SlideShare a Scribd company logo
่ ั
      พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงได้พระราชทานพระราชดาริ
  เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลาบากดังกล่าว
  ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ า ได้
    โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบากนัก พระราชดาริ น้ ี ทรงเรี ยกว่า
"ทฤษฎีใหม่" เป็ นแนวทางหรื อหลักการในการบริ หารการจัดการที่ดิน
   และน้ า เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
                    นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
ทฤษฎีใหม่ ทาไมใหม่ ?


• ๑. มีการบริหารและจัดแบ่ งทีดินแปลงเล็ก ออกเป็ นสั ดส่ วนที่ชัดเจนเพือ
                             ่                                        ่
  ประโยชน์ สูงสุ ดของเกษตรกร ซึ่งไม่ เคยมีใครคิดมาก่อน
• ๒. มีการคานวณโดยหลักวิชาการ เกียวกับปริมาณนาทีจะกักเก็บให้ พอเพียง
                                   ่              ้ ่
  ต่ อการเพาะปลูกได้ ตลอดปี
• ๓. มีการวางแผนทีสมบูรณ์ แบบ สาหรับเกษตรกรรายย่ อย โดยมีถึง ๓
                    ่
  ขั้นตอน



                         นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
ทฤษฎีใหม่ ข้ันต้ น

                      ่
การจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยและที่ทากิน
ให้แบ่งพื้นที่ ออกเป็ น ๔ ส่ วน ตามอัตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง
• - พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขดสระเก็บกักน้ า เพื่อใช้เก็บกักน้ าฝนในฤดูฝน และ
                                            ุ
    ใช้เสริ มการ
    ปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ าต่างๆ
• - พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน
    สาหรับครอบครัวให้
    เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
• - พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร
                                                          ื
    ฯลฯ เพื่อใช้เป็ น
    อาหารประจาวัน หากเหลือบริ โภคก็นาไปจาหน่าย
• - พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว์และโรงเรื อนอื่นๆ
                                              ่

                                นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
หลักการและแนวทางสาคัญ

• ๑. เป็ นระบบการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่
  ประหยัดก่อน ทั้งนี้ชุมชน
  ต้องมีความสามัคคี ร่ วมมือร่ วมใจในการช่วยเหลือซึ่ งกันและกันทานองเดียวกับ
  การ "ลงแขก" แบบดั้งเดิม
  เพื่อลดค่าใช้จ่าย
• ๒. เนื่องจากข้าวเป็ นปั จจัยหลักที่ทุกครัวเรื อนจะต้องบริ โภค ดังนั้นจึงประมาณว่า
  ครอบครัวหนึ่งทานา ๕
  ไร่ จะทาให้มีขาวพอกินตลอดปี โดยไม่ตองซื้ อหาในราคาแพง เพื่อยึดหลัก
                  ้                          ้
  พึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ



                                นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
• ๓. ต้ องมีน ้าเพื่อการเพาะปลูกสารองไว้ ใช้ ในฤดูแล้ ง หรื อระยะฝนทิ ้งช่วงได้ อย่าง
  พอเพียง ดังนัน จึง
                  ้
  จาเป็ นต้ องกันที่ดินส่วนหนึงไว้ ขดสระน ้าโดยมีหลักว่าต้ องมีน ้าเพียงพอที่จะทาการ
                              ่ ุ
  เพาะปลูกได้ ตลอดปี
  ทังนี ้ได้ พระราชทานพระราชดาริเป็ นแนวทางว่า ต้ องมีน ้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร
    ้
  ต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่
  ฉะนัน เมื่อทานา ๕ ไร่ ทาพืชไร่หรื อไม้ ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็ น ๑๐ ไร่) จะต้ องมีน ้า
          ้
  ๑๐,๐๐๐
  ลูกบาศก์เมตรต่อปี ดังนัน หากมีพื ้นที่ ๑๕ ไร่ จึงมีสตรคร่าวๆ ว่า แต่ละแปลง
                            ้                          ู
  ประกอบด้ วย
  - นา ๕ ไร่ + พืชไร่ พืชสวน ๕ ไร่ + สระน้า ๓ ไร่ ลึก ๔ เมตร จุประมาณ
  ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์ เมตร ซึ่ งเป็ นปริ มาณน้าที เ่ พียงพอที จะสารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง
                                                            ่
  + ที อยู่อาศัยและอื น ๆ ๒ ไร่ รวมทังหมด ๑๕ ไร่
       ่               ่                ้

                               นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
• ๔. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดนี้ พระบาทสมเด็จพระ
           ่ ั
    เจ้าอยูหวทรงคานวณและคานึ ง
    จากอัตราถือครองที่ดินถัวเฉลี่ยครัวเรื อนละ ๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรมี
    พื้นที่ถือครองน้อยกว่า
    หรื อมากกว่านี้ ก็สามารถใช้อตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ไปเป็ นเกณฑ์ปรับใช้ได้
                                  ั
    กล่าวคือ
- ๓๐% ส่ วนแรก ขุดสระน้ า (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ า เช่น ผักบุง ผักกะเฉด ฯลฯ
                                                                  ้
ได้ดวย)
     ้
- ๓๐% ส่ วนที่สอง ทานา
- ๓๐% ส่ วนที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยนต้น ไม้ใช้สอย ไม้สร้างบ้าน พืช
                                                  ื
ไร่ พืชผัก
สมุนไพร เป็ นต้น)
                          ่
- ๑๐% สุ ดท้าย เป็ นที่อยูอาศัยและอื่นๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ ยหมัก
โรงเรื อน
โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัวหลังบ้าน เป็ นต้น)

                              นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
ทฤษฎีใหม่ ขั้นทีสอง
                                                 ่

• เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ตองเริ่ มขั้น
                                             ั                               ้
  ที่สอง คือ ให้
  เกษตรกรรวมพลังกันในรู ป กลุ่ม หรื อ สหกรณ์ ร่ วมแรง ร่ วมใจกันดาเนินการในด้าน
• ๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
  - เกษตรกรจะต้องร่ วมมือในการผลิตโดยเริ่ มตั้งแต่ ขั้นเตรี ยมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ ย
  การหาน้ าและอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก
• ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุง เครื่ องสี ขาว การจาหน่ายผลผลิต)
                                ้         ้
  - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรี ยมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุ ด
  เช่น การเตรี ยม
  ลานตากข้าวร่ วมกัน การจัดหายุงรวบรวมข้าว เตรี ยมหาเครื่ องสี ขาว ตลอดจนการ
                                   ้                              ้
  รวมกันขายผลผลิต ให้ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
                                 นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
• ๓. ความเป็ นอยู่ (กะปิ น้ าปลา อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ฯลฯ)
                                                ่
  - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยูที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานใน
  การดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ ที่พอเพียง
• ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู)้
  - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริ การที่จาเป็ น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่ วย
  ไข้ หรื อมีกองทุนไว้
    ้ื
  กูยมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน
• ๕. การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา)
  - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่ งเสริ มการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่า
  เรี ยนให้แก่เยาวชนของ
  ชุมชนเอง


                              นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
• ๖. สังคมและศาสนา
  - ชุมชนควรเป็ นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็ นที่
  ยึดเหนี่ยว




                         นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
ทฤษฎีใหม่ ขั้นทีสาม
                                              ่

• เมื่อดาเนินการผ่านพ้ นขันที่สองแล้ ว เกษตรกรหรื อกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนา
                           ้                         ่
  ก้ าวหน้ าไปสูขนที่สามต่อไป
                   ่ ั้
  คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรื อแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรื อบริษัท ห้ าง
  ร้ านเอกชน มาช่วยใน
  การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต
• ทังนี ้ ทังฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคารกับบริษัท จะได้ รับประโยชน์ร่วมกัน
      ้ ้
  กล่าวคือ
  - เกษตรกรขายข้ าวได้ ในราคาสูง (ไม่ถกกดราคา)
                                         ู
  - ธนาคารกับบริษัทสามารถซื ้อข้ าวบริโภคในราคาต่า (ซื ้อข้ าวเปลือกตรงจาก
  เกษตรกรและมาสีเอง)


                              นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
ประโยชน์ ของทฤษฎีใหม่

• จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวที่ได้พระราชทาน
                                                  ่ ั
  ในโอกาสต่างๆ นั้น พอจะสรุ ปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ได้ ดังนี้
• ๑. ให้ประชาชนพออยูพอกินสมควรแก่อตภาพในระดับที่ประหยัด
                        ่                  ั
  ไม่อดอยาก และเลี้ยงตนเองได้
• ๒. ในหน้าแล้งมีน้ าน้อยก็สามารถเอาน้ าที่เก็บไว้ในสระ มาปลูกพืช
• ผักต่างๆ ได้ แม้แต่ขาวก็ยงปลูกได้ โดยไม่ตองเบียดเบียนชลประทาน
                      ้ ั                     ้
• ๓. ในปี ที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้ าดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่น้ ีกสามารถสร้างรายได้
                                                             ็
  ให้ร่ ารวยขึ้นได้
• ๔. ในกรณี ที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้ นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ ง โดย
  ทางราชการไม่ตองช่วย
                    ้
  เหลือมากเกินไป อันเป็ นการประหยัดงบประมาณด้วย

                               นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNunteeka Nunun
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชchunkidtid
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
lukhamhan school
 
Prapipun
PrapipunPrapipun

What's hot (14)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
002
002002
002
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
Prapipun
PrapipunPrapipun
Prapipun
 

Viewers also liked

the end 3
the end 3the end 3
the end 3
stlukeslutheran
 
SD Rebrand proposal
SD Rebrand proposalSD Rebrand proposal
SD Rebrand proposal
David Mack
 
Inno room process
Inno room processInno room process
Inno room process
Melissa Bergado Edfeldt
 
Copyof businessprojectguidemaikarianaana
Copyof businessprojectguidemaikarianaanaCopyof businessprojectguidemaikarianaana
Copyof businessprojectguidemaikarianaana
maik9614
 
Volunteering in Wales Fund 2013/14
Volunteering in Wales Fund 2013/14Volunteering in Wales Fund 2013/14
Volunteering in Wales Fund 2013/14
Rhys Meredith
 
The Other Face Of Automation
The Other Face Of AutomationThe Other Face Of Automation
The Other Face Of Automation
GSAutomationSpA
 
the end 2
the end 2the end 2
the end 2
stlukeslutheran
 
The joke
The jokeThe joke
The joke
maik9614
 
the end 1
the end 1the end 1
the end 1
stlukeslutheran
 
The story of one cell
The story of one cellThe story of one cell
The story of one cell
Iraida Bashlak
 
Roma presentació
Roma presentacióRoma presentació
Roma presentacióarogerbvm
 
Hoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính t
Hoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính tHoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính t
Hoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính tMinnie Linh
 
Indexing delight --thinking cap of fractal-tree indexes
Indexing delight --thinking cap of fractal-tree indexesIndexing delight --thinking cap of fractal-tree indexes
Indexing delight --thinking cap of fractal-tree indexes
Bohu TANG
 
高性能存储引擎TokuDB剖析
高性能存储引擎TokuDB剖析高性能存储引擎TokuDB剖析
高性能存储引擎TokuDB剖析
Bohu TANG
 
Abc ho
Abc hoAbc ho
Abc ho
jamalray
 
Projects 2012 22 11-12
Projects 2012 22 11-12Projects 2012 22 11-12
Projects 2012 22 11-12
naaperusrinu
 
Spelling numbers kindergarten count & cardinality
Spelling numbers  kindergarten count & cardinalitySpelling numbers  kindergarten count & cardinality
Spelling numbers kindergarten count & cardinality
BabsShipley
 

Viewers also liked (17)

the end 3
the end 3the end 3
the end 3
 
SD Rebrand proposal
SD Rebrand proposalSD Rebrand proposal
SD Rebrand proposal
 
Inno room process
Inno room processInno room process
Inno room process
 
Copyof businessprojectguidemaikarianaana
Copyof businessprojectguidemaikarianaanaCopyof businessprojectguidemaikarianaana
Copyof businessprojectguidemaikarianaana
 
Volunteering in Wales Fund 2013/14
Volunteering in Wales Fund 2013/14Volunteering in Wales Fund 2013/14
Volunteering in Wales Fund 2013/14
 
The Other Face Of Automation
The Other Face Of AutomationThe Other Face Of Automation
The Other Face Of Automation
 
the end 2
the end 2the end 2
the end 2
 
The joke
The jokeThe joke
The joke
 
the end 1
the end 1the end 1
the end 1
 
The story of one cell
The story of one cellThe story of one cell
The story of one cell
 
Roma presentació
Roma presentacióRoma presentació
Roma presentació
 
Hoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính t
Hoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính tHoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính t
Hoàn thiện kiểm toán chu trình hàng tồn kho trong kiểm toán báo cáo tài chính t
 
Indexing delight --thinking cap of fractal-tree indexes
Indexing delight --thinking cap of fractal-tree indexesIndexing delight --thinking cap of fractal-tree indexes
Indexing delight --thinking cap of fractal-tree indexes
 
高性能存储引擎TokuDB剖析
高性能存储引擎TokuDB剖析高性能存储引擎TokuDB剖析
高性能存储引擎TokuDB剖析
 
Abc ho
Abc hoAbc ho
Abc ho
 
Projects 2012 22 11-12
Projects 2012 22 11-12Projects 2012 22 11-12
Projects 2012 22 11-12
 
Spelling numbers kindergarten count & cardinality
Spelling numbers  kindergarten count & cardinalitySpelling numbers  kindergarten count & cardinality
Spelling numbers kindergarten count & cardinality
 

Similar to เกษตรทฤษฎีใหม่

เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่Budsayarangsri Hasuttijai
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงPatchanon Winky'n Jindawanich
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
Yves Rattanaphan
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4punloveh
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
Nutthakorn Songkram
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงKruwaw-ru Kan
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่Budsayarangsri Hasuttijai
 

Similar to เกษตรทฤษฎีใหม่ (20)

เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
 

เกษตรทฤษฎีใหม่

  • 1. ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงได้พระราชทานพระราชดาริ เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลาบากดังกล่าว ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ า ได้ โดยไม่เดือดร้อนและยากลาบากนัก พระราชดาริ น้ ี ทรงเรี ยกว่า "ทฤษฎีใหม่" เป็ นแนวทางหรื อหลักการในการบริ หารการจัดการที่ดิน และน้ า เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 2. ทฤษฎีใหม่ ทาไมใหม่ ? • ๑. มีการบริหารและจัดแบ่ งทีดินแปลงเล็ก ออกเป็ นสั ดส่ วนที่ชัดเจนเพือ ่ ่ ประโยชน์ สูงสุ ดของเกษตรกร ซึ่งไม่ เคยมีใครคิดมาก่อน • ๒. มีการคานวณโดยหลักวิชาการ เกียวกับปริมาณนาทีจะกักเก็บให้ พอเพียง ่ ้ ่ ต่ อการเพาะปลูกได้ ตลอดปี • ๓. มีการวางแผนทีสมบูรณ์ แบบ สาหรับเกษตรกรรายย่ อย โดยมีถึง ๓ ่ ขั้นตอน นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 3. ทฤษฎีใหม่ ข้ันต้ น ่ การจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยและที่ทากิน ให้แบ่งพื้นที่ ออกเป็ น ๔ ส่ วน ตามอัตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง • - พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขดสระเก็บกักน้ า เพื่อใช้เก็บกักน้ าฝนในฤดูฝน และ ุ ใช้เสริ มการ ปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์น้ าและพืชน้ าต่างๆ • - พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน สาหรับครอบครัวให้ เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ • - พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ื ฯลฯ เพื่อใช้เป็ น อาหารประจาวัน หากเหลือบริ โภคก็นาไปจาหน่าย • - พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว์และโรงเรื อนอื่นๆ ่ นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 5. หลักการและแนวทางสาคัญ • ๑. เป็ นระบบการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ ประหยัดก่อน ทั้งนี้ชุมชน ต้องมีความสามัคคี ร่ วมมือร่ วมใจในการช่วยเหลือซึ่ งกันและกันทานองเดียวกับ การ "ลงแขก" แบบดั้งเดิม เพื่อลดค่าใช้จ่าย • ๒. เนื่องจากข้าวเป็ นปั จจัยหลักที่ทุกครัวเรื อนจะต้องบริ โภค ดังนั้นจึงประมาณว่า ครอบครัวหนึ่งทานา ๕ ไร่ จะทาให้มีขาวพอกินตลอดปี โดยไม่ตองซื้ อหาในราคาแพง เพื่อยึดหลัก ้ ้ พึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 6. • ๓. ต้ องมีน ้าเพื่อการเพาะปลูกสารองไว้ ใช้ ในฤดูแล้ ง หรื อระยะฝนทิ ้งช่วงได้ อย่าง พอเพียง ดังนัน จึง ้ จาเป็ นต้ องกันที่ดินส่วนหนึงไว้ ขดสระน ้าโดยมีหลักว่าต้ องมีน ้าเพียงพอที่จะทาการ ่ ุ เพาะปลูกได้ ตลอดปี ทังนี ้ได้ พระราชทานพระราชดาริเป็ นแนวทางว่า ต้ องมีน ้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ้ ต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่ ฉะนัน เมื่อทานา ๕ ไร่ ทาพืชไร่หรื อไม้ ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็ น ๑๐ ไร่) จะต้ องมีน ้า ้ ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี ดังนัน หากมีพื ้นที่ ๑๕ ไร่ จึงมีสตรคร่าวๆ ว่า แต่ละแปลง ้ ู ประกอบด้ วย - นา ๕ ไร่ + พืชไร่ พืชสวน ๕ ไร่ + สระน้า ๓ ไร่ ลึก ๔ เมตร จุประมาณ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์ เมตร ซึ่ งเป็ นปริ มาณน้าที เ่ พียงพอที จะสารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง ่ + ที อยู่อาศัยและอื น ๆ ๒ ไร่ รวมทังหมด ๑๕ ไร่ ่ ่ ้ นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 7. • ๔. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดนี้ พระบาทสมเด็จพระ ่ ั เจ้าอยูหวทรงคานวณและคานึ ง จากอัตราถือครองที่ดินถัวเฉลี่ยครัวเรื อนละ ๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรมี พื้นที่ถือครองน้อยกว่า หรื อมากกว่านี้ ก็สามารถใช้อตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ไปเป็ นเกณฑ์ปรับใช้ได้ ั กล่าวคือ - ๓๐% ส่ วนแรก ขุดสระน้ า (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ า เช่น ผักบุง ผักกะเฉด ฯลฯ ้ ได้ดวย) ้ - ๓๐% ส่ วนที่สอง ทานา - ๓๐% ส่ วนที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยนต้น ไม้ใช้สอย ไม้สร้างบ้าน พืช ื ไร่ พืชผัก สมุนไพร เป็ นต้น) ่ - ๑๐% สุ ดท้าย เป็ นที่อยูอาศัยและอื่นๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ ยหมัก โรงเรื อน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัวหลังบ้าน เป็ นต้น) นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 8. ทฤษฎีใหม่ ขั้นทีสอง ่ • เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ตองเริ่ มขั้น ั ้ ที่สอง คือ ให้ เกษตรกรรวมพลังกันในรู ป กลุ่ม หรื อ สหกรณ์ ร่ วมแรง ร่ วมใจกันดาเนินการในด้าน • ๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะต้องร่ วมมือในการผลิตโดยเริ่ มตั้งแต่ ขั้นเตรี ยมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ ย การหาน้ าและอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก • ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุง เครื่ องสี ขาว การจาหน่ายผลผลิต) ้ ้ - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรี ยมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุ ด เช่น การเตรี ยม ลานตากข้าวร่ วมกัน การจัดหายุงรวบรวมข้าว เตรี ยมหาเครื่ องสี ขาว ตลอดจนการ ้ ้ รวมกันขายผลผลิต ให้ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลงด้วย นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 9. • ๓. ความเป็ นอยู่ (กะปิ น้ าปลา อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ฯลฯ) ่ - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยูที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานใน การดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ ที่พอเพียง • ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู)้ - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริ การที่จาเป็ น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่ วย ไข้ หรื อมีกองทุนไว้ ้ื กูยมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน • ๕. การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่ งเสริ มการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่า เรี ยนให้แก่เยาวชนของ ชุมชนเอง นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 10. • ๖. สังคมและศาสนา - ชุมชนควรเป็ นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็ นที่ ยึดเหนี่ยว นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 11. ทฤษฎีใหม่ ขั้นทีสาม ่ • เมื่อดาเนินการผ่านพ้ นขันที่สองแล้ ว เกษตรกรหรื อกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนา ้ ่ ก้ าวหน้ าไปสูขนที่สามต่อไป ่ ั้ คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรื อแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรื อบริษัท ห้ าง ร้ านเอกชน มาช่วยใน การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต • ทังนี ้ ทังฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคารกับบริษัท จะได้ รับประโยชน์ร่วมกัน ้ ้ กล่าวคือ - เกษตรกรขายข้ าวได้ ในราคาสูง (ไม่ถกกดราคา) ู - ธนาคารกับบริษัทสามารถซื ้อข้ าวบริโภคในราคาต่า (ซื ้อข้ าวเปลือกตรงจาก เกษตรกรและมาสีเอง) นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16
  • 12. ประโยชน์ ของทฤษฎีใหม่ • จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวที่ได้พระราชทาน ่ ั ในโอกาสต่างๆ นั้น พอจะสรุ ปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ได้ ดังนี้ • ๑. ให้ประชาชนพออยูพอกินสมควรแก่อตภาพในระดับที่ประหยัด ่ ั ไม่อดอยาก และเลี้ยงตนเองได้ • ๒. ในหน้าแล้งมีน้ าน้อยก็สามารถเอาน้ าที่เก็บไว้ในสระ มาปลูกพืช • ผักต่างๆ ได้ แม้แต่ขาวก็ยงปลูกได้ โดยไม่ตองเบียดเบียนชลประทาน ้ ั ้ • ๓. ในปี ที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้ าดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่น้ ีกสามารถสร้างรายได้ ็ ให้ร่ ารวยขึ้นได้ • ๔. ในกรณี ที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้ นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ ง โดย ทางราชการไม่ตองช่วย ้ เหลือมากเกินไป อันเป็ นการประหยัดงบประมาณด้วย นางสาวพรรณวิไล กิจทวีพานิชย์ ม.4/8 เลขที่ 16