SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้
                                         เรื่อง เครื่องมือช่างเบื้องต้น

         เครื่องมือที่เราใช้กันในงานช่างในบ้านเบื้องต้นโดยทั่วไปมีมากมายหลายชนิด แต่จะกล่าวเฉพาะเครื่องมือ
ที่จาเป็นและใช้ประจา ซึ่งพอจะแบ่งเป็นเครื่องมือแต่ละชนิดดังนี้




เลื่อยมือ
         เป็นเครื่องมือที่ใช้กันโดยทั่วไปในงานช่างในบ้านเบื้องต้นคือ ใช้สาหรับตัดวัสดุชนิดต่าง ๆ หรือใช้สาหรับ
บากชิ้นงาน เราสามารถที่จะแบ่งชนิดของเลื่อยได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ เลื่อยที่ใช้ในงานช่างไม้ก่อสร้าง เช่น เลื่อย
ลันดา เลื่อยรอปากไม้ เลื่อยอก และที่ใช้ในงานช่างอุตสาหกรรม เช่น เลื่อยตัดเหล็ก
          การใช้เลื่อยและวิธีการเลื่อย
       1. ก่อนเลื่อยทุกครั้งควรจะขีดทาเครื่องหมายที่วัสดุตามต้องการเสียก่อนทุกครั้ง
        2. ในกรณีที่เลื่อยวัสดุที่เป็นแผ่นบางต้องมีอุปกรณ์จับยึดชิ้นงานให้คงที่
        3. ถ้าต้องการตัดท่อโลหะกลมควรทาเครื่องหมายหรือขีดรอยไว้ให้รอบโดยใช้แถบวัดพันรอบแล้วใช้เหล็ก
ขีดขีดตามแนวที่ต้องการ
        4. ในการตัดวัสดุที่เป็นโลหะควรใช้เลื่อยที่ใช้กับการตัดโลหะ และในทานองเดียวกันวัสดุ
อื่น ๆ เช่น ไม้ พลาสติก ควรใช้เลื่อยชนิดที่ใช้กับงานไม้ เช่น เลื่อยลันดา เลื่อยฉลุ
        5. ในกรณีที่ต้องการตัดวัสดุที่มีความหนาควรใช้เลื่อยชนิดที่มีฟันห่าง ทั้งนี้เพื่อจะทาให้
เศษผงวัสดุจากการเลื่อยหลุดออกจากฟันเลื่อยได้ง่าย ไม่ติดอยู่ที่ฟัน
        6. เมื่อตัดวัสดุใกล้จะขาดควรชะลอระยะชักให้ช้าลง เพื่อป้องกันการฉีกขาดของวัสดุด้านล่าง
          การเก็บและบารุงรักษา
        1. หลังจากใช้งานแล้วควรทาความสะอาดทุกครั้ง โดยเฉพาะส่วนคมตัดควรใช้น้ามันทาไว้บาง ๆ เพื่อ
ป้องกันการเกิดสนิม
        2. ไม่ควรวางเลื่อยไว้กับพื้นอาจเกิดอันตรายจากการเดินเหยียบหรือกระแทกกับส่วนคมของใบเลื่อยได้
        3. ในกรณีใช้เลื่อยตัดเหล็กที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม หลังจากใช้งานควรคลายสกรูปรับความตึงของใบเลื่อย
ออก เพื่อป้องกันมิให้เกิดการตึงผิวของใบเลื่อยมากไป จะทาให้อายุการใช้งานของใบเลื่อยน้อยลง
        4. เลื่อยเป็นเครื่องมือที่มีคมควรจะเก็บไว้ในที่ปลอดภัยและแยกออกจากเครื่องมือชนิด
อื่น ๆ
ค้อน




       ค้อน จัดเป็นเครื่องมือประเภทตอกตีโลหะ ใช้กับงานช่างทั่ว ๆ ไปมีส่วนประกอบ 2 ส่วนใหญ่ คือ ส่วนหัว
และส่วนด้าม
          ประเภทของค้อน
       1. ค้อนหน้าแข็ง ได้แก่ ค้อนหงอน ค้อนเหลี่ยม ค้อนหัวกลม มักจะใช้กับงานตอก งานตีอัด งานตีขึ้นรูป
       2. ค้อนหน้าอ่อน ได้แก่ ค้อนพลาสติก ค้อนยาง มักจะใช้กับงานประกอบผลิตภัณฑ์ในขั้นสุดท้ายหรืองาน
ตกแต่งผิวให้เข้ารูปทรง
          การใช้ค้อน
         ควรจับที่ส่วนปลายของด้ามจณะที่ตอกทั้งนี้เพื่อให้น้าหนักในการตอกตกลงที่หัวค้อน
ได้มาก และยังผ่อนแรงในการตอกได้อีกด้วย
          การเก็บและการบารุงรักษา
       พวกค้อนที่มีหัวทาด้วยโลหะ (เหล็ก) หลังจากใช้งานแล้ว ควรเช็ดให้สะอาด และทาด้วยน้ามัน เก็บไว้ในที่
เก็บเครื่องมือส่วนค้อนหัวยางและพลาสติก หลังจากใช้งานแล้วควรเช็ดให้สะอาด เก็บไว้ในที่เก็บเครื่องมือ อย่าให้
ถูกแตดหรือความร้อน
สว่าน
          สว่านเป็นเครื่องมือที่จัดอยู่ในประเภทเครื่องเจาะ ใช้ในงานช่างหลายประเภท เช่น งานช่างไฟฟ้า งานช่าง
ไม้เฟอร์นิเจอร์
          ประเภทของสว่าน
       1. สว่านข้อเสือ (Brace Drill) ส่วนใหญ่จะใช้กับงานช่างไม้ เช่น งานเจาะ รูเดือย หัวจับดอกสว่านสามารถ
ปรับขนาดได้ให้เหมาะสมกับดอกสว่านที่จะใช้




       2. สว่านเฟืองหรือสว่านจาน (Hand Drill) สว่านชนิดนี้มักใช้กับงานเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่สามารถที่จะใช้งานหนัก
ได้ เช่น เจาะแป้นสวิตช์ไฟฟ้าหรืองานเจาะเพื่อยึดสกรู
3. สว่านมือหรือบิดหล่า (Gimlet Bits) ใช้กับงานเจาะนาร่องก่อนที่จะใช้สกรูขันยึด
เหมาะกับการปฏิบัติงานในสถานที่คับแคบ และเจาะวัสดุที่มีเนื้ออ่อน




        การใช้สว่าน
        1. ก่อนที่จะเจาะควรทาเครื่องหมายบริเวณที่จะเจาะเสียก่อน
        2. ขณะเจาะต้องตั้งดอกสว่านให้ตั้งฉากกับชิ้นงานทุกครั้ง
        3. ควรคลายดอกสว่านกลับให้เศษวัสดุออกบ้างทั้งนี้เพื่อลดแรงกดขณะปฏิบัติงาน
และยังป้องกันดอกสว่านหักได้อีกด้วย
        การเก็บและการบารุงรักษา
      1. หลังจากใช้งานทุกครั้งควรทาความสะอาดและทาน้ามันบาง ๆ ทุกส่วนของสว่านที่ต้องเคลื่อนไหวหรือขัด
สีกัน
      2. ขณะเจาะต้องตั้งดอกสว่านให้ตั้งฉากกับชิ้นงานที่จะเจาะเสมอ
      3. ควรถอดดอกสว่านออกจากตัวสว่านทุกครั้งหลังจากใช้งานเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
ขณะหยิบใช้งาน และเก็บไว้ในที่ปลอดภัย

ไขควง




        ชนิดของไขควงแบ่งตามชนิดของปากไขควงได้ดังนี้
        1. ไขควงปากแบน (Standard Screw Driver) ใช้ขันสกรูที่มีลักษณะของร่องหัวสกรู
ตามแนวขวาง
        2. ไขควงสี่แฉก (Phillip Screw Driver) ใช้ขันสกรูที่มีลักษณะของร่องหัวสกรูเป็นรูปสี่แฉก
        การใช้ไขควงทางาน
        1. การใช้ไขควงขันสกรูควรจับที่ด้ามของไขควง
        2. ไม่ควรใช้คีมจับด้ามไขควงขันสกรู จะทาให้ด้ามไขควงชารุดได้
        3. ไม่ควรใช้ไขควงแทนสกัดหรือค้อน
        4. ไม่ควรใช้ไขควงที่เปื้อนน้ามันจะทาให้เกิดการพลาดพลั้งกระแทกมือได้
        5. ควรเลือกใช้ไขควงที่มีปากลักษณะเดียวกับชนิดของหัวสกรู
        เทคนิคในการคลายสกรูที่เป็นสนิม
        ใช้น้ามันหล่อลื่นหยอดและใช้ค้อนเคาะเบา ๆ ที่หัวสกรูทิ้งไว้สักครู่ จึงใช้ไขควงขันจะคลาย
ออกได้ง่าย
        การเก็บและการบารุงรักษา
        1. ควรเก็บไขควงไว้ตามร่องเก็บหรือแผงเครื่องมือ
        2. ควรแยกเก็บไว้จากเครื่องมือชนิดอื่น ๆ เนื่องจากไขควงมีปลายแหลม
        3. ไขควงที่มีปลายบิ่นสามารถที่จะปรับแต่งใหม่ได้ด้วยเครื่องเจียระไน
คีม
        คีมเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับจับยึด ตัด ดัดงอ มักจะทาจากเหล็กเครื่องมือ (Tool Steel) ด้ามอาจหุ้มฉนวน
หรือบางชนิดก็ไม่หุ้มฉนวน ถ้าเป็นคีมที่ใช้กับงานไฟฟ้าด้ามต้องหุ้มฉนวนเพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้าดูด
        ชนิดของคีมและรูปแบบการใช้งาน
        1. คีมปากจระเข้ด้ามยาง (Electric Pliers) ใช้สาหรับงานตัด จับยึด ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับงานช่างไฟฟ้า เช่น
การตัดสาย การพันสายเข้าด้วยกัน


       2. คีมตัด (Side Cutting Pliers) ใช้สาหรับงานตัดและงานปอกสายไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่ปากของคีมมีร่อง
สาหรับใช้ปอกสายชนิดสายอ่อนและสายขนาดเล็ก ๆ



         3. คีมปากแหลม (Long Nosed Pliers) ใช้กับงานช่างทั่ว ๆ ไป และเหมาะกับการจับยึด
สิ่งของเล็ก ๆ หรืองานที่ต้องทาในพื้นที่จากัด
การเก็บและการบารุงรักษา
       1. ไม่ควรใช้คีมขันสกรูหรือสลักเกลียวจะทาให้ปากของคีมเยินได้
       2. คีมแต่ละชนิดต้องใช้ถูกประเภท เช่น คีมตัดก็ควรใช้กับงานตัด
       3. หลังจากใช้งานต้องทาความสะอาดและทาน้ามันตรงจุดหมุนของคีมเสมอ
       4. ไม่ควรใช้คีมไปเคาะแทนค้อนจะทาให้ปากคีมเลื่อน ใช้งานได้ไม่ดี
       5. คีมที่ใช้กับงานไฟฟ้าควรตรวจดูฉนวนหุ้มด้ามว่ามีสภาพเรียนร้อยหรือไม่
ตะไบ



         ตะไบเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับงานโลหะ ตะไบทาด้วยเหล็กกล้าชนิดพิเศษ ใช้ในงานแต่งผิวให้เรียบหรือ
อาจใช้สาหรับตบแต่งชิ้นงานให้ได้ขนาดตามต้องการ ถ้าเป็นตะไบชนิดหยาบจะมีฟันสองทางสามารถที่จะใช้ตะไบ
ผิวของโลหะได้เร็ว คือ ตัดผิวโลหะได้เร็วกว่าตะไบละเอียดดังนั้นงานแต่งผิวเรียบมักจะใช้ตะไบหยาบก่อน
หลังจากนั้นจึงตะไบอีกครั้งด้วยตะไบละเอียด
         การใช้ตะไบในการทางาน
         1. ตะไบทุกอันที่จะใช้ต้องมีด้ามจับเสมอเพื่อป้องกันอันตราย
         2. ในการตะไบต้องจับยึดชิ้นงานที่จะตะไบให้แน่นด้วยเครื่องมือจับยึด เช่น ปากกา
หรือใช้แคล้มยึด
         3. ควรเลือกตะไบให้ถูกต้องกับชนิดและขนาดของงาน
         4. ขณะตะควรออกแรงถูไปข้างหน้าแล้วยกกลับมาที่เดิม แล้วเริ่มถูไปข้างหน้าเช่นนี้
เรื่อยไป ไม่ควรถูกลับไปกลับมาจะทาให้คมตัดของตะไปเสีย
         5. เมื่อทาการตะไบจะมีเศษโลหะติดอยู่ที่ร่องของฟันตะไบ ควรใช้แปรงสาหรับงานตะไบ
ถูเศษโลหะออก เพื่อป้องกันเศษโลหะจะไปครูดโลหะที่เราตะไบทาให้ชิ้นงานเป็นรอย
         6. ไม่ควรใช้น้ามันทาหล่อลื่นตะไบ เพราะจะทาให้ฟันตะไบไม่ตัดเศษโลหะ
ประแจ
         ประแจเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับขันยึดหรือคลายสลักเกลียว ประแจที่ใช้ในงานช่างพื้นฐานทั่ว ๆ ไปแบ่ง
ได้เป็น 2 ประเภท คือ ชนิดปรับความกว้างของปากประแจได้และชนิดที่ปากของประแจไม่สามารถปรับได้
         ชนิดของประแจ
         1. ประแจชนิดปรับความกว้างของปากได้ เช่น ประแจเลื่อน

       2. ประแจชนิดปรับความกว้างของปากไม่ได้ เช่นประแจปากตาย ประแจแหวน
การใช้งานที่ถูกต้องและปลอดภัย
       1. ในการขันสลักเกลียวด้วยประแจควรขันเข้าหาตัวทุกครั้ง
       2. ควรใช้ประแจให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน และควรใช้ประแจที่มีปากกว้างพอดีกับหัว
ของสลักเกลียว
       3. ไม่ควนใช้ประแจแทนค้อนหรือใช้งัดสิ่งของจะทาให้ประแจหักได้
       4. หลังจากใช้งานควรทาความสะอาดทุกครั้ง
       5. ไม่ควรใช้ท่อโลหะต่อสวมด้ามของประแจเพื่อใช้ขันยึดสกรู จะทาให้ประแจหักได้
       6. ในการเก็บประแจควรแขวนไว้เป็นหมวดหมู่ไม่ควรเก็บรวมกับเครื่องมือประเภทอื่นๆ

เครื่องมือวัดระยะ
         เครื่องมือวัดระยะ หมายถึง สิ่งที่ใช้วัดระยะความยางและวัดระดับต่างๆ เช่น ตลับเมตร ฉากใช้กับงานช่าง
ทุกชนิดโดยเฉพาะงานสร้างอาคารบ้านเรือน งานไม้เฟอร์นิเจอร์ และงานช่างอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการทาสิ่งของเครื่องใช้
         ตลับเมตร




       ตลับเมตร เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวัดระยะสายวัดภายในตลับเมตรทาด้วยโลหะที่มี
การสปริงตัวได้ดี วัดความยาวได้ 2 ระบบ คือ ระบบนิ้ว และเซนติเมตร
       ฉาก




        ฉาก ใช้สาหรับการวัดขนาดตั้งฉากของวัสดุสามารถที่จะวัดมุมได้ เช่น 45 องศา และมุม 90 องศา หรืออาจ
ใช้สาหรับตรวจสอบหน้าไม้
        การใช้งานและการบารุงรักษา
        1. ควรทาความสะอาดหลังจากการใช้ทุกครั้ง ควรใช้น้ามันทาไว้บาง ๆ เพื่อป้องกัน
การเกิดสนิม
        2. ไม่ควรทาเครื่องมือวัดระยะหล่นจะทาให้ชารุดและใช้วัดระยะได้ไม่ถูกต้อง
        3. ไม่ควรใช้ฉากเคาะหรืองัดสิ่งของ
        4. การใช้เครื่องมือวัดระยะไม่ควรจะโยนเครื่องมือ จะทาให้คลาดเคลื่อนได้
        5. หมั่นตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดเสมอ ๆ
        6. ไม่ควรวางรวมกับวัสดุหรือเครื่องมืออื่น ๆ ควรเก็บแยกออกต่างหาก
เครื่องมือไส หรือกบไสไม้




         เครื่องมือไส หรือกบไสไม้ คือเครื่องมือที่ใช้สาหรับปรับผิวของหน้าไม้ให้เรียบ ซึ่งปกติผิวหน้าไม้จะ
ขรุขระก่อนที่จะนามาใช้งานจึงต้องปรับแต่งให้เรียบเสียก่อน การปรับผิวของหน้าไม้ให้เรียบ ทาได้ 2 ลักษณะ คือ
การปรับผิวเรียบธรรมดาโดยใช้กบล้าง และการปรับผิวละเอียด
โดยใช้กบผิว
         กบล้าง
         ใช้สาหรับไสไม้ที่ผิวขรุขระหรือการปรับผิวธรรมดา ใบกบจะทามุมกับตัวกบประมาณ
45 องศา
         กบผิว
         ใช้สาหรับงานไสแต่งผิวเรียบชนิดระเอียดยิ่งขึ้น ใบกบจะทามุมกับตัวกบประมาณ
60 องศา
         การใช้งานและการบารุงรักษา
         1. ก่อนที่จะไสควรตรวจดูว่ามีสิ่งแปลกปลอมที่ไม้หรือไม่ เช่น ตะปู ลวด ดิน ถ้ามี
ควรเอาออกเสียก่อน
         2. การไสไม้ผิวขรุขระมาก ๆ ควรใช้กบล้างไสก่อนแล้วจึงใช้กบผิวไส
         3. การไสกบควรออกแรงที่มือทั้งสองข้างเท่า ๆ กัน
         4. ก่อนการไสควรจับยึดไม้ให้แน่น
         5. ไม่ควรปรับแต่งกบให้กินไม้มากเกินไป
         6. การปรับแต่งกบควรใช้ค้อนไม้เคาะที่ท้ายกบเบา ๆ ไม่ควรใช้โลหะเคาะ
         7. ไม่ควรวางกบตากแดดตากฝน จะทาให้ชารุดได้ง่าย
         8. หลังจากใช้งานเช็ดกบให้สะอาด ทาน้ามันกันสนิมที่ใบกบ
เครื่องมือเจาะ หรือสิ่ว




        เครื่องมือเจาะ หรือสิ่ว คือเครื่องมือที่ใช้สาหรับงานเจาะรู หรืออาจใช้แต่งผิวไม้ใช้ใน
ที่แคบ ๆ ไม่สามารถที่จะใช้เครื่องมืออื่น ๆ ได้ เช่น สิ่วใช้ในงานขุด เจาะ แต่งมุมหรือแต่งผิวไม้
สิ่วจะประกอบด้วยสาคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนด้ามและส่วนใบ
การใช้งานและการบารุงรักษา
1. ขณะใช้สิ่วควรจับที่ด้ามจับและตามองที่ปากสิ่ว
2. ควรแต่งคมสิ่วให้คมอยู่เสมอ
3. หลังจากใช้งานควรทาความสะอาดและทาน้ามันบาง ๆ ที่ปากสิ่ว
4. ไม่ควรใช้สิ่วงัดแงะสิ่งของที่เป็นโลหะจะทาให้คมสิ่วเสียได้
5. สิ่วจัดเป็นเครื่องมือที่มีคมขณะใช้งานควรระมัดระวัง ไม่ควรพกสิ่วไว้ที่ตัว
6. ควรเก็บสิ่วแยกออกจากเครื่องมือ ๆ หลังจากเลิกใช้งานแล้ว

More Related Content

What's hot (6)

ใบงานที่ 9-16 :)
ใบงานที่ 9-16 :)ใบงานที่ 9-16 :)
ใบงานที่ 9-16 :)
 
รูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานรูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงาน
 
รวม
รวมรวม
รวม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
4
44
4
 
9 4
9 49 4
9 4
 

Similar to ใบความรู้ช่าง

หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกพื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกReed Tradex
 
เครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdf
เครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdfเครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdf
เครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdfMiichan Ch
 
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์Thawinan Emsiranunt
 

Similar to ใบความรู้ช่าง (10)

01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
104
104104
104
 
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกพื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
 
เครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdf
เครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdfเครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdf
เครื่องมือช่างพื้นฐาน 5 ชนิด.pdf
 
9 15
9 159 15
9 15
 
9 15
9 159 15
9 15
 
ใบงานที่ 9-15
ใบงานที่ 9-15ใบงานที่ 9-15
ใบงานที่ 9-15
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Duangsuwun Lasadang

มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายDuangsuwun Lasadang
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานDuangsuwun Lasadang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานDuangsuwun Lasadang
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน FlowchartDuangsuwun Lasadang
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้Duangsuwun Lasadang
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าDuangsuwun Lasadang
 

More from Duangsuwun Lasadang (20)

111
111111
111
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
Multimedia
MultimediaMultimedia
Multimedia
 
1storyboard
1storyboard1storyboard
1storyboard
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน Flowchart
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
 
3
33
3
 
1
11
1
 
2
22
2
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
 

ใบความรู้ช่าง

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง เครื่องมือช่างเบื้องต้น เครื่องมือที่เราใช้กันในงานช่างในบ้านเบื้องต้นโดยทั่วไปมีมากมายหลายชนิด แต่จะกล่าวเฉพาะเครื่องมือ ที่จาเป็นและใช้ประจา ซึ่งพอจะแบ่งเป็นเครื่องมือแต่ละชนิดดังนี้ เลื่อยมือ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันโดยทั่วไปในงานช่างในบ้านเบื้องต้นคือ ใช้สาหรับตัดวัสดุชนิดต่าง ๆ หรือใช้สาหรับ บากชิ้นงาน เราสามารถที่จะแบ่งชนิดของเลื่อยได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ เลื่อยที่ใช้ในงานช่างไม้ก่อสร้าง เช่น เลื่อย ลันดา เลื่อยรอปากไม้ เลื่อยอก และที่ใช้ในงานช่างอุตสาหกรรม เช่น เลื่อยตัดเหล็ก การใช้เลื่อยและวิธีการเลื่อย 1. ก่อนเลื่อยทุกครั้งควรจะขีดทาเครื่องหมายที่วัสดุตามต้องการเสียก่อนทุกครั้ง 2. ในกรณีที่เลื่อยวัสดุที่เป็นแผ่นบางต้องมีอุปกรณ์จับยึดชิ้นงานให้คงที่ 3. ถ้าต้องการตัดท่อโลหะกลมควรทาเครื่องหมายหรือขีดรอยไว้ให้รอบโดยใช้แถบวัดพันรอบแล้วใช้เหล็ก ขีดขีดตามแนวที่ต้องการ 4. ในการตัดวัสดุที่เป็นโลหะควรใช้เลื่อยที่ใช้กับการตัดโลหะ และในทานองเดียวกันวัสดุ อื่น ๆ เช่น ไม้ พลาสติก ควรใช้เลื่อยชนิดที่ใช้กับงานไม้ เช่น เลื่อยลันดา เลื่อยฉลุ 5. ในกรณีที่ต้องการตัดวัสดุที่มีความหนาควรใช้เลื่อยชนิดที่มีฟันห่าง ทั้งนี้เพื่อจะทาให้ เศษผงวัสดุจากการเลื่อยหลุดออกจากฟันเลื่อยได้ง่าย ไม่ติดอยู่ที่ฟัน 6. เมื่อตัดวัสดุใกล้จะขาดควรชะลอระยะชักให้ช้าลง เพื่อป้องกันการฉีกขาดของวัสดุด้านล่าง การเก็บและบารุงรักษา 1. หลังจากใช้งานแล้วควรทาความสะอาดทุกครั้ง โดยเฉพาะส่วนคมตัดควรใช้น้ามันทาไว้บาง ๆ เพื่อ ป้องกันการเกิดสนิม 2. ไม่ควรวางเลื่อยไว้กับพื้นอาจเกิดอันตรายจากการเดินเหยียบหรือกระแทกกับส่วนคมของใบเลื่อยได้ 3. ในกรณีใช้เลื่อยตัดเหล็กที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม หลังจากใช้งานควรคลายสกรูปรับความตึงของใบเลื่อย ออก เพื่อป้องกันมิให้เกิดการตึงผิวของใบเลื่อยมากไป จะทาให้อายุการใช้งานของใบเลื่อยน้อยลง 4. เลื่อยเป็นเครื่องมือที่มีคมควรจะเก็บไว้ในที่ปลอดภัยและแยกออกจากเครื่องมือชนิด อื่น ๆ
  • 2. ค้อน ค้อน จัดเป็นเครื่องมือประเภทตอกตีโลหะ ใช้กับงานช่างทั่ว ๆ ไปมีส่วนประกอบ 2 ส่วนใหญ่ คือ ส่วนหัว และส่วนด้าม ประเภทของค้อน 1. ค้อนหน้าแข็ง ได้แก่ ค้อนหงอน ค้อนเหลี่ยม ค้อนหัวกลม มักจะใช้กับงานตอก งานตีอัด งานตีขึ้นรูป 2. ค้อนหน้าอ่อน ได้แก่ ค้อนพลาสติก ค้อนยาง มักจะใช้กับงานประกอบผลิตภัณฑ์ในขั้นสุดท้ายหรืองาน ตกแต่งผิวให้เข้ารูปทรง การใช้ค้อน ควรจับที่ส่วนปลายของด้ามจณะที่ตอกทั้งนี้เพื่อให้น้าหนักในการตอกตกลงที่หัวค้อน ได้มาก และยังผ่อนแรงในการตอกได้อีกด้วย การเก็บและการบารุงรักษา พวกค้อนที่มีหัวทาด้วยโลหะ (เหล็ก) หลังจากใช้งานแล้ว ควรเช็ดให้สะอาด และทาด้วยน้ามัน เก็บไว้ในที่ เก็บเครื่องมือส่วนค้อนหัวยางและพลาสติก หลังจากใช้งานแล้วควรเช็ดให้สะอาด เก็บไว้ในที่เก็บเครื่องมือ อย่าให้ ถูกแตดหรือความร้อน สว่าน สว่านเป็นเครื่องมือที่จัดอยู่ในประเภทเครื่องเจาะ ใช้ในงานช่างหลายประเภท เช่น งานช่างไฟฟ้า งานช่าง ไม้เฟอร์นิเจอร์ ประเภทของสว่าน 1. สว่านข้อเสือ (Brace Drill) ส่วนใหญ่จะใช้กับงานช่างไม้ เช่น งานเจาะ รูเดือย หัวจับดอกสว่านสามารถ ปรับขนาดได้ให้เหมาะสมกับดอกสว่านที่จะใช้ 2. สว่านเฟืองหรือสว่านจาน (Hand Drill) สว่านชนิดนี้มักใช้กับงานเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่สามารถที่จะใช้งานหนัก ได้ เช่น เจาะแป้นสวิตช์ไฟฟ้าหรืองานเจาะเพื่อยึดสกรู
  • 3. 3. สว่านมือหรือบิดหล่า (Gimlet Bits) ใช้กับงานเจาะนาร่องก่อนที่จะใช้สกรูขันยึด เหมาะกับการปฏิบัติงานในสถานที่คับแคบ และเจาะวัสดุที่มีเนื้ออ่อน การใช้สว่าน 1. ก่อนที่จะเจาะควรทาเครื่องหมายบริเวณที่จะเจาะเสียก่อน 2. ขณะเจาะต้องตั้งดอกสว่านให้ตั้งฉากกับชิ้นงานทุกครั้ง 3. ควรคลายดอกสว่านกลับให้เศษวัสดุออกบ้างทั้งนี้เพื่อลดแรงกดขณะปฏิบัติงาน และยังป้องกันดอกสว่านหักได้อีกด้วย การเก็บและการบารุงรักษา 1. หลังจากใช้งานทุกครั้งควรทาความสะอาดและทาน้ามันบาง ๆ ทุกส่วนของสว่านที่ต้องเคลื่อนไหวหรือขัด สีกัน 2. ขณะเจาะต้องตั้งดอกสว่านให้ตั้งฉากกับชิ้นงานที่จะเจาะเสมอ 3. ควรถอดดอกสว่านออกจากตัวสว่านทุกครั้งหลังจากใช้งานเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ขณะหยิบใช้งาน และเก็บไว้ในที่ปลอดภัย ไขควง ชนิดของไขควงแบ่งตามชนิดของปากไขควงได้ดังนี้ 1. ไขควงปากแบน (Standard Screw Driver) ใช้ขันสกรูที่มีลักษณะของร่องหัวสกรู
  • 4. ตามแนวขวาง 2. ไขควงสี่แฉก (Phillip Screw Driver) ใช้ขันสกรูที่มีลักษณะของร่องหัวสกรูเป็นรูปสี่แฉก การใช้ไขควงทางาน 1. การใช้ไขควงขันสกรูควรจับที่ด้ามของไขควง 2. ไม่ควรใช้คีมจับด้ามไขควงขันสกรู จะทาให้ด้ามไขควงชารุดได้ 3. ไม่ควรใช้ไขควงแทนสกัดหรือค้อน 4. ไม่ควรใช้ไขควงที่เปื้อนน้ามันจะทาให้เกิดการพลาดพลั้งกระแทกมือได้ 5. ควรเลือกใช้ไขควงที่มีปากลักษณะเดียวกับชนิดของหัวสกรู เทคนิคในการคลายสกรูที่เป็นสนิม ใช้น้ามันหล่อลื่นหยอดและใช้ค้อนเคาะเบา ๆ ที่หัวสกรูทิ้งไว้สักครู่ จึงใช้ไขควงขันจะคลาย ออกได้ง่าย การเก็บและการบารุงรักษา 1. ควรเก็บไขควงไว้ตามร่องเก็บหรือแผงเครื่องมือ 2. ควรแยกเก็บไว้จากเครื่องมือชนิดอื่น ๆ เนื่องจากไขควงมีปลายแหลม 3. ไขควงที่มีปลายบิ่นสามารถที่จะปรับแต่งใหม่ได้ด้วยเครื่องเจียระไน คีม คีมเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับจับยึด ตัด ดัดงอ มักจะทาจากเหล็กเครื่องมือ (Tool Steel) ด้ามอาจหุ้มฉนวน หรือบางชนิดก็ไม่หุ้มฉนวน ถ้าเป็นคีมที่ใช้กับงานไฟฟ้าด้ามต้องหุ้มฉนวนเพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้าดูด ชนิดของคีมและรูปแบบการใช้งาน 1. คีมปากจระเข้ด้ามยาง (Electric Pliers) ใช้สาหรับงานตัด จับยึด ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับงานช่างไฟฟ้า เช่น การตัดสาย การพันสายเข้าด้วยกัน 2. คีมตัด (Side Cutting Pliers) ใช้สาหรับงานตัดและงานปอกสายไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่ปากของคีมมีร่อง สาหรับใช้ปอกสายชนิดสายอ่อนและสายขนาดเล็ก ๆ 3. คีมปากแหลม (Long Nosed Pliers) ใช้กับงานช่างทั่ว ๆ ไป และเหมาะกับการจับยึด สิ่งของเล็ก ๆ หรืองานที่ต้องทาในพื้นที่จากัด
  • 5. การเก็บและการบารุงรักษา 1. ไม่ควรใช้คีมขันสกรูหรือสลักเกลียวจะทาให้ปากของคีมเยินได้ 2. คีมแต่ละชนิดต้องใช้ถูกประเภท เช่น คีมตัดก็ควรใช้กับงานตัด 3. หลังจากใช้งานต้องทาความสะอาดและทาน้ามันตรงจุดหมุนของคีมเสมอ 4. ไม่ควรใช้คีมไปเคาะแทนค้อนจะทาให้ปากคีมเลื่อน ใช้งานได้ไม่ดี 5. คีมที่ใช้กับงานไฟฟ้าควรตรวจดูฉนวนหุ้มด้ามว่ามีสภาพเรียนร้อยหรือไม่ ตะไบ ตะไบเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับงานโลหะ ตะไบทาด้วยเหล็กกล้าชนิดพิเศษ ใช้ในงานแต่งผิวให้เรียบหรือ อาจใช้สาหรับตบแต่งชิ้นงานให้ได้ขนาดตามต้องการ ถ้าเป็นตะไบชนิดหยาบจะมีฟันสองทางสามารถที่จะใช้ตะไบ ผิวของโลหะได้เร็ว คือ ตัดผิวโลหะได้เร็วกว่าตะไบละเอียดดังนั้นงานแต่งผิวเรียบมักจะใช้ตะไบหยาบก่อน หลังจากนั้นจึงตะไบอีกครั้งด้วยตะไบละเอียด การใช้ตะไบในการทางาน 1. ตะไบทุกอันที่จะใช้ต้องมีด้ามจับเสมอเพื่อป้องกันอันตราย 2. ในการตะไบต้องจับยึดชิ้นงานที่จะตะไบให้แน่นด้วยเครื่องมือจับยึด เช่น ปากกา หรือใช้แคล้มยึด 3. ควรเลือกตะไบให้ถูกต้องกับชนิดและขนาดของงาน 4. ขณะตะควรออกแรงถูไปข้างหน้าแล้วยกกลับมาที่เดิม แล้วเริ่มถูไปข้างหน้าเช่นนี้ เรื่อยไป ไม่ควรถูกลับไปกลับมาจะทาให้คมตัดของตะไปเสีย 5. เมื่อทาการตะไบจะมีเศษโลหะติดอยู่ที่ร่องของฟันตะไบ ควรใช้แปรงสาหรับงานตะไบ ถูเศษโลหะออก เพื่อป้องกันเศษโลหะจะไปครูดโลหะที่เราตะไบทาให้ชิ้นงานเป็นรอย 6. ไม่ควรใช้น้ามันทาหล่อลื่นตะไบ เพราะจะทาให้ฟันตะไบไม่ตัดเศษโลหะ ประแจ ประแจเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับขันยึดหรือคลายสลักเกลียว ประแจที่ใช้ในงานช่างพื้นฐานทั่ว ๆ ไปแบ่ง ได้เป็น 2 ประเภท คือ ชนิดปรับความกว้างของปากประแจได้และชนิดที่ปากของประแจไม่สามารถปรับได้ ชนิดของประแจ 1. ประแจชนิดปรับความกว้างของปากได้ เช่น ประแจเลื่อน 2. ประแจชนิดปรับความกว้างของปากไม่ได้ เช่นประแจปากตาย ประแจแหวน
  • 6. การใช้งานที่ถูกต้องและปลอดภัย 1. ในการขันสลักเกลียวด้วยประแจควรขันเข้าหาตัวทุกครั้ง 2. ควรใช้ประแจให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน และควรใช้ประแจที่มีปากกว้างพอดีกับหัว ของสลักเกลียว 3. ไม่ควนใช้ประแจแทนค้อนหรือใช้งัดสิ่งของจะทาให้ประแจหักได้ 4. หลังจากใช้งานควรทาความสะอาดทุกครั้ง 5. ไม่ควรใช้ท่อโลหะต่อสวมด้ามของประแจเพื่อใช้ขันยึดสกรู จะทาให้ประแจหักได้ 6. ในการเก็บประแจควรแขวนไว้เป็นหมวดหมู่ไม่ควรเก็บรวมกับเครื่องมือประเภทอื่นๆ เครื่องมือวัดระยะ เครื่องมือวัดระยะ หมายถึง สิ่งที่ใช้วัดระยะความยางและวัดระดับต่างๆ เช่น ตลับเมตร ฉากใช้กับงานช่าง ทุกชนิดโดยเฉพาะงานสร้างอาคารบ้านเรือน งานไม้เฟอร์นิเจอร์ และงานช่างอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการทาสิ่งของเครื่องใช้ ตลับเมตร ตลับเมตร เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวัดระยะสายวัดภายในตลับเมตรทาด้วยโลหะที่มี การสปริงตัวได้ดี วัดความยาวได้ 2 ระบบ คือ ระบบนิ้ว และเซนติเมตร ฉาก ฉาก ใช้สาหรับการวัดขนาดตั้งฉากของวัสดุสามารถที่จะวัดมุมได้ เช่น 45 องศา และมุม 90 องศา หรืออาจ ใช้สาหรับตรวจสอบหน้าไม้ การใช้งานและการบารุงรักษา 1. ควรทาความสะอาดหลังจากการใช้ทุกครั้ง ควรใช้น้ามันทาไว้บาง ๆ เพื่อป้องกัน การเกิดสนิม 2. ไม่ควรทาเครื่องมือวัดระยะหล่นจะทาให้ชารุดและใช้วัดระยะได้ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรใช้ฉากเคาะหรืองัดสิ่งของ 4. การใช้เครื่องมือวัดระยะไม่ควรจะโยนเครื่องมือ จะทาให้คลาดเคลื่อนได้ 5. หมั่นตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดเสมอ ๆ 6. ไม่ควรวางรวมกับวัสดุหรือเครื่องมืออื่น ๆ ควรเก็บแยกออกต่างหาก
  • 7. เครื่องมือไส หรือกบไสไม้ เครื่องมือไส หรือกบไสไม้ คือเครื่องมือที่ใช้สาหรับปรับผิวของหน้าไม้ให้เรียบ ซึ่งปกติผิวหน้าไม้จะ ขรุขระก่อนที่จะนามาใช้งานจึงต้องปรับแต่งให้เรียบเสียก่อน การปรับผิวของหน้าไม้ให้เรียบ ทาได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับผิวเรียบธรรมดาโดยใช้กบล้าง และการปรับผิวละเอียด โดยใช้กบผิว กบล้าง ใช้สาหรับไสไม้ที่ผิวขรุขระหรือการปรับผิวธรรมดา ใบกบจะทามุมกับตัวกบประมาณ 45 องศา กบผิว ใช้สาหรับงานไสแต่งผิวเรียบชนิดระเอียดยิ่งขึ้น ใบกบจะทามุมกับตัวกบประมาณ 60 องศา การใช้งานและการบารุงรักษา 1. ก่อนที่จะไสควรตรวจดูว่ามีสิ่งแปลกปลอมที่ไม้หรือไม่ เช่น ตะปู ลวด ดิน ถ้ามี ควรเอาออกเสียก่อน 2. การไสไม้ผิวขรุขระมาก ๆ ควรใช้กบล้างไสก่อนแล้วจึงใช้กบผิวไส 3. การไสกบควรออกแรงที่มือทั้งสองข้างเท่า ๆ กัน 4. ก่อนการไสควรจับยึดไม้ให้แน่น 5. ไม่ควรปรับแต่งกบให้กินไม้มากเกินไป 6. การปรับแต่งกบควรใช้ค้อนไม้เคาะที่ท้ายกบเบา ๆ ไม่ควรใช้โลหะเคาะ 7. ไม่ควรวางกบตากแดดตากฝน จะทาให้ชารุดได้ง่าย 8. หลังจากใช้งานเช็ดกบให้สะอาด ทาน้ามันกันสนิมที่ใบกบ เครื่องมือเจาะ หรือสิ่ว เครื่องมือเจาะ หรือสิ่ว คือเครื่องมือที่ใช้สาหรับงานเจาะรู หรืออาจใช้แต่งผิวไม้ใช้ใน ที่แคบ ๆ ไม่สามารถที่จะใช้เครื่องมืออื่น ๆ ได้ เช่น สิ่วใช้ในงานขุด เจาะ แต่งมุมหรือแต่งผิวไม้ สิ่วจะประกอบด้วยสาคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนด้ามและส่วนใบ
  • 8. การใช้งานและการบารุงรักษา 1. ขณะใช้สิ่วควรจับที่ด้ามจับและตามองที่ปากสิ่ว 2. ควรแต่งคมสิ่วให้คมอยู่เสมอ 3. หลังจากใช้งานควรทาความสะอาดและทาน้ามันบาง ๆ ที่ปากสิ่ว 4. ไม่ควรใช้สิ่วงัดแงะสิ่งของที่เป็นโลหะจะทาให้คมสิ่วเสียได้ 5. สิ่วจัดเป็นเครื่องมือที่มีคมขณะใช้งานควรระมัดระวัง ไม่ควรพกสิ่วไว้ที่ตัว 6. ควรเก็บสิ่วแยกออกจากเครื่องมือ ๆ หลังจากเลิกใช้งานแล้ว