเพื่อสะท้อนความรู้สึก เช่นความรู้สึกที่ได้ทาความดี 5.5 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน มีสมุดบันทึกความดี 5.6 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน สอบได้ธรรมศึกษาตรีเป็นอย่างน้อย 5.7 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนการประชุมทุกครั้ง 5.8 มีพระมาสอนอย่างสม่าเสมอ
  • 29. โรงเรียนวิถีพุทธจะมีแนวการเรียนการสอนระบบปกติทั่วไปที่นา หลักธรรมพระพุทธศาสนามาใช้หรือประยุกต์ในการพัฒนาเด็กโดยเน้น กรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) ซึ่งเป็นการ ฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญาอย่างบูรณา การ - ศีล คือ การมีวินัยในการดาเนินชีวิตที่ดีงามต่อตัวเองและผู้อื่น - สมาธิ คือ มุ่งพัฒนาจิตใจให้เข้มแข็งอย่างมีคุณภาพ - ปัญญา คือ การมีความรู้ที่ถูกต้อง มีศักยภาพในการคิดและ แก้ปัญหา แนวกำรเรียนกำรสอนของโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 30. โรงเรียนวิถีพุทธมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ลักษณะ “สอน ให้รู้ ทาให้ดู อยู่ให้เห็น” การเรียนรู้ในชั้นเรียนจะเป็นลักษณะ การบูรณาการพุทธธรรมในการเรียนรู้ ทั้งความรู้ กระบวนการฝึก ปฏิบัติ และมีการวัดประเมินทุกหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะด้าน คุณลักษณะนิสัย ศรัทธา ค่านิยม และโดยลักษณะโรงเรียนวิถีพุทธ จะเน้นการจัดสภาพทุกๆ ด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตาม หลักพุทธธรรมอย่างบูรณาการ ที่ส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงาม ตามลักษณะแห่งปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ คือ จุดเด่นของโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 31. 1. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้ 2. สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษา โดยมีหลักสูตรการเรียนการ สอนที่ดี 3. โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ พิจารณาเหตุผล ที่ดีและถูกวิธี 4. ธัมมานุธัมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ถูก
  • 32. การจัดกิจกรรมหลากหลายและต่อเนื่องเป็นวิถีชีวิต เพื่อให้เด็กๆ รู้จัก คิดและได้ฝึกปฏิบัติเสมอๆ ให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านความประพฤติ จิตใจ และปัญญาไปพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกิน อยู่ ดู ฟัง ใน ชีวิตประจาวันที่มีสติสัมปชัญญะคอยกากับ เพื่อเป็นไปตามคุณค่าแท้ของ การดาเนินชีวิต ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น สวดมนต์ก่อนและหลังเลิกเรียน นั่งสมาธิ มีการเวียนเทียนในวันสาคัญทางพุทธศาสนา เข้าค่ายธรรมมะ กิจกรรมที่มุ่งเน้นในโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 33. หลักการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักพุทธ ศาสนา โดยมีบรรยากาศสงบเงียบ เรียบง่าย ร่มรื่น สะอาด มีระเบียบ ปลอดภัย สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนมีการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ โรงเรียนวิถีพุทธจะมีลักษณะเกื้อกูลและใกล้ชิดกับชุมชน โดยโรงเรียนจะ มีการร่วมมือกับบ้านวัด และสถาบันต่างๆ ในชุมชนที่จะพัฒนาทั้ง นักเรียนและสังคมตามหลักธรรมในพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์สุข ร่วมกัน และเด็กๆ ก็ได้เรียนรู้วัฒนธรรมไทยอีกด้วย สภำพแวดล้อมในโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 34. จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อพัฒนาเด็กๆ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ กิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนวิถีพุทธนั้นจะมุ่งเน้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่ มีเป้าหมายในเรื่องของชีวิต สามารถช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ซึ่งรวมถึง การปลูกฝังเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ที่เป็นคุณธรรมสาหรับวัยเด็ก สอดคล้องกับหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา และเรียนรู้ที่จะ ดารงชีวิตอย่างเหมาะสม รู้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลง สร้างสังคมที่ดีมี คุณภาพ ผ่าน ‘การกิน อยู่ ดู ฟังเป็น’ นั่นเอง สิ่งที่เด็กได้รับจำกกำรเรียนในโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 35. เพื่อสนองตอบความสามารถที่แตกต่างกันของบุคคล เพื่อนาพาเด็กและ เยาวชนไทยก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างไร้ขีดจากัด โรงเรียนวิถี พุทธเป็นหนึ่งในโรงเรียนรูปแบบใหม่ ที่จะช่วยผลักดันให้เด็กและเยาวชน ไทยสามารถพัฒนาตามศักยภาพ เป็นคนดี คนเก่งของสังคม และสามารถ ดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข กรอบแนวคิดรูปแบบโรงเรียนวิถีพุทธ คณะกรรมการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา (๒๕๔๖) ได้ให้ความหมาย ของโรงเรียนวิถีพุทธ คือ โรงเรียนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรม พระพุทธศาสนามาใช้หรือประยุกต์ใช้ในการบริหารและการพัฒนาผู้เรียน โดยรวมของสถานศึกษา เน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา อย่างบูรณา การ กำรดำเนินงำนโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 36. โรงเรียนวิถีพุทธดาเนินการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้หลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา อย่างบูรณาการ ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการพัฒนา “การกิน อยู่ ดู ฟัง เป็น” วิถีชีวิตที่ดีงามตามหลักไตรสิกขาทั้ง ๓ ด้าน 1.ศีล (พฤติกรรม) • มีกิริยามารยาท กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น • รู้จักพิจารณาเลือกเสพสิ่งบริโภค และสื่อต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ด้วยปัญญา • รู้จักความพอดี พอประมาณ ในการแสวงหา บริโภค สะสมสิ่งต่าง ๆ • ปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ภายนอกที่ถูกต้องเพื่อให้เกิดวินัยในตนเอง • ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่นโดยมีศีล๕ เป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิต • มีชีวิตที่สัมพันธ์ด้วยดีกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม รูปแบบโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 37. 2.จิตใจ (สมาธิ) • มีสมรรถภาวะที่ดี คือ มีสมาธิ มีความตั้งมั่น เข้มแข็ง มุ่งมั่นทาดี ด้วย จิตใจกล้าหาญ อดทน สู้สิ่งยาก ขยันหมั่นเพียร ไม่ย่อท้อสามารถฟันฝ่า อุปสรรคผ่านความยากลาบากไปได้พึ่งตนเองได้ • มีคุณภาวะ คือ มีความกตัญญูรู้คุณ มีจิตใจเมตตา กรุณาโอบอ้อมอารีมี น้าใจ ละอายชั่วกลัวบาป ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ กล้ารับผิด เกิดจิตที่เป็น บุญกุศลอย่างสม่าเสมอ • มีสุขภาวะที่ดี คือ มีความสุข ความร่าเริง เบิกบาน มองโลกในแง่ดี มี กาลังใจ เกิดแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ในการร่วมกิจกรรมงานต่าง ๆ
  • 38. 3.ปัญญา • มีศรัทธาเลื่อมใสและมีความเข้าใจในพระรัตนตรัย ในกฎแห่งกรรม และใน หลักบาปบุญคุณโทษ • มีทักษะและอุปนิสัยในการเรียนรู้ทีดี จูงใจ ใฝ่รู้ รู้จักการค้นคว้า การจด บันทึกให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การคิดวิเคราะห์ประมวลผล สามารถนาเสนอถ่ายทอดได้ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล • มีทักษะชีวิตเท่าทันต่อสิ่งเร้าภายนอก และกิเลสภายในตนสามารถแก้ปัญหา ชีวิตได้สามารถนาหลักธรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้มี ฐานชีวิตที่ดีมีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติธรรม เกิดปัญญาเข้าใจในสัจธรรมใน ชีวิต • ได้ตามวุฒิภาวะของตน สามารถต่อยอดพัฒนาไปสู่ปการปฏิบัติธรรมให้เกิด ความเจริญงอกงามในธรรมที่สูงยิ่งขึ้นไป
  • 39. เน้นการจัดสภาพทุก ๆ ด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตามหลัก พุทธธรรมอย่าง บูรณาการ โดยส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงามตาม ลักษณะแห่งปัญญาวุฒิธรรม 4 ประการ คือ 1) สัปปุริสสังเสวะ หมายถึงการอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้ มีครู อาจารย์ดี มีข้อมูล มีสื่อที่ดี 2) สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษาโดยมีหลักสูตร การเรียนการสอน ที่ดี 3) โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผลที่ ดีและถูกวิธี 4) ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตได้ ถูกต้องเหมาะสม ลักษณะโรงเรียนวิถีพุทธ
  • 40. 1. ด้านกายภาพ โรงเรียนได้จัดสภาพแวดล้อมห้องเรียนและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม ลักษณะการพัฒนา ศีล สมาธิ ปัญญา โดยมี พระพุทธรูป ที่เด่น เหมาะสม ที่ชวนให้ ระลึกถึงพระรัตนตรัยอยู่เสมอที่หอประชุม มีป้ายนิเทศ ต้นไม้คุณธรรม ที่เน้นให้ นักเรียนได้ศึกษาพุทธธรรม 2. ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีพุทธ โรงเรียนจัดกิจกรรมวิถีชีวิตประจาวัน ประจา สัปดาห์หรือในโอกาสต่างๆ ได้จัดกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระก่อนเข้า เรียนและก่อนเลิกเรียนประจาวัน เพื่อใกล้ชิดกับศาสนา - กิจกรรมการปฏิญาณตนเป็น พุทธมานกะ ซึ่งจัดขึ้นปีละครั้ง - กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระและอบรมจริยธรรมในวัน ศุกร์ของทุกสัปดาห์ – กิจกรรมการฝึกทาวิปัสสนากรรมฐานจะจัดขึ้นในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา - กิจกรรมการอบรมธรรมะจากพระภิกษุ – กิจกรรมวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วิธีกำรจัดบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ตำมแนวทำงโรงเรียนวิธีพุทธ
  • 41. 3. ด้านการเรียนการสอน สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรสถานศึกษา เน้นการเรียนการสอนที่บูรณาการพุทธธรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนผ่านกิจกรรม การเรียนการสอนอย่างชัดเจน ต่อเนื่องสม่าเสมอ 4. ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ สถานศึกษาส่งเสริมบรรยากาศใฝ่ เรียนรู้ มีกัลยาณมิตรเคารพอ่อนน้อม ยิ้มแย้มแจ่มใส การมีเมตตากรุณาต่อกัน โดยครูเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน 5. ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาแสวงหาความร่วมมือจากชุมชน โดยสร้างความเข้าใจวิธีการดาเนินการโรงเรียนวิถีพุทธ โดยจัดการศึกษาตาม สภาพความพร้อม คานึงภาพงดงามของโรงเรียนวิถีพุทธมาใช้พัฒนาผู้เรียน
  • 42. แหล่งอ้างอิง วารสารวิชาการปีที่ 7Z(ฉบับที่ 1).1 มกราคม – มีนาคม 2547.สานักงาน เลขาธิการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. จากเว็บไซต์ http://www.myfirstbrain.com/teacher view.aspx?ID=17635 จากเว็บไซต์ http://www.vitheebuddha.com/main.php?url=about&code=09