SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
                  วิชา ง21101 (การงานอาชีพและเทคโนโลยี ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
                                    

การเลือกซื้ออาหาร
           เนื่องจากอาหารเป็นปัจจัยสาคัญอันดับหนึ่งในการดารงชีวิต
มนุษย์ ในวันหนึ่ง ๆ เราจะต้องรับประทานอาหารถึง 3 มื้อ ฉะนั้นการ
เลือกซื้ออาหารโดยวิธีฉลาด ประหยัดเงิน เวลา จึงจาเป็นและสาคัญยิ่ง
สาหรับนักเรียน จะได้ศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการจ่ายตลาดหรือเลือกซื้อ
อาหาร เพื่อจะได้นาไปปฏิบัติจริง ในชีวิตประจาวันให้เกิดผลอย่าง
แท้จริง ข้อคิดต่าง ๆ ที่ควรจะยึดถือเป็นหลัก ในการเลือกซื้ออาหารมี
ดังนี้
       1. งบประมาณที่มีอยู่ต่อวันต่อสัปดาห์ และต่อเดือน อาหารที่มี
คุณภาพดีไม่ได้วัดด้วยราคาเสมอไป หลักสาคัญควรพิจารณาถึงคุณภาพ
หรือคุณค่าของอาหารต่อร่างกายเป็นสาคัญ ยกตัวอย่าง กุ้งนางปัจจุบันกิโลกรัมละ 80 บาท ถ้าเปรียบเทียบ
กับหอยแมลงภู่แกะแล้วกิโลกรัมละ 12 บาท มีคุณค่าทางอาหารพอกัน แต่รสชาติอาจจะแตกต่างกันบ้าง
ฉะนั้น ถ้ามีงบประมาณน้อย อาจจะเลือกซื้ออาหารชนิดอื่นเพื่อการประหยัด
       2. เลือกซื้ออาหารให้ถูกต้องตามฤดูกาล จะได้ผักผลไม้ถูกกว่าซื้อต่างฤดูกาล ผักผลไม้ เหล่านั้นย่อมมี
รสอร่อย สด และมีคุณค่าของอาหารสูงกว่า
       3. เลือกซื้อของจานวนมาก เช่น ซื้อเป็นกิโลกรัมย่อมถูกกว่าการซื้อปลีก เช่น หัวหอม กระเทียม กะปิ
น้าตาล หมู เนื้อ ฯลฯ ควรซื้อเป็นกิโลกรัม ข้อสังเกตที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ ส่วนใหญ่ครอบครัวที่มีรายได้น้อย
มักจะซื้ออาหารในราคาที่สูงกว่าคนฐานะปานกลาง เพราะส่วนใหญ่ซื้ออาหารปลีกย่อย เช่น ข้าวสารทีละ 1
ลิตร กะปิครั้งละ 1 บาท เพราะครอบครัวเหล่านั้นไม่มีเงินซื้ออาหารกักตุนไว้ ทาให้ค่าใช้จ่ายสูง
       4. ซื้ออาหาร ที่สามารถหาได้ในท้องถิ่น หรือตลาดใกล้บ้านของท่าน เช่น ผักที่ชาวบ้านปลูกเองและ
นามาขายในตลาดตอนเช้าราคาถูกกว่า เพราะไม่ต้องเสียค่าขนส่งทางไกล ของที่เลือกซื้อ เช่น ผักสด ผลไม้
ย่อมสดกว่าผักที่ขนมาจากระยะทางไกล ๆ
       5. เพื่อการประหยัดเวลา กาหนดเวลาการจ่ายตลาด ยกตัวอย่างสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรืออย่างมาก 2 ครั้ง
จะช่วยลดความเหนื่อยของแม่บ้านและคนในครอบครัวได้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในชนบทบางแห่งมี
อาหารจาหน่ายจากัด ควรเลือกซื้ออาหารที่สามารถเก็บไว้กินหลายวัน
       6. เลือกซื้ออาหารหลาย ๆ ประเภทให้ครบตามหลักอาหาร 5 หมู่ เพราะร่างกายของมนุษย์ต้องการ
อาหารครบ 5 หมู่ ในแต่ละมื้อ ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ แม่บ้านบางท่านหัดให้ลูก ๆ รับประทานแต่เนื้อเค็ม
แห้ง ๆ แต่เพียงอย่างเดียวจนติดเป็นนิสัย รับประทานผัดผัก หรือแกงจืดไม่เป็น
7. เลือกซื้อตามความนิยมของผู้รับประทาน ครอบครัวไทยเป็นครอบครัวเสริมหรือครอบครัวผสม ใน
ยุคปัจจุบันบางครอบครัวมีคนทั้ง 4 ภาคอยู่รวมกัน แม่บ้านควรพิจารณาถึงรสนิยม ความชอบ และไม่ชอบ
อาหารของกลุ่มคน ตามอายุ วัฒนธรรมและวัยเป็นสาคัญด้วย
      8. การเปลี่ยนวัยของบุคคล ย่อมมีส่วนสาคัญที่จะได้รับการพิจารณาด้วยในการเลือกซื้ออาหาร เช่น บาง
คนอายุมากขึ้นเริ่มชอบรับประทานผัก รับประทานผักที่มีรสขม ๆ ได้ เป็นต้น
      9. ไม่ควรซื้ออาหารที่ขายเป็นกอง ๆ ในราคาถูก ควรจะเลือกดูและพิจารณาดูว่า ผัก ผลไม้ หรือปลาที่
แม่ค้านามากองขายคุณภาพดีหรือไม่เพราะแม่ค้ามักกองของเน่าไว้ด้วย ทาให้อาหารเสื่อมคุณภาพ อาหารที่
สดสะอาดราคาแพงกว่าเล็กน้อย ได้อาหารที่มีคุณค่าดีกว่า เป็นการเลือกซื้อที่ฉลาดกว่า
      10. สภาพแวดล้อมย่อมทาให้ของราคาต่างกัน เช่น ตลาดย่านชุมชนย่อมแพงกว่าของในตลาดแถวชาน
พระนคร การซื้อของในตลาดพยายามซื้อของจากเจ้าประจาโดยเฉพาะ หมู เนื้อ ไก่ เพราะมีโอกาสที่จะได้
ของดีและตรงตามตาชั่งกว่าการซื้อจร
      11. พยายามทาสถิติ และศึกษาดูราคาของแต่ละท้องตลาดให้แน่นอน จะได้สิ่งประกอบในการจ่าย
อาหาร ในโอกาสที่แม่บ้านไม่ได้เป็นผู้จ่ายเอง ในฐานะแม่บ้านต้องทราบราคาของที่ แน่นอนในท้องตลาด
ด้วย
     12. มีความเข้าใจและมีความรู้ เรื่องลักษณะความแตกต่างของดี และของไม่ดี ตลอดจน คุณค่าต่อ
ร่างกายของของเหล่านั้นด้วย จะช่วยให้แม่บ้านฉลาดรอบรู้เลือกอาหารแต่ละอย่างด้วยวิธีฉลาด
          วิธีเลือกอาหารสด
          อาหารที่สดใหม่ จะมีคุณค่าของสารอาหารและมีคุณภาพดีกว่าอาหารที่ทิ้งไว้นานแล้ว วิธีการเลือก
ซื้ออาหารสด สามารถสังเกตได้จากลักษณะของอาหารแต่ละอย่าง ดังนี้
                                                                   เนื้อหมู ที่ดีจะต้องมีสีชมพูอ่อน นุ่ม ผิว
                                                         เป็นมัน เนื้อแน่น ถ้าเป็นเนื้อหมูแก่จะมีสีแดง
                                                         เข้ม ไม่มีกลิ่นเหม็นหรือเป็นเมือกลื่น และต้อง
                                                         ไม่มีลักษณะเป็นเม็ดสาคูในเนื้อหมู ส่วนที่เป็น
                                                         มันแข็งควรเป็นสีขาวขุ่น
                                                                   เนื้อวัว ที่ดีจะมีสีแดงสด กดแล้วไม่บุ๋ม
                                                         ไม่มีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว เหม็นเน่า หรือเป็นเมือก
                                                         ลื่น และต้องไม่มีลักษณะเป็นเม็ดสาคูในเนื้อวัว
          ปลา ทั้งปลาน้าจืดและปลาน้าเค็ม ถ้าสดเหงือก
จะมีสีแดงสด ไม่มีสีเขียว เหงือกปิดสนิท ตานูนสดใส
ฝังแน่นในเบ้าตา ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่า ผิวกายเป็นมัน มี
เมือกใสๆบางๆ หุ้มทั้งตัว เกล็ดแนบกันหนังติดแน่น
ไส้ไม่ทะลักออกมา เนื้อแน่นติดกระดูก ใช้นิ้วกดเมื่อยกนิ้วขึ้นไม่มีรอยบุ๋ม
         กุ้ง ที่สด หัวจะติดแน่นกับตัว ตาใส ตัวมีสีตามลักษณะที่ดีตามธรรมชาติ เนื้อแน่นไม่นิ่ม เปลือกสด
เนื้อแข็ง เห็นสีแดงของมันกุ้งได้ชัด ไม่มีกลิ่นเหม็น
         หอย ก็ต้องดูที่ปากถ้าสดจะหุบแน่น และเมื่อวางทิ้งไว้ปากจะอ้าออก เปลือกไม่มีเมือก หรือสิ่ง
สกปรก และไม่มีกลิ่นเหม็น
         เป็ดหรือไก่ ควรเลือกไก่และเป็ดไม่แก่เกินไปเพราะเนื้อเหนียวเป็ดหรือไก่อ่อนตีนจะนุ่มควรเลือกที่
มีลักษณะผิวตึงไม่เหี่ยวย่น ไม่ซีดหรือมีจ้าเขียวๆ ทั่วไป โดยเฉพาะตรงใต้ปีก ขา ตรงลาคอที่ต่อกับลาตัวต้อง
                                                ไม่มีสีคล้า ลูกตาไม่ลึกปุ๋มและต้องไม่มีกลิ่นเหม็น
                                                         ไข่ ไข่เป็ด หรือไข่ไก่ที่ดี ต้องสดใหม่ เปลือกมีสี
                                                ด้าน ไม่มันเงา ไม่มีรอยแตกหรือรอยร้าว ถ้าหากนามาส่อง
                                                กับไฟ ตรงภายในเนื้อไข่จะต้องไม่มีจุดสีดา หรือฟองอากาศ
                                                ขนาดใหญ่อยู่ภายใน




การเลือกอาหารแห้ง
           อาหารแห้งนั้นต้องสะอาดไม่อับชื้น ไม่มีกลิ่นเหม็นหืน และไม่มีเชื้อรา หรือมีสีผิดปกติ
การเลือกอาหารกระป๋อง
            1. ซื้อจากแหล่งผลิตที่ไว้ใจได้ว่าผลิตอาหารได้มาตรฐาน มี
คุณภาพ
           2. ดูลักษณะกระป๋องควรใหม่ ไม่บุบ บวม รั่ว มีสนิม ชารุด
           3. อ่านฉลากดูส่วนประกอบ ปริมาณน้าหนัก ราคา เวลาที่ผลิต
ชื่อผู้ผลิต
การเลือกซื้ออาหารสาเร็จรูป
            1. ไม่ควรมีการปลอม ปน สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย หรือเน่า
เสีย ที่ไม่เหมาะสมต่อการรับประทาน
            2. เลือกซื้อจากผู้ที่ไว้ใจได้ว่าอาหารนั้นสะอาดปลอดภัย
            3. เลือกอาหารที่บรรจุในภาชนะที่ห่อเรียบร้อยสะดวกในการขนส่งนาติดตัวและง่ายในการ
รับประทาน
            4. เมื่อเปิดกระป๋องแล้วอาหารนั้นมีกลิ่นรสไม่ผิดจากที่ควรจะเป็น ไม่เป็นฟอง เน่าเสีย หรือเกิดการ
เปลี่ยนแปลงที่อันตรายต่อการบริโภค
การเลือกซื้ออาหารแช่แข็ง
1. อาหารที่นามาแช่แข็ง ควรเป็นของที่มีคุณภาพดี ไม่เน่า อยู่ในสภาพที่เหมาะสมและสะอาด
          2. ห่อต้องอยู่ในสภาพดี ป้ายไม่ขาด ไม่มีรอยเปื้อนและด่างดา
          3. ควรบอกวิธีใช้อาหารนั้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้บริโภค
          4. ไม่ควรนาอาหารมาตั้งทิ้งให้ละลาย แล้วนากลับเข้าแช่แข็งอีก เพราะจะทาให้อาหารนั้นเสีย
ลักษณะที่ดี สูญเสียคุณค่าทางอาหารไปกับน้าที่ละลายออกมา ถ้าจะใช้ควรแบ่งจากส่วนใหญ่ตามจานวนที่
ต้องการ
การเลือกซื้อผัก
         การเลือกซื้อผักสด ผักที่นามาประกอบอาหารมีอยู่หลายชนิด ซึ่งได้มาจากส่วนต่างๆ ของ
ผักได้แก่ ใบ ราก เมล็ด ฯลฯ การเลือกซื้อผักมีหลักเกณฑ์ง่ายๆ เช่น
ซื้อผักตามฤดูกาลที่จะได้ผักที่มีคุณภาพดี และราคาถูก หรืออาจจะ
ดูจากขนาด สี รูปร่าง ความแก่ ความอ่อนและความสะอาด
การเลือกซื้อผักบางชนิด
         - เผือก มัน เลือกหัวที่มีน้าหนักมาก เนื้อแน่น ผิวเรียบ ไม่
มีตาหนิ
         - หัวไชเท้า เลือกหัวที่ไม่งอ ขนาดกลางยังอ่อนๆ มีผิว
เรียบ
         - กะหล่าปลี เลือกหัวแน่นๆ จะมีน้าหนักมาก
         - ผักที่เป็นฝัก เช่นถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา เลือกฝักอ่อนๆ สีเขียวเนื้อแน่นไม่ฝ่อ ฝักแก่จะมี
สีขาวนวล
         - ผักที่เป็นใบ เช่น ผักคะน้า ผักกาดหอม ฯลฯ เลือกต้นที่มีสีเขียวสด ไม่เหี่ยว ไม่มีรอยช้า
ต้นใหญ่ ใบติดโคนแน่น
         - มะเขือเปราะ มะเขือยาว เลือกขั้วติดแน่น สีสด น้าหนักมาก ไม่เหี่ยว
         - แตงร้าน เลือกลูกที่มีน้าหนักมาก ลูกยาว สีเขียวอ่อน ไม่มีรอยช้า ผิวนวล
         - แตงกวา แตงกวาผิวเขียว ดีกว่าผิวขาวนวล ผิวเขียวเนื้อหนาเมล็ดเล็ก เนื้อจะกรอบกว่า
ผิวขาวนวล ซึ่งมีเนื้อน้อยและเหนียว
         - มะนาว เลือกที่มีเปลือกบาง ผิวเรียบไม่เหี่ยว
         - ฟักทอง เลือกลูกที่มีน้าหนักมาก ผิวเปลือกขรุขระ เนื้อจะแน่น
การเลือกซื้อผลไม้
         การเลือกผลไม้ ผลไม้ ถ้าเลือกซื้อตามฤดูกาลจะได้ของที่มี
คุณภาพและราคาถูก เลือกความแก่
อ่อนของผลไม้ เพราะผลไม้จะมีรสชาติที่ดีที่สุด เพียงระยะเดียว เช่น
ทุเรียน มะละกอ จะรับประทานเมื่อสุก และควรเลือกซื้อตาม
งบประมาณที่มีอยู่ คือ ถ้ามีงบประมาณจากัด ควรจะเลือกซื้อผลไม้ที่มีคุณค่าทางอาหารสูงกว่าและมีส่วนที่
กินได้มากกว่า เช่น ซื้อกล้วยแทนมังคุด
การเลือกซื้อผลไม้บางชนิด
        - ส้มเขียวหวาน เลือกที่มีเปลือกบาง มีสีเขียวเหลือง น้าหนักพอสมควร เช่น 1 กิโลกรัม
                                  มีส้มอยู่ 7 ลูก
                                            - สับปะรด เลือกตาใหญ่ เปลือกสีเขียวอมเหลือง
                                            - มังคุด เลือกขนาดเล็ก ผิวเรียบ
                                            - ลางสาด เลือกผลยาวรี ผิวสีเหลืองนวล จับดูเนื้อนุ่ม ใกล้ขั้ว
                                  มีสีเหลืองออกน้าตาล
                                            - เงาะ เลือกเงาะสดไม่เหี่ยว
                                            - ชมพู่ ผิวเรียบไม่มีแมลงกัดกิน ลูกใหญ่
                                            - องุ่น เลือกที่เป็นพวง ลูกใหญ่


                                

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
ปาริชาต แท่นแก้ว
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
Terapong Piriyapan
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
oraneehussem
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
Somporn Amornwech
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Chainarong Maharak
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
worapanthewaha
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

What's hot (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 

Viewers also liked

ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์Duangsuwun Lasadang
 

Viewers also liked (6)

ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
 
ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์
 

Similar to ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร

Meat
MeatMeat
โครงงานคอมพิวเตอร์610
โครงงานคอมพิวเตอร์610โครงงานคอมพิวเตอร์610
โครงงานคอมพิวเตอร์610ppapad
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ppapad
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ppapad
 
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงAmontep Posarat
 

Similar to ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร (7)

42101
4210142101
42101
 
Meat
MeatMeat
Meat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์610
โครงงานคอมพิวเตอร์610โครงงานคอมพิวเตอร์610
โครงงานคอมพิวเตอร์610
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
 
ผลไม้ไทยได้ประโยชน์333
ผลไม้ไทยได้ประโยชน์333ผลไม้ไทยได้ประโยชน์333
ผลไม้ไทยได้ประโยชน์333
 

More from Duangsuwun Lasadang

111
111111
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายDuangsuwun Lasadang
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานDuangsuwun Lasadang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานDuangsuwun Lasadang
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน FlowchartDuangsuwun Lasadang
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้Duangsuwun Lasadang
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าDuangsuwun Lasadang
 

More from Duangsuwun Lasadang (20)

111
111111
111
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
Multimedia
MultimediaMultimedia
Multimedia
 
1storyboard
1storyboard1storyboard
1storyboard
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน Flowchart
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
 
3
33
3
 
1
11
1
 
2
22
2
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
 

ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร

  • 1. ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร วิชา ง21101 (การงานอาชีพและเทคโนโลยี ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  การเลือกซื้ออาหาร เนื่องจากอาหารเป็นปัจจัยสาคัญอันดับหนึ่งในการดารงชีวิต มนุษย์ ในวันหนึ่ง ๆ เราจะต้องรับประทานอาหารถึง 3 มื้อ ฉะนั้นการ เลือกซื้ออาหารโดยวิธีฉลาด ประหยัดเงิน เวลา จึงจาเป็นและสาคัญยิ่ง สาหรับนักเรียน จะได้ศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการจ่ายตลาดหรือเลือกซื้อ อาหาร เพื่อจะได้นาไปปฏิบัติจริง ในชีวิตประจาวันให้เกิดผลอย่าง แท้จริง ข้อคิดต่าง ๆ ที่ควรจะยึดถือเป็นหลัก ในการเลือกซื้ออาหารมี ดังนี้ 1. งบประมาณที่มีอยู่ต่อวันต่อสัปดาห์ และต่อเดือน อาหารที่มี คุณภาพดีไม่ได้วัดด้วยราคาเสมอไป หลักสาคัญควรพิจารณาถึงคุณภาพ หรือคุณค่าของอาหารต่อร่างกายเป็นสาคัญ ยกตัวอย่าง กุ้งนางปัจจุบันกิโลกรัมละ 80 บาท ถ้าเปรียบเทียบ กับหอยแมลงภู่แกะแล้วกิโลกรัมละ 12 บาท มีคุณค่าทางอาหารพอกัน แต่รสชาติอาจจะแตกต่างกันบ้าง ฉะนั้น ถ้ามีงบประมาณน้อย อาจจะเลือกซื้ออาหารชนิดอื่นเพื่อการประหยัด 2. เลือกซื้ออาหารให้ถูกต้องตามฤดูกาล จะได้ผักผลไม้ถูกกว่าซื้อต่างฤดูกาล ผักผลไม้ เหล่านั้นย่อมมี รสอร่อย สด และมีคุณค่าของอาหารสูงกว่า 3. เลือกซื้อของจานวนมาก เช่น ซื้อเป็นกิโลกรัมย่อมถูกกว่าการซื้อปลีก เช่น หัวหอม กระเทียม กะปิ น้าตาล หมู เนื้อ ฯลฯ ควรซื้อเป็นกิโลกรัม ข้อสังเกตที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ ส่วนใหญ่ครอบครัวที่มีรายได้น้อย มักจะซื้ออาหารในราคาที่สูงกว่าคนฐานะปานกลาง เพราะส่วนใหญ่ซื้ออาหารปลีกย่อย เช่น ข้าวสารทีละ 1 ลิตร กะปิครั้งละ 1 บาท เพราะครอบครัวเหล่านั้นไม่มีเงินซื้ออาหารกักตุนไว้ ทาให้ค่าใช้จ่ายสูง 4. ซื้ออาหาร ที่สามารถหาได้ในท้องถิ่น หรือตลาดใกล้บ้านของท่าน เช่น ผักที่ชาวบ้านปลูกเองและ นามาขายในตลาดตอนเช้าราคาถูกกว่า เพราะไม่ต้องเสียค่าขนส่งทางไกล ของที่เลือกซื้อ เช่น ผักสด ผลไม้ ย่อมสดกว่าผักที่ขนมาจากระยะทางไกล ๆ 5. เพื่อการประหยัดเวลา กาหนดเวลาการจ่ายตลาด ยกตัวอย่างสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรืออย่างมาก 2 ครั้ง จะช่วยลดความเหนื่อยของแม่บ้านและคนในครอบครัวได้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในชนบทบางแห่งมี อาหารจาหน่ายจากัด ควรเลือกซื้ออาหารที่สามารถเก็บไว้กินหลายวัน 6. เลือกซื้ออาหารหลาย ๆ ประเภทให้ครบตามหลักอาหาร 5 หมู่ เพราะร่างกายของมนุษย์ต้องการ อาหารครบ 5 หมู่ ในแต่ละมื้อ ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ แม่บ้านบางท่านหัดให้ลูก ๆ รับประทานแต่เนื้อเค็ม แห้ง ๆ แต่เพียงอย่างเดียวจนติดเป็นนิสัย รับประทานผัดผัก หรือแกงจืดไม่เป็น
  • 2. 7. เลือกซื้อตามความนิยมของผู้รับประทาน ครอบครัวไทยเป็นครอบครัวเสริมหรือครอบครัวผสม ใน ยุคปัจจุบันบางครอบครัวมีคนทั้ง 4 ภาคอยู่รวมกัน แม่บ้านควรพิจารณาถึงรสนิยม ความชอบ และไม่ชอบ อาหารของกลุ่มคน ตามอายุ วัฒนธรรมและวัยเป็นสาคัญด้วย 8. การเปลี่ยนวัยของบุคคล ย่อมมีส่วนสาคัญที่จะได้รับการพิจารณาด้วยในการเลือกซื้ออาหาร เช่น บาง คนอายุมากขึ้นเริ่มชอบรับประทานผัก รับประทานผักที่มีรสขม ๆ ได้ เป็นต้น 9. ไม่ควรซื้ออาหารที่ขายเป็นกอง ๆ ในราคาถูก ควรจะเลือกดูและพิจารณาดูว่า ผัก ผลไม้ หรือปลาที่ แม่ค้านามากองขายคุณภาพดีหรือไม่เพราะแม่ค้ามักกองของเน่าไว้ด้วย ทาให้อาหารเสื่อมคุณภาพ อาหารที่ สดสะอาดราคาแพงกว่าเล็กน้อย ได้อาหารที่มีคุณค่าดีกว่า เป็นการเลือกซื้อที่ฉลาดกว่า 10. สภาพแวดล้อมย่อมทาให้ของราคาต่างกัน เช่น ตลาดย่านชุมชนย่อมแพงกว่าของในตลาดแถวชาน พระนคร การซื้อของในตลาดพยายามซื้อของจากเจ้าประจาโดยเฉพาะ หมู เนื้อ ไก่ เพราะมีโอกาสที่จะได้ ของดีและตรงตามตาชั่งกว่าการซื้อจร 11. พยายามทาสถิติ และศึกษาดูราคาของแต่ละท้องตลาดให้แน่นอน จะได้สิ่งประกอบในการจ่าย อาหาร ในโอกาสที่แม่บ้านไม่ได้เป็นผู้จ่ายเอง ในฐานะแม่บ้านต้องทราบราคาของที่ แน่นอนในท้องตลาด ด้วย 12. มีความเข้าใจและมีความรู้ เรื่องลักษณะความแตกต่างของดี และของไม่ดี ตลอดจน คุณค่าต่อ ร่างกายของของเหล่านั้นด้วย จะช่วยให้แม่บ้านฉลาดรอบรู้เลือกอาหารแต่ละอย่างด้วยวิธีฉลาด วิธีเลือกอาหารสด อาหารที่สดใหม่ จะมีคุณค่าของสารอาหารและมีคุณภาพดีกว่าอาหารที่ทิ้งไว้นานแล้ว วิธีการเลือก ซื้ออาหารสด สามารถสังเกตได้จากลักษณะของอาหารแต่ละอย่าง ดังนี้ เนื้อหมู ที่ดีจะต้องมีสีชมพูอ่อน นุ่ม ผิว เป็นมัน เนื้อแน่น ถ้าเป็นเนื้อหมูแก่จะมีสีแดง เข้ม ไม่มีกลิ่นเหม็นหรือเป็นเมือกลื่น และต้อง ไม่มีลักษณะเป็นเม็ดสาคูในเนื้อหมู ส่วนที่เป็น มันแข็งควรเป็นสีขาวขุ่น เนื้อวัว ที่ดีจะมีสีแดงสด กดแล้วไม่บุ๋ม ไม่มีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว เหม็นเน่า หรือเป็นเมือก ลื่น และต้องไม่มีลักษณะเป็นเม็ดสาคูในเนื้อวัว ปลา ทั้งปลาน้าจืดและปลาน้าเค็ม ถ้าสดเหงือก จะมีสีแดงสด ไม่มีสีเขียว เหงือกปิดสนิท ตานูนสดใส ฝังแน่นในเบ้าตา ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่า ผิวกายเป็นมัน มี เมือกใสๆบางๆ หุ้มทั้งตัว เกล็ดแนบกันหนังติดแน่น
  • 3. ไส้ไม่ทะลักออกมา เนื้อแน่นติดกระดูก ใช้นิ้วกดเมื่อยกนิ้วขึ้นไม่มีรอยบุ๋ม กุ้ง ที่สด หัวจะติดแน่นกับตัว ตาใส ตัวมีสีตามลักษณะที่ดีตามธรรมชาติ เนื้อแน่นไม่นิ่ม เปลือกสด เนื้อแข็ง เห็นสีแดงของมันกุ้งได้ชัด ไม่มีกลิ่นเหม็น หอย ก็ต้องดูที่ปากถ้าสดจะหุบแน่น และเมื่อวางทิ้งไว้ปากจะอ้าออก เปลือกไม่มีเมือก หรือสิ่ง สกปรก และไม่มีกลิ่นเหม็น เป็ดหรือไก่ ควรเลือกไก่และเป็ดไม่แก่เกินไปเพราะเนื้อเหนียวเป็ดหรือไก่อ่อนตีนจะนุ่มควรเลือกที่ มีลักษณะผิวตึงไม่เหี่ยวย่น ไม่ซีดหรือมีจ้าเขียวๆ ทั่วไป โดยเฉพาะตรงใต้ปีก ขา ตรงลาคอที่ต่อกับลาตัวต้อง ไม่มีสีคล้า ลูกตาไม่ลึกปุ๋มและต้องไม่มีกลิ่นเหม็น ไข่ ไข่เป็ด หรือไข่ไก่ที่ดี ต้องสดใหม่ เปลือกมีสี ด้าน ไม่มันเงา ไม่มีรอยแตกหรือรอยร้าว ถ้าหากนามาส่อง กับไฟ ตรงภายในเนื้อไข่จะต้องไม่มีจุดสีดา หรือฟองอากาศ ขนาดใหญ่อยู่ภายใน การเลือกอาหารแห้ง อาหารแห้งนั้นต้องสะอาดไม่อับชื้น ไม่มีกลิ่นเหม็นหืน และไม่มีเชื้อรา หรือมีสีผิดปกติ การเลือกอาหารกระป๋อง 1. ซื้อจากแหล่งผลิตที่ไว้ใจได้ว่าผลิตอาหารได้มาตรฐาน มี คุณภาพ 2. ดูลักษณะกระป๋องควรใหม่ ไม่บุบ บวม รั่ว มีสนิม ชารุด 3. อ่านฉลากดูส่วนประกอบ ปริมาณน้าหนัก ราคา เวลาที่ผลิต ชื่อผู้ผลิต การเลือกซื้ออาหารสาเร็จรูป 1. ไม่ควรมีการปลอม ปน สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย หรือเน่า เสีย ที่ไม่เหมาะสมต่อการรับประทาน 2. เลือกซื้อจากผู้ที่ไว้ใจได้ว่าอาหารนั้นสะอาดปลอดภัย 3. เลือกอาหารที่บรรจุในภาชนะที่ห่อเรียบร้อยสะดวกในการขนส่งนาติดตัวและง่ายในการ รับประทาน 4. เมื่อเปิดกระป๋องแล้วอาหารนั้นมีกลิ่นรสไม่ผิดจากที่ควรจะเป็น ไม่เป็นฟอง เน่าเสีย หรือเกิดการ เปลี่ยนแปลงที่อันตรายต่อการบริโภค การเลือกซื้ออาหารแช่แข็ง
  • 4. 1. อาหารที่นามาแช่แข็ง ควรเป็นของที่มีคุณภาพดี ไม่เน่า อยู่ในสภาพที่เหมาะสมและสะอาด 2. ห่อต้องอยู่ในสภาพดี ป้ายไม่ขาด ไม่มีรอยเปื้อนและด่างดา 3. ควรบอกวิธีใช้อาหารนั้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้บริโภค 4. ไม่ควรนาอาหารมาตั้งทิ้งให้ละลาย แล้วนากลับเข้าแช่แข็งอีก เพราะจะทาให้อาหารนั้นเสีย ลักษณะที่ดี สูญเสียคุณค่าทางอาหารไปกับน้าที่ละลายออกมา ถ้าจะใช้ควรแบ่งจากส่วนใหญ่ตามจานวนที่ ต้องการ การเลือกซื้อผัก การเลือกซื้อผักสด ผักที่นามาประกอบอาหารมีอยู่หลายชนิด ซึ่งได้มาจากส่วนต่างๆ ของ ผักได้แก่ ใบ ราก เมล็ด ฯลฯ การเลือกซื้อผักมีหลักเกณฑ์ง่ายๆ เช่น ซื้อผักตามฤดูกาลที่จะได้ผักที่มีคุณภาพดี และราคาถูก หรืออาจจะ ดูจากขนาด สี รูปร่าง ความแก่ ความอ่อนและความสะอาด การเลือกซื้อผักบางชนิด - เผือก มัน เลือกหัวที่มีน้าหนักมาก เนื้อแน่น ผิวเรียบ ไม่ มีตาหนิ - หัวไชเท้า เลือกหัวที่ไม่งอ ขนาดกลางยังอ่อนๆ มีผิว เรียบ - กะหล่าปลี เลือกหัวแน่นๆ จะมีน้าหนักมาก - ผักที่เป็นฝัก เช่นถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา เลือกฝักอ่อนๆ สีเขียวเนื้อแน่นไม่ฝ่อ ฝักแก่จะมี สีขาวนวล - ผักที่เป็นใบ เช่น ผักคะน้า ผักกาดหอม ฯลฯ เลือกต้นที่มีสีเขียวสด ไม่เหี่ยว ไม่มีรอยช้า ต้นใหญ่ ใบติดโคนแน่น - มะเขือเปราะ มะเขือยาว เลือกขั้วติดแน่น สีสด น้าหนักมาก ไม่เหี่ยว - แตงร้าน เลือกลูกที่มีน้าหนักมาก ลูกยาว สีเขียวอ่อน ไม่มีรอยช้า ผิวนวล - แตงกวา แตงกวาผิวเขียว ดีกว่าผิวขาวนวล ผิวเขียวเนื้อหนาเมล็ดเล็ก เนื้อจะกรอบกว่า ผิวขาวนวล ซึ่งมีเนื้อน้อยและเหนียว - มะนาว เลือกที่มีเปลือกบาง ผิวเรียบไม่เหี่ยว - ฟักทอง เลือกลูกที่มีน้าหนักมาก ผิวเปลือกขรุขระ เนื้อจะแน่น การเลือกซื้อผลไม้ การเลือกผลไม้ ผลไม้ ถ้าเลือกซื้อตามฤดูกาลจะได้ของที่มี คุณภาพและราคาถูก เลือกความแก่ อ่อนของผลไม้ เพราะผลไม้จะมีรสชาติที่ดีที่สุด เพียงระยะเดียว เช่น ทุเรียน มะละกอ จะรับประทานเมื่อสุก และควรเลือกซื้อตาม
  • 5. งบประมาณที่มีอยู่ คือ ถ้ามีงบประมาณจากัด ควรจะเลือกซื้อผลไม้ที่มีคุณค่าทางอาหารสูงกว่าและมีส่วนที่ กินได้มากกว่า เช่น ซื้อกล้วยแทนมังคุด การเลือกซื้อผลไม้บางชนิด - ส้มเขียวหวาน เลือกที่มีเปลือกบาง มีสีเขียวเหลือง น้าหนักพอสมควร เช่น 1 กิโลกรัม มีส้มอยู่ 7 ลูก - สับปะรด เลือกตาใหญ่ เปลือกสีเขียวอมเหลือง - มังคุด เลือกขนาดเล็ก ผิวเรียบ - ลางสาด เลือกผลยาวรี ผิวสีเหลืองนวล จับดูเนื้อนุ่ม ใกล้ขั้ว มีสีเหลืองออกน้าตาล - เงาะ เลือกเงาะสดไม่เหี่ยว - ชมพู่ ผิวเรียบไม่มีแมลงกัดกิน ลูกใหญ่ - องุ่น เลือกที่เป็นพวง ลูกใหญ่ 