SlideShare a Scribd company logo
เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่
    ตามแนวพระราชดาริ


                              นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนว
               พระราชดาริ
เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของ
 ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่
  นาไปสู่ความสามารถ ในการพึ่งตนเอง
ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลด
   ความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของ
   ธรรมชาติ หรือการ เปลี่ยนแปลงจาก
 ปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ
และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
 มีความรู้ ความ เพียรและความอดทน สติ
               และปัญญา
  การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความ
                  สามัคคี
                            นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง
มีอยู่ 2 แบบ คือแบบพื้นฐาน กับแบบก้าวหน้า ได้ดั้งนี้
                      ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ทีมงแก้ปญหาของเกษตรกรทีอยู่
                                           ่ ุ่     ั                     ่
                      ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพึ่งน้าฝนและประสบความเสี่ยง
                      จากการ ที่น้าไม่พอเพียง แม้กระทั่งสาหรับการปลูกข้าว
                      เพื่อบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีที่ดินพอเพียงในการขุด
                      บ่อเพื่อแก้ปัญหา ในเรื่องดังกล่าวจากการแก้ปัญหาความ
                      เสี่ยงเรื่องน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมีข้าวเพื่อการ
                      บริโภคยังชีพในระดับหนึ่ง ได้ และใช้ที่ดินส่วนอื่น ๆ
                      สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายใน
                      ส่วนที่เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่า ใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ไม่
                      สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันใน
                      ตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว
                                                                       นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่
นับตั้งแต่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จขึ้น ครองสิริราชสมบัติ เมื่อ พุทธศักราช 2489
    เป็นต้นมา พระองค์ได้เสด็จแปรพระราชฐาน และเสด็จพระราชดาเนินไปเยี่ยมพสกนิกร
     โดยเฉพาะประชาชนในชนบทและท้องถิ่น ทุรกันดารทั่วราชอาณาจักรอย่างสม่าเสมอ
พระองค์ได้ทรงประสบกับความทุกข์ยากของพสกนิกรด้วยพระองค์เอง โดย เฉพาะพสกนิกร
 ที่เป็นเกษตรกร ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ คนเหล่านี้ล้วนแต่ประสบกับปัญหาในการ
ประกอบอาชีพ เนื่องจากอาชีพการเกษตรนั้นต้องพึ่งพาอาศัยปัจจัยต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็น
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ อันได้แก่ ดิน น้า ลมฟ้าอากาศ รวมทั้งศัตรูพืชและสัตว์ชนิดต่าง
ๆ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่มีสภาพเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากเมื่อก่อน ดินเคยอุดมสมบูรณ์ปลูกพืช
                        อะไรก็เจริญเติบโต สามารถเก็บเกี่ยวผลิตผลได้
                                                                         นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
แต่ปัจจุบันดินมีสภาพเสื่อมโทรมขาดแร่ ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของ
พืช โรคและแมลงศัตรูต่าง ๆ ก็ระบาดรุนแรงมากขึ้น ปลูกพืชอะไรถ้าหากไม่ ใส่ปุ๋ย
ไม่ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกาจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ก็จะไม่ได้เก็บเกี่ยวผลิตผล ไม่
เพียงแต่โรคและแมลงศัตรู พืชเท่านั้น ยังมีภัยพิบัติทางธรรมชาติอีกมากมายที่
ก่อให้เกิดปัญหาในการประกอบอาชีพของเกษตรกร เช่นฝนแล้ง น้า ท่วม พายุ
ลูกเห็บ เป็นต้น นอกจากนี้ การประกอบอาชีพทางการเกษตรนั้น ยังขึ้นอยู่กับ
สภาพแวดล้อมอื่นๆเช่น สภาวะ เศรษฐกิจและการตลาดเป็นสาคัญ ถ้าหากปีใด
เศรษฐกิจดี ตลาดมีความต้องการสูง ราคาผลิตผลทางการเกษตรก็จะดี ไปด้วย
เกษตรกรที่ประกอบอาชีพนี้ ก็จะขายผลิตผลได้ ในราคาสูง สามารถมีรายได้ เพียงพอ
ต่อการครองชีพ ภายใน ครอบครัว แต่ถ้าหากปีใดเศรษฐกิจตกต่า รายได้ไม่คุ้มกับ
ต้นทุนที่ลงไป ประสบกับภาวะขาดทุน บางรายถึงกับล้มละลาย ไปก็มีไม่น้อย


                                                                นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
ด้วยพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระองค์ทรงทราบและตระหนัก
ถึงความทุกข์ยาก ของพสกนิกรของพระองค์ จึงทรงพระราชดาริเพื่อแก้ปัญหาในการ
ประกอบอาชีพของเกษตรกรโดยเน้นที่เกษตรกรยาก จนในเขตน้าฝน ซึ่งมีอยู่กว่าร้อยละ
70 ของเกษตรกรทั้งประเทศ เกษตรกรเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยมีพื้น ที่ทา
การเกษตรประมาณ 5-15 ไร่ แนวทางในการแก้ปัญหาก็คือ การจัดการแหล่งน้าให้
พอเพียงต่อการปลูกพืชในช่วงที่ ไม่มีฝน เนื่องจากน้าเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการปลูก
พืช หากมีน้าเพียงพอ เกษตรกรก็สามารถปลูกพืชได้ทั้งปี มีงาน ทาและมีรายได้ตลอดทั้ง
ปี ไม่ต้องอพยพเคลื่อนย้ายไปทางานที่อื่น
ดังกระแสพระราชดารัสความว่า "หลักสาคัญต้องมี น้าบริโภค น้าใช้ น้าเพื่อการเพาะปลูก
เพราะว่ามีชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน้าคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้าคนอยู่ไม่ได้"
                                                                      นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
ประโยชน์และความสาคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ "เกษตรทฤษฎีใหม่"
เป็นแนวทางหนึ่งซึ่ง เป็นความหวังที่จะทาให้เกษตรกรไทย มีสภาพ
ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้น และจะทาให้ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศชาติ
โดยรวม มีความเข้มแข็งและมั่นคงตลอดไป เนื่องจากการ เกษตรทฤษฎี
ใหม่ เป็นการพัฒนาการประกอบอาชีพของเกษตรกรที่เป็นคนส่วนใหญ่
ของประเทศ เมื่อเกษตรกรมีอาหารไว้บริโภค มีงาน ทา มีรายได้เพียงพอ
ต่อการดารงชีพ และครอบครัวอยู่อย่างอบอุ่นและมีความสุขถ้า
ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมีสภาพ เช่นนี้แล้ว ก็จะทาให้
ประเทศชาติ มั่นคงทั้งระบบ ไม่ว่าจะเป็น ระบบเศรษฐกิจ สังคม และ
การเมือง เกษตรทฤษฎีใหม่ จึงมี ความสาคัญและจาเป็นต่อประเทศชาติ
ยิ่ง ความสาคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ สรุปได้ดังนี้


                                                            นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่สามารถลดและแก้ปัญหาภัยแล้งได้ เป็นที่ทราบกัน
โดยทั่วไปแล้วว่า พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ของประเทศไทย คือ กว่าร้อย
ละ 70 อยูนอกเขตชล ประทาน ซึงเป็นเขตการเกษตรทีอาศัยน้าฝนเพียง
          ่                     ่                 ่
อย่างเดียว หรือถ้าจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ประเทศไทยมีระบบ
ชลประทาน ทั้งประเทศประมาณ ร้อยละ 21 ของพื้นที่การเกษตรเท่านั้น
หลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ก็คือ การขุดสระน้าเพื่อกัก เก็บน้าในช่วง
ที่มีฝนตกสาหรับเก็บไว้ใช้ในการเกษตรยามขาดแคลน ซึ่งจะทาให้
เกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกรในเขตน้า ฝนของภาคเหนือ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้าไว้ใช้ในยามที่ขาดแคลน นับว่าเกษตรทฤษฎี
ใหม่นี้ สามารถแก้ปัญหา หรือลดปัญหาความแห้งแล้งที่เกษตรกร
ประสบอยู่โดยทั่วไปในปัจจุบันได้ในระดับหนึ่ง




                                                          นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้การใช้พื้นที่การเกษตรมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
จากหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มีการจัดสรรพื้นที่ปลูกพืชอย่าง
เหมาะสม เช่น แบ่งเป็นพื้นที่ปลูกข้าว และปลูก พืชชนิดอื่นๆ ได้แก่
พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก สมุนไพร และไม้ใช้สอย รวมทั้งมีการจัดแบ่ง
พื้นที่สาหรับเป็นที่อยู่อาศัย และใน บริเวณที่อยู่อาศัยนี้เอง สามารถใช้
เป็นที่ปลูกผักสวนครัว เพาะเห็ด และเลี้ยงสัตว์ไว้บริโภค การจัดสรร
พื้นที่แบบนี้จะทาให้ พื้นที่ทุกส่วนได้นามาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่
สามารถใช้พื้นที่ได้ตลอดทั้งปี ผิดกับเมื่อก่อนที่เกษตรกรส่วนใหญ่
มักจะปลูก พืชชนิดเดียว พื้นที่ก็ไม่ได้นามาใช้เต็มที่ มีการใช้เฉพาะที่
หรือบางฤดูกาลเท่านั้น


                                                                นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกษตรกรมีอาหารไว้บริโภคอย่างเพียงพอ การแบ่ง
พื้นที่ออกเป็นส่วนๆ อันได้แก่ ส่วนแรกประมาณร้อยละ 30 สาหรับขุด
สระน้า สามารถใช้เลี้ยงปลาไว้ บริโภค ในครัวเรือนได้ ส่วนที่ 2 ประมาณ
ร้อยละ 30 ใช้สาหรับปลูกข้าว จะทาให้ เกษตรกรมีข้าว ซึ่งเป็นอาหารหลัก
ไว้ บริโภค ภายใน ครัวเรือน อย่างเพียงพอ ตลอดทั้งปี ส่วนที่ 3 ประมาณ
ร้อยละ 30 ใช้สาหรับปลูกพืชชนิดอื่นๆ เช่น พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก ผลิตผล
จากพืชเหล่านี้ก็สามารถนามาบริโภคได้เช่นกัน นอกจากนี้ บริเวณที่เป็นที่
อยู่อาศัยก็สามารถใช้เป็น ที่เลี้ยงสัตว์ เพาะเห็ด สาหรับใช้เป็นอาหาร
บริโภคภายในครัวเรือน จึงถือได้ว่าเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ สามารถทาให้
เกษตรกรมี อาหารไว้บริโภคอย่างเพียงพอตลอดทั้งปี



                                                               นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นระบบ
    การเกษตรที่จัดให้มีแหล่งน้าสาหรับการเกษตร มีการจัดสรร พื้นที่ สาหรับ ปลูกพืชหลาย
    ชนิดอย่างเหมาะสม และหมุนเวียนปลูกพืชได้ตลอดทั้งปีเป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่
    อย่างคุ้มค่าและมีรายได้ หมุนเวียนตลอดทั้งปีโดยรวมแล้วจึงทาให้เกษตรกรมีรายได้
    เพิ่มขึ้นต่างจากเมื่อก่อนที่เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกพืชชนิด เดียวหรือมีเพียงครั้งเดียว
    ในหนึ่งปี จึงไม่เพียงพอต่อการดารงชีพ
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกษตรกรมีงานทาตลอดทั้งปี โดยปกติแล้วเกษตรกรที่อยู่นอกเขต
ชลประทานนั้น จะประกอบอาชีพหรือปลูกพืชเพียงปีละครั้ง มีช่วงระยะเวลา การทางานในแต่
ละปีประมาณ 3-4 เดือนเท่านั้น เวลาที่เหลือก็เป็นการว่างงานตามฤดูกาล บางรายก็ต้องเดินทาง
ไปทางานที่ อื่น แต่เมื่อเกษตรกรเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่แล้ว ทาให้มีงานทาตลอด
ทั้งปี ไม่ต้องไปหางานทาที่อื่น นับว่าเกษตร ทฤษฎีใหม่ช่วยแก้ปัญหาการว่างงานในท้องถิ่นที่
เป็นการว่างงานตามฤดูกาลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นการแก้ปัญหาการ เคลื่อนย้าย
แรงงานของประชากรในระดับชุมชนและระดับประเทศได้ เพราะถ้าหากเกษตรการมีงานทามี
รายได้ในท้องถิ่นของ ตนเองแล้ว ก็ไม่จาเป็นต้องเคลื่อนย้ายไปทางานที่อื่น
                                                                            นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้ปญหาสังคมลดลง จากที่กล่าวมา นับว่าเกษตร
                        ั
ทฤษฎีใหม่สามารถทาให้เกษตรมีอาหารไว้บริโภค มีงานทา มีรายได้
เพียงพอต่อการ ดารงชีพ เกษตรกรก็ไม่ต้องไปทางานใน
ภาคอุตสาหกรรมหรือบริการตามเมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ๆ ของ
ประเทศ เพราะการ ที่เกษตรกรต้องอพยพไปอาศัยอยู่ตามเมืองหลวง
หรือเมืองใหญ่นั้นก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องที่อยู่อาศัยและชุมชนแออัด
นอก จากนี้ ยังเกิดปัญหาในด้านครอบครัวของเกษตรกรเอง เพราะเมื่อ
เกษตรกรออกไปทางานที่อื่น ทาให้ครอบครัวขาดความอบ อุ่น สภาพ
เช่นนี้ทาให้เกิดปัญหาครอบครัวตามมามากมาย เช่น บุตรหลานไม่ได้
รับการอบรมเลี้ยงดูจากบิดามารดา ขาดการ ศึกษา ติดยาเสพติด ซึ่งล้วน
แต่จะก่อให้เกิดปัญหาต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติ แต่เมื่อ
เกษตรกรทาการเกษตรทฤษ ฎีใหม่ จะทาให้เกษตรกรมีงานทาอยู่กับ
บ้าน มีเวลาอบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน ปัญหาต่างๆ เหล่านี้จะลดน้อยลง

                                                                นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่สามารถลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศได้ ลักษณะของเกษตรทฤษฎีใหม่
 นั้นจะเน้นการใช้แรงงานภายในครอบครัว ถ้าเกษตรกรมีสมาชิกภายในครอบครัว 5-6 คน ก็
 จะสามารถมีแรงงานเพียงพอสาหรับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ในพื้นที่ประมาณ 15 ไร่ได้ การ
ดาเนินงานก็ไม่จาเป็น ต้องพึ่งเครื่องจักรและอุปกรณ์จากภายนอกหรือจากต่างประเทศมากนัก
  อีกประการหนึ่งแนวทางของเกษตรทฤษฎีใหม่มักจะ เน้นการใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญา
  ท้องถิ่น เช่น การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ในการปลูกพืช และการใช้สารสกัดจากธรรมชาติ หรือ
                         สมุนไพร ในการป้องกันและกาจัดแมลงศัตรูพืช

                                                                  นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศมั่นคงยิ่งขึ้น ดังคาที่
กล่าวกันมาตั้งแต่อดีตว่า "ชาวนา คือ กระดูกสันหลังของชาติ" เกษตร
ทฤษฎีใหม่จะทาให้เกษตรกรซึ่งเป็น กระดูกสันหลังของชาติมีความ
มั่นคง เนื่องจากมีงานทา มีอาหารบริโภค มีรายได้เพียงพอต่อการดารง
ชีพ จึงทาให้เกษตรกรมี กาลังในการจับจ่ายใช้สอยตามอัตภาพ ดังนั้น
เมื่อเกษตรกร ซึ่งเป็นฐานของประเทศมีความมั่นคง ก็จะทาให้
ประเทศชาติมั่นคง ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศส่วนรวมก็จะมั่นคง
ตามมาด้วย และถ้าหากเกษตรกรไทยปฏิบัติ หรือทาเกษตรทฤษฎีใหม่
และยึด หลักการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นเวลานานแล้วประเทศชาติก็คงไม่
ต้อง ประสบภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจเช่นในปัจจุบัน

                                                                  นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เกษตรทฤษฎีใหม่ตาม
แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นทฤษฎีที่
สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่าง เป็นรูปธรรม เมื่อนาทฤษฎีนี้ไปปฏิบัติอย่าง
จริงจัง รวมทั้งยึดหลักการพัฒนาประเทศตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง
เคร่งครัด ก็จะเป็นที่มั่นใจได้ว่าประชากรจะมีแต่ความสมบูรณ์พูนสุข ไม่
มีปัญหาการว่างงานและขาดแคลนอาหารบริโภค ปัญหาต่าง ๆ ของ
สังคม ก็จะลดน้อยลง ประเทศชาติก็จะมั่นคงแข็งแรง ลดการพึ่งพาจาก
ภายนอกหรือต่างประเทศ ดังนั้น การพัฒนาการประกอบ อาชีพ
การเกษตรตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นี้
จะเป็นการพัฒนาประเทศชาติอย่างยั่งยืนตลอดไป


                                                            นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
Nontaporn Pilawut
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 

Viewers also liked

โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่Intrapan Suwan
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
Kawow
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงthekop2528
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
Suttipong Pratumvee
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริjeabjeabloei
 
เรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราเรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราพัน พัน
 
Community enterprise 4
Community enterprise 4Community enterprise 4
Community enterprise 4
sutiphong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนิเวช แสงคำ
 
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

Viewers also liked (20)

โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอสถานศึกษาพอเพียง รร.บ้านห้วยกาน
งานนำเสนอสถานศึกษาพอเพียง รร.บ้านห้วยกานงานนำเสนอสถานศึกษาพอเพียง รร.บ้านห้วยกาน
งานนำเสนอสถานศึกษาพอเพียง รร.บ้านห้วยกาน
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
เศรษฐี อช
เศรษฐี อชเศรษฐี อช
เศรษฐี อช
 
เรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราเรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเรา
 
Community enterprise 4
Community enterprise 4Community enterprise 4
Community enterprise 4
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
 

Similar to เกษตรทฤษฎีใหม่

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่kima203
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่Budsayarangsri Hasuttijai
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
narudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
freelance
 

Similar to เกษตรทฤษฎีใหม่ (20)

กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 

เกษตรทฤษฎีใหม่

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาริ นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 2. เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนว พระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่ นาไปสู่ความสามารถ ในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลด ความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของ ธรรมชาติ หรือการ เปลี่ยนแปลงจาก ปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความ เพียรและความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความ สามัคคี นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 3. ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง มีอยู่ 2 แบบ คือแบบพื้นฐาน กับแบบก้าวหน้า ได้ดั้งนี้ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ทีมงแก้ปญหาของเกษตรกรทีอยู่ ่ ุ่ ั ่ ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพึ่งน้าฝนและประสบความเสี่ยง จากการ ที่น้าไม่พอเพียง แม้กระทั่งสาหรับการปลูกข้าว เพื่อบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีที่ดินพอเพียงในการขุด บ่อเพื่อแก้ปัญหา ในเรื่องดังกล่าวจากการแก้ปัญหาความ เสี่ยงเรื่องน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมีข้าวเพื่อการ บริโภคยังชีพในระดับหนึ่ง ได้ และใช้ที่ดินส่วนอื่น ๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายใน ส่วนที่เหลือเพื่อมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่า ใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ไม่ สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันใน ตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 4. แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ นับตั้งแต่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จขึ้น ครองสิริราชสมบัติ เมื่อ พุทธศักราช 2489 เป็นต้นมา พระองค์ได้เสด็จแปรพระราชฐาน และเสด็จพระราชดาเนินไปเยี่ยมพสกนิกร โดยเฉพาะประชาชนในชนบทและท้องถิ่น ทุรกันดารทั่วราชอาณาจักรอย่างสม่าเสมอ พระองค์ได้ทรงประสบกับความทุกข์ยากของพสกนิกรด้วยพระองค์เอง โดย เฉพาะพสกนิกร ที่เป็นเกษตรกร ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ คนเหล่านี้ล้วนแต่ประสบกับปัญหาในการ ประกอบอาชีพ เนื่องจากอาชีพการเกษตรนั้นต้องพึ่งพาอาศัยปัจจัยต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็น สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ อันได้แก่ ดิน น้า ลมฟ้าอากาศ รวมทั้งศัตรูพืชและสัตว์ชนิดต่าง ๆ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่มีสภาพเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากเมื่อก่อน ดินเคยอุดมสมบูรณ์ปลูกพืช อะไรก็เจริญเติบโต สามารถเก็บเกี่ยวผลิตผลได้ นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 5. แต่ปัจจุบันดินมีสภาพเสื่อมโทรมขาดแร่ ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของ พืช โรคและแมลงศัตรูต่าง ๆ ก็ระบาดรุนแรงมากขึ้น ปลูกพืชอะไรถ้าหากไม่ ใส่ปุ๋ย ไม่ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกาจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ก็จะไม่ได้เก็บเกี่ยวผลิตผล ไม่ เพียงแต่โรคและแมลงศัตรู พืชเท่านั้น ยังมีภัยพิบัติทางธรรมชาติอีกมากมายที่ ก่อให้เกิดปัญหาในการประกอบอาชีพของเกษตรกร เช่นฝนแล้ง น้า ท่วม พายุ ลูกเห็บ เป็นต้น นอกจากนี้ การประกอบอาชีพทางการเกษตรนั้น ยังขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมอื่นๆเช่น สภาวะ เศรษฐกิจและการตลาดเป็นสาคัญ ถ้าหากปีใด เศรษฐกิจดี ตลาดมีความต้องการสูง ราคาผลิตผลทางการเกษตรก็จะดี ไปด้วย เกษตรกรที่ประกอบอาชีพนี้ ก็จะขายผลิตผลได้ ในราคาสูง สามารถมีรายได้ เพียงพอ ต่อการครองชีพ ภายใน ครอบครัว แต่ถ้าหากปีใดเศรษฐกิจตกต่า รายได้ไม่คุ้มกับ ต้นทุนที่ลงไป ประสบกับภาวะขาดทุน บางรายถึงกับล้มละลาย ไปก็มีไม่น้อย นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 6. ด้วยพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระองค์ทรงทราบและตระหนัก ถึงความทุกข์ยาก ของพสกนิกรของพระองค์ จึงทรงพระราชดาริเพื่อแก้ปัญหาในการ ประกอบอาชีพของเกษตรกรโดยเน้นที่เกษตรกรยาก จนในเขตน้าฝน ซึ่งมีอยู่กว่าร้อยละ 70 ของเกษตรกรทั้งประเทศ เกษตรกรเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยมีพื้น ที่ทา การเกษตรประมาณ 5-15 ไร่ แนวทางในการแก้ปัญหาก็คือ การจัดการแหล่งน้าให้ พอเพียงต่อการปลูกพืชในช่วงที่ ไม่มีฝน เนื่องจากน้าเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการปลูก พืช หากมีน้าเพียงพอ เกษตรกรก็สามารถปลูกพืชได้ทั้งปี มีงาน ทาและมีรายได้ตลอดทั้ง ปี ไม่ต้องอพยพเคลื่อนย้ายไปทางานที่อื่น ดังกระแสพระราชดารัสความว่า "หลักสาคัญต้องมี น้าบริโภค น้าใช้ น้าเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่ามีชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน้าคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้าคนอยู่ไม่ได้" นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 7. ประโยชน์และความสาคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ "เกษตรทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหนึ่งซึ่ง เป็นความหวังที่จะทาให้เกษตรกรไทย มีสภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้น และจะทาให้ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศชาติ โดยรวม มีความเข้มแข็งและมั่นคงตลอดไป เนื่องจากการ เกษตรทฤษฎี ใหม่ เป็นการพัฒนาการประกอบอาชีพของเกษตรกรที่เป็นคนส่วนใหญ่ ของประเทศ เมื่อเกษตรกรมีอาหารไว้บริโภค มีงาน ทา มีรายได้เพียงพอ ต่อการดารงชีพ และครอบครัวอยู่อย่างอบอุ่นและมีความสุขถ้า ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมีสภาพ เช่นนี้แล้ว ก็จะทาให้ ประเทศชาติ มั่นคงทั้งระบบ ไม่ว่าจะเป็น ระบบเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง เกษตรทฤษฎีใหม่ จึงมี ความสาคัญและจาเป็นต่อประเทศชาติ ยิ่ง ความสาคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ สรุปได้ดังนี้ นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 8. เกษตรทฤษฎีใหม่สามารถลดและแก้ปัญหาภัยแล้งได้ เป็นที่ทราบกัน โดยทั่วไปแล้วว่า พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ของประเทศไทย คือ กว่าร้อย ละ 70 อยูนอกเขตชล ประทาน ซึงเป็นเขตการเกษตรทีอาศัยน้าฝนเพียง ่ ่ ่ อย่างเดียว หรือถ้าจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ประเทศไทยมีระบบ ชลประทาน ทั้งประเทศประมาณ ร้อยละ 21 ของพื้นที่การเกษตรเท่านั้น หลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ก็คือ การขุดสระน้าเพื่อกัก เก็บน้าในช่วง ที่มีฝนตกสาหรับเก็บไว้ใช้ในการเกษตรยามขาดแคลน ซึ่งจะทาให้ เกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกรในเขตน้า ฝนของภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้าไว้ใช้ในยามที่ขาดแคลน นับว่าเกษตรทฤษฎี ใหม่นี้ สามารถแก้ปัญหา หรือลดปัญหาความแห้งแล้งที่เกษตรกร ประสบอยู่โดยทั่วไปในปัจจุบันได้ในระดับหนึ่ง นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 9. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้การใช้พื้นที่การเกษตรมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มีการจัดสรรพื้นที่ปลูกพืชอย่าง เหมาะสม เช่น แบ่งเป็นพื้นที่ปลูกข้าว และปลูก พืชชนิดอื่นๆ ได้แก่ พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก สมุนไพร และไม้ใช้สอย รวมทั้งมีการจัดแบ่ง พื้นที่สาหรับเป็นที่อยู่อาศัย และใน บริเวณที่อยู่อาศัยนี้เอง สามารถใช้ เป็นที่ปลูกผักสวนครัว เพาะเห็ด และเลี้ยงสัตว์ไว้บริโภค การจัดสรร พื้นที่แบบนี้จะทาให้ พื้นที่ทุกส่วนได้นามาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ สามารถใช้พื้นที่ได้ตลอดทั้งปี ผิดกับเมื่อก่อนที่เกษตรกรส่วนใหญ่ มักจะปลูก พืชชนิดเดียว พื้นที่ก็ไม่ได้นามาใช้เต็มที่ มีการใช้เฉพาะที่ หรือบางฤดูกาลเท่านั้น นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 10. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกษตรกรมีอาหารไว้บริโภคอย่างเพียงพอ การแบ่ง พื้นที่ออกเป็นส่วนๆ อันได้แก่ ส่วนแรกประมาณร้อยละ 30 สาหรับขุด สระน้า สามารถใช้เลี้ยงปลาไว้ บริโภค ในครัวเรือนได้ ส่วนที่ 2 ประมาณ ร้อยละ 30 ใช้สาหรับปลูกข้าว จะทาให้ เกษตรกรมีข้าว ซึ่งเป็นอาหารหลัก ไว้ บริโภค ภายใน ครัวเรือน อย่างเพียงพอ ตลอดทั้งปี ส่วนที่ 3 ประมาณ ร้อยละ 30 ใช้สาหรับปลูกพืชชนิดอื่นๆ เช่น พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก ผลิตผล จากพืชเหล่านี้ก็สามารถนามาบริโภคได้เช่นกัน นอกจากนี้ บริเวณที่เป็นที่ อยู่อาศัยก็สามารถใช้เป็น ที่เลี้ยงสัตว์ เพาะเห็ด สาหรับใช้เป็นอาหาร บริโภคภายในครัวเรือน จึงถือได้ว่าเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ สามารถทาให้ เกษตรกรมี อาหารไว้บริโภคอย่างเพียงพอตลอดทั้งปี นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 11. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นระบบ การเกษตรที่จัดให้มีแหล่งน้าสาหรับการเกษตร มีการจัดสรร พื้นที่ สาหรับ ปลูกพืชหลาย ชนิดอย่างเหมาะสม และหมุนเวียนปลูกพืชได้ตลอดทั้งปีเป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ อย่างคุ้มค่าและมีรายได้ หมุนเวียนตลอดทั้งปีโดยรวมแล้วจึงทาให้เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้นต่างจากเมื่อก่อนที่เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกพืชชนิด เดียวหรือมีเพียงครั้งเดียว ในหนึ่งปี จึงไม่เพียงพอต่อการดารงชีพ เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกษตรกรมีงานทาตลอดทั้งปี โดยปกติแล้วเกษตรกรที่อยู่นอกเขต ชลประทานนั้น จะประกอบอาชีพหรือปลูกพืชเพียงปีละครั้ง มีช่วงระยะเวลา การทางานในแต่ ละปีประมาณ 3-4 เดือนเท่านั้น เวลาที่เหลือก็เป็นการว่างงานตามฤดูกาล บางรายก็ต้องเดินทาง ไปทางานที่ อื่น แต่เมื่อเกษตรกรเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่แล้ว ทาให้มีงานทาตลอด ทั้งปี ไม่ต้องไปหางานทาที่อื่น นับว่าเกษตร ทฤษฎีใหม่ช่วยแก้ปัญหาการว่างงานในท้องถิ่นที่ เป็นการว่างงานตามฤดูกาลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นการแก้ปัญหาการ เคลื่อนย้าย แรงงานของประชากรในระดับชุมชนและระดับประเทศได้ เพราะถ้าหากเกษตรการมีงานทามี รายได้ในท้องถิ่นของ ตนเองแล้ว ก็ไม่จาเป็นต้องเคลื่อนย้ายไปทางานที่อื่น นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 12. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้ปญหาสังคมลดลง จากที่กล่าวมา นับว่าเกษตร ั ทฤษฎีใหม่สามารถทาให้เกษตรมีอาหารไว้บริโภค มีงานทา มีรายได้ เพียงพอต่อการ ดารงชีพ เกษตรกรก็ไม่ต้องไปทางานใน ภาคอุตสาหกรรมหรือบริการตามเมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ๆ ของ ประเทศ เพราะการ ที่เกษตรกรต้องอพยพไปอาศัยอยู่ตามเมืองหลวง หรือเมืองใหญ่นั้นก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องที่อยู่อาศัยและชุมชนแออัด นอก จากนี้ ยังเกิดปัญหาในด้านครอบครัวของเกษตรกรเอง เพราะเมื่อ เกษตรกรออกไปทางานที่อื่น ทาให้ครอบครัวขาดความอบ อุ่น สภาพ เช่นนี้ทาให้เกิดปัญหาครอบครัวตามมามากมาย เช่น บุตรหลานไม่ได้ รับการอบรมเลี้ยงดูจากบิดามารดา ขาดการ ศึกษา ติดยาเสพติด ซึ่งล้วน แต่จะก่อให้เกิดปัญหาต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติ แต่เมื่อ เกษตรกรทาการเกษตรทฤษ ฎีใหม่ จะทาให้เกษตรกรมีงานทาอยู่กับ บ้าน มีเวลาอบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน ปัญหาต่างๆ เหล่านี้จะลดน้อยลง นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 13. เกษตรทฤษฎีใหม่สามารถลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศได้ ลักษณะของเกษตรทฤษฎีใหม่ นั้นจะเน้นการใช้แรงงานภายในครอบครัว ถ้าเกษตรกรมีสมาชิกภายในครอบครัว 5-6 คน ก็ จะสามารถมีแรงงานเพียงพอสาหรับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ในพื้นที่ประมาณ 15 ไร่ได้ การ ดาเนินงานก็ไม่จาเป็น ต้องพึ่งเครื่องจักรและอุปกรณ์จากภายนอกหรือจากต่างประเทศมากนัก อีกประการหนึ่งแนวทางของเกษตรทฤษฎีใหม่มักจะ เน้นการใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญา ท้องถิ่น เช่น การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ในการปลูกพืช และการใช้สารสกัดจากธรรมชาติ หรือ สมุนไพร ในการป้องกันและกาจัดแมลงศัตรูพืช นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 14. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศมั่นคงยิ่งขึ้น ดังคาที่ กล่าวกันมาตั้งแต่อดีตว่า "ชาวนา คือ กระดูกสันหลังของชาติ" เกษตร ทฤษฎีใหม่จะทาให้เกษตรกรซึ่งเป็น กระดูกสันหลังของชาติมีความ มั่นคง เนื่องจากมีงานทา มีอาหารบริโภค มีรายได้เพียงพอต่อการดารง ชีพ จึงทาให้เกษตรกรมี กาลังในการจับจ่ายใช้สอยตามอัตภาพ ดังนั้น เมื่อเกษตรกร ซึ่งเป็นฐานของประเทศมีความมั่นคง ก็จะทาให้ ประเทศชาติมั่นคง ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศส่วนรวมก็จะมั่นคง ตามมาด้วย และถ้าหากเกษตรกรไทยปฏิบัติ หรือทาเกษตรทฤษฎีใหม่ และยึด หลักการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นเวลานานแล้วประเทศชาติก็คงไม่ ต้อง ประสบภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจเช่นในปัจจุบัน นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42
  • 15. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เกษตรทฤษฎีใหม่ตาม แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นทฤษฎีที่ สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่าง เป็นรูปธรรม เมื่อนาทฤษฎีนี้ไปปฏิบัติอย่าง จริงจัง รวมทั้งยึดหลักการพัฒนาประเทศตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง เคร่งครัด ก็จะเป็นที่มั่นใจได้ว่าประชากรจะมีแต่ความสมบูรณ์พูนสุข ไม่ มีปัญหาการว่างงานและขาดแคลนอาหารบริโภค ปัญหาต่าง ๆ ของ สังคม ก็จะลดน้อยลง ประเทศชาติก็จะมั่นคงแข็งแรง ลดการพึ่งพาจาก ภายนอกหรือต่างประเทศ ดังนั้น การพัฒนาการประกอบ อาชีพ การเกษตรตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นี้ จะเป็นการพัฒนาประเทศชาติอย่างยั่งยืนตลอดไป นางสาวเจนจิรา ทรงทอง ม.4/8 เลขที่ 42