SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
กฎหมาย
                                                                     อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
                                                                     โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


       ความหมายของกฎหมาย
       กฎหมาย หมายถึงขอบังคับ หรือกฎเกณฑที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อควบคุมความประพฤติของ
ประชาชนใหปฏิบัติตามเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม หากผูใดไมปฏิบัติตามยอมมีความผิด
และถูกลงโทษ

        ที่มาของกฎหมาย กฎหมายมีที่มาอยู 2 ทาง คือ
        1. มาจากจารีตประเพณี ที่มนุษยในสังคมไดประพฤติและปฏิบัติมาเปนเวลาชานาน โดยไม
ขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
        2. มาจากตัวบทกฎหมาย เปนกฎหมายที่เปนลายลักษณอักษร ที่ตราขึ้นโดยผูที่มีอํานาจสูงสุด
ภายในรัฐนั้นๆ
       ระบบกฎหมาย มี 2 ระดับ คือ
       1. ระบบจารีตประเพณี คือ กฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร อาศัยจารีตประเพณีหรือคํา
พิพากษาของศาล โดยใชเหตุผลของนักกฎหมายเปนหลัก เชน กฎหมายในประเทศอังกฤษ และ
ประเทศในเครือจักรภพ
       2. ระบบลายลักษณอักษร คือ กฎหมายที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะเปนตัวบทและ
ประมวลกฎหมายที่เขียน หรือพิมพเปนลายลักษณอักษร เปนหมวดหมู ซึ่งมีประวัติมาจากกฎหมาย
โรมัน โดยระบบกฎหมายแบบนี้นิยมใชกันในประเทศตางๆ
       ลักษณะของกฎหมาย
       1. เปนกฎ หรือขอบังคับที่ใชไดทั่วไปในรัฐหรือประเทศนั้น
       2. ตองใชบังคับตลอดไป จนกวาจะมีกฎหมายอื่นมายกเลิก
       3. ตองตราขึ้นโดยผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐ
       4. ตองมีสภาพบังคับ
       5. ตองไมมีการบังคับยอนหลัง




                                                                                             1
              สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
ความสําคัญของกฎหมาย
       1. เพื่อใหสังคมเปนระเบียบแบบแผน
       2. เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในสังคม
       3. เพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยในสังคม
         ประเภทของกฎหมาย กฎหมายถาแบงตามขอความกฎหมาย แบงได 3 ประเภท คือ
         1. กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนในฐานะ
เทาเทียมกัน เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายที่ดน    ิ
         2. กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐ หรือ หนวยงานของรัฐ
กับเอกชน อันไดแก ราษฎรทั่วไป ในฐานะที่รัฐเปนฝายปกครองที่มีอํานาจเหนือกวาราษฎร กฎหมาย
มหาชน ไดแก กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวาดวยพระธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม กฎหมายวาดวยพิจารณาความอาญา
         3. กฎหมายระหวางประเทศ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐ หรือ
ประชาชนในรัฐหนึ่งกับประชาชนอีกรัฐหนึ่ง โดยถือวารัฐนี้มีฐานะเปนนิตบุคคลตามกฎหมายระหวาง
                                                                    ิ
ประเทศ กฎหมายระหวางประเทศแบงออกเปน 3 แผนก คือ
            1) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง
            2) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล
            3) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญา
        กฎหมายรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครอง และเปนแมบทแหงกฎหมายทั้งปวง
โดยที่กฎหมายอื่นจะขัดแยงกับรัฐธรรมนูญไมได ถือวาเปนโมฆะ ในกรณีที่มีกฎหมายมาขัดแยงกับ
รัฐธรรมนูญใหตุลาการรัฐธรรมนูญตีความ
       สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ
       1. กําหนดรูปแบบการปกครองของรัฐ และอํานาจอธิปไตย
       2. กําหนดความสัมพันธระหวางองคกรทางการเมือง
       3. กําหนด สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของปวงชนชาวไทย
       พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายทีพระมหากษัตริยทรงตราขึนโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา
                                   ่                     ้
       กระบวนการในการจัดทําพระราชบัญญัติ
       – ผูเสนอ ไดแก คณะรัฐมนตรี หรือ ส.ส. (อยางนอย 20 คน) ประชาชน 50,000 คน
       – ผูพิจารณา ไดแก สภาผูแทนราษฎร




                                                                                        2
             สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
1. สภาผูแทนราษฎร โดยพิจารณาเปน 3 วาระ คือ
                วาระที่ 1 เรียกวา ขั้นรับหลักการ
                วาระที่ 2 เรียกวา ขั้นแปรญัตติ
                วาระที่ 3 เรียกวา ขั้นลงมติ
          2. วุฒิสภา โดยมีการพิจารณาเปน 3 วาระเชนเดียวกัน
          3. ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย มีผลบังคับใชเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว
          ประมวลกฎหมาย มีศักดิ์เทากับพระราชบัญญัติ ซึ่งถูกตราขึ้นโดยฝายนิติบัญญัติแตแตกตาง
จากพระราชบัญญัตคอ ประมวลกฎหมายนันเปนการรวบรวมบัญญัตของกฎหมายในเรืองใหญๆ มารวม
                    ิื                  ้                    ิ                ่
ไวที่เดียวกัน โดยจัดแบงเปนบรรพหรือภาคลักษณะ และหมวด เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลรัษฎากร เปนตน
      พระราชกําหนด คือกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี
      เงื่อนไขในการออกพระราชกําหนด
      1. ในกรณีที่มีความจําเปนรีบดวน อันถือวาเปนเหตุฉุกเฉินในอันที่จะรักษาความปลอดภัย
สาธารณสุข หรือปองปดภัยพิบัติ
      2. เปนกฎหมายชั่วคราว
      กระบวนการในการจัดทําพระราชกําหนด
      – ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีจะรักษาการตามพระราชกําหนด
      – ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี
      – ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย
      – มีผลบังคับใช เมื่อประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว
        พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี
มี 2 ประเภท คือ
        1. พระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ร.บ.ให
อํานาจฝายบริหาร คือ ค.ร.ม.ออกพระราชกฤษฎีกากําหนดรายละเอียดตามกฎหมายแมบทนั้นๆ
        2. พระราชกฤษฎีกาที่พระมหากษัตริยทรงใชพระราชอํานาจโดยไมขัดตอรัฐธรรมนูญ เชน
พระราชกฤษฎีกาคาเชาบานของขาราชการ เปนตน
       กระบวนการจัดทําพระราชกฤษฎีกา
       – ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีที่จะรักษาการตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ที่ออกโดยพระราชกฤษฎีกา
       – ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี
       – ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย


                                                                                            3
              สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
– มีผลบังคับใช ไดแก ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

      กฎกระทรวง คือ กฎหมายที่ออกโดยรัฐมนตรีตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพื่อใหเปน
ไปตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ที่กําหนดใหออกเปนรายละเอียด
       กระบวนการในการจัดทํากฎกระทรวง
       - ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีที่จะรักษาการตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ซึ่งกําหนดใหออกกฎกระทรวง
       - ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี
       - ผูตรา ไดแก รัฐมนตรีผูรักษาการตาม พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ก.
       - มีผลบังคับใชเมื่อประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว
        ประเภทของกฎหมายที่แบงตามลักษณะความผิด แบงได 2 ประเภท
        1. ความผิดอาญา การกระทําความผิดทางอาญา คือ ภาระกระทําที่กระทบกระเทือนตอความ
สงบเรียบรอยของสังคมโดยรวม ความผิดทางอาญากําหนดไว 5 สถาน คือ ประหารชีวิต จําคุก กักขัง
ปรับ ริบทรัพย
        2. ความผิดทางแพง คือ การกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย จะไมมี
โทษทางอาญา เพราะเปนเรื่องสิทธิและหนาที่ โดยจะมีการปรับไหมหรือการปรับเปนเงิน เปนตน

       กระบวนการยุติธรรมทางการศาล มี 2 ประเภท
       1. กระบวนการยุติธรรมทางอาญา คือ ขั้นตอนในการดําเนินการเขาสูการพิจารณาของศาล
อาญา
       2. กระบวนการยุติธรรมทางแพง คือ ขั้นตอนในการดําเนินการเขาสูการพิจารณาของศาลแพง
       สภาพบุคคล หมายถึง การที่เด็กทารกคลอดมาจากครรภมารดาแลวมีชีวิตอยูรอด
       นิติบุคคล คือ บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น เพื่อใหมีฐานะเปนนิติบุคคล มี 6 ประเภทคือ
       1. กระทรวง ทบวง กรม
       2. วัดที่ไดจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. สงฆ
       3. หางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว
       4. บริษัทจํากัด
       5. สมาคม
       6. มูลนิธิ
       กฎหมายมรดก มีสาระสําคัญดังนี้
       ก. ความหมายของมรดก มีบรรดาทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย ตลอดจนสิทธิและหนาที่ที่
ตองการรับผิดชอบตางๆ

                                                                                             4
             สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
ข. ทายาทของผูมีสิทธิรับมรดก มีกําหนด 2 ประการ คือ
           1. ทายาทตามพินัยกรรม
           2. ทายาทโดยธรรม
               ก) ทายาทที่เปนคูสมรส มีสิทธิรับมรดกไดเสมอ แมวาผูตายจะมีทายาทระดับใดก็ตาม
               ข) ทายาทที่เปนญาติ มี 6 อันดับ ดังนี้
                   1. ผูสืบสันดาน ลูก หลาน เหลน ลื้อ
                   2. บิดา มารดา
                   3. พี่นองรวมบิดามารดา
                           
                   4. พี่นองรวมบิดาเดียวกันหรือมารดาเดียวกัน
                   5. ปู ยา ตา ยาย
                   6. ลุง ปา นา อา
                   ญาติที่พนจาก 6 ระดับนี้ไมมีสิทธิรับมรดกเลย



     กฎหมายแพงที่ควรรู


กฎหมายบุคคล

การแจงเกิด            ตองแจงภายใน 15 วัน หากไมแจงจะเสียคาปรับ 200 บาท ถาไมทราบ
                       วัน เดือน ป เกิด ใหถือเอาวันที่ 1 มกราคมของปนั้นเปนปเกิด
การแจงตาย             ตองแจงภายใน 24 ช.ม. ถาไมแจงเสียคาปรับ 200 บาท
การตั้งชื่อ            ไมควรเปนภาษาตางประเทศ คําอุทาน คําหยาบ และตองไมพองจองกับ
                       พระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี ราชทินนาม
ชื่อ – สกุล            ถือเอาทางบิดา
สัญชาติ                ถาบิดาเปนคนไทย หรือเกิดในไทยถือสัญชาติไทย
                       หญิงตางชาติท่เี คยแตงงานกับชาวไทย ก็อาจขอแปลงเปนสัญชาติไทยไดตาม
                       เงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด
บรรลุนิติภาวะ          เมื่ออายุครบ 20 ปบริบูรณ หรือสมรสเมื่ออายุ 17 ปขึ้นไป
อสังหาริมทรัพย        ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได เชน ที่ดิน บาน โรงเรียน ซึ่งรวมทั้งสิ่งตางๆ ที่ประกอบ
                       เปนอันหนึ่งอันเดียวกับที่ดินนั้น เชน กรวด ดิน แรธาตุ
สังหาริมทรัพย         ทรัพยที่เคลื่อนที่ได

                                                                                                            5
                 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
การซื้อขาย            ในการซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือทํานิติกรรมใดๆ เกี่ยวกับสังหาริมทรัพยตองมี 
                      การจดทะเบียนตอเจาพนักงาน
โมฆกรรม               คือนิติกรรมที่เสียเปลา ไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิทธิใดๆ จะเปนโมฆะได
                      ตองเกิดจากเจตนาทําใหเขาใจผิดหรือหลอกลวง
โมฆียกรรม             คือนิติกรรมที่สมบูรณจนกวาจะถูกบอกลางโดยเกิดจากการขมขู ฉอโกง การ
                      บอกลางโมฆียกรรมตองทําภายใน 1 ปนับจากทําสัญญา
การซื้อขาย            คือสัญญาที่ผูขายโอนกรรมสิทธิ์แหงทรัพยใหผูซื้อ และผูซื้อยอมชําระราคาให
                      ผูขายเปนขอแลกเปลี่ยน
การฝากขาย             เปนการขายทรัพยที่ตกลงวาผูขายอาจไถทรัพยคืนได ถาหลุดก็ไมตองฟองรอง
                      บังคับคดีใดๆ
การไถทรัพย          ถาสังหาริมทรัพย กําหนดเวลาไดไมเกิน 3 ป ขยายเวลาไมได
                      ถาอสังหาริมทรัพยกําหนดเวลาไดไมเกิน 10 ป ขยายเวลาไมได
                      ถาไมกําหนดเวลาใหถือราคาเทาที่ขายฝาก
การเชาทรัพย         การเชาอสังหาริมทรัพยเชาไดไมเกินครั้งละ 30 ป หากผูเชาผิดสัญญาติดตอกัน 2
                      ครั้ง ถือเปนการผิดขอตกลง ผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญา ทรัพยจะเปนของเจา
                      ของได
การเชาซื้อ           เปนการตกลงทําสัญญา โดยผูเชาอาจเปลี่ยนเปนเจาของไดเมื่อชําระคาเชางวด
                      สุดทายแลว และใหผูใหเชามีสิทธิคิดดอกเบี้ยพรอมเงินตนไดไมเกินรอยละ 15
                      ตอป
การกู                คิดดอกเบี้ยรอยละไมเกิน 15% ตอป ถาเกินปรับ 1,000 บาท หรือจําคุก 1 ป
                      และไดแตตน ดอกเบี้ยไมได
จํานอง                ไมตองสงมอบทรัพยแกผูรับจํานอง ทรัพยสินที่จํานองไดแก อสังหาริมทรัพยทุก
                      ประเภท สังหาริมทรัพยบางประเภท เชน แพ สัตวพาหนะ เรือกําปน

      ผูรับจํานองจะยึดทรัพยไดในกรณี
           – ขาดสงติดตอกันเกิน 5 ป
           – ตองไมไปจํานองรายอื่นอีก
           – ไมไดแสดงใหเห็นถึงจํานวนเงินตนที่ชําระตอศาล
จํานอง – กําหนดราคารายละไมเกิน 1,000 บาท ถาเกินตองใชกฎหมายพาณิชยแทน
           – โรงรับจํานําถาตนไมเกิน 2,000 บาท คิดดอกเบี้ยไดรอยละ 24% ตอป หรือ
           – รอยละ 2 ได ถามากกวาคิดรอย 1.2 , 5 หรือรอยละ 15% ตอป


                                                                                                   6
                สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
กฎหมายอาญา


ความผิดลหุ               จําคุกไมเกิน 1 เดือน ปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือทั้งปรับทั้งจํา
ผูสนับสนุนฆาคน         ถาเจตนามีโทษประหาร หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือ 15–20 ป ถาประหารจะได
                         แกความผิด เชน ฆาบุพการี
ฆาเจาพนักงาน           ฆาโดยไมเจตนาตองโทษ 3 – 15 ป
                         ฆาโดยประมาท จําคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับ 20,000 บาท
                         ถาทํารายรางกายหรือจิตใจ จําคุกไมเกิน 1 เดือน หรือปรับ 1,000 บาท
ลักทรัพย                ตองโทษไมเกิน 3 ป หรือปรับ 6,000 บาท
                         ถาทําใหเสียทรัพย ตองโทษ 3 ป หรือปรับ 6,000 บาท
ทหาร                     ชายไทยอายุ 16 ปบริบูรณ ตองขึ้นบัญชีกองเกินภายในเดือนพฤศจิกายนของ
                         ทุกปที่มีอายุครบ
                         อายุครบ 21 ป รับหมายเรียกในภูมิลําเนารับราชการ 2 ป
                         จําคุก 3 ป หากไมไปรายงานตัว
บัตรประชาชน              ตองรองขอทําบัตรตั้งแตอายุ 15 ปบริบูรณ จนถึง 70 ป

        บุคคลที่ไมตองทําบัตรประชาชน
        1. พระมหากษัตริย พระราชินี
        2. พระบรมวงศานุวงศ ตั้งแตชั้นพระองคเจา
        3. องคมนตรี
        4. ขาราชการทุกฝาย
        5. กํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน
        6. พระภิกษุ สามเณร นักบวช นักพรต
        7. กรรมการอิสลามแหงประเทศไทยและกรรมการอิสลามประจําจังหวัด
        8. ผูมีรางกายพิการ เดินไมได หรือใบ ตาบอดทั้ง 2 ขาง
        9. จิตวิปลาส
       10. ผูตองขัง




                                                                                           7
                 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
ขอทดสอบ

1. เมือองคกรใดสงสัยวา ขอบังคับภายในองคกรทีออกตามกฎหมายมหาชนจะขัดแยงกับรัฐธรรมนูญหรือ
      ่                                          ่
    ไม จะสงใหฝายใดตอไปนี้พิจารณา
    1. ศาลรัฐธรรมนูญ                                2. ศาลปกครอง
    3. รัฐสภา                                       4. ศาลยุตธรรม
                                                              ิ
2. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ
    1. มีหนาที่วนิจฉัยวากฎหมายใดขัดแยงรัฐธรรมนูญหรือไม
                   ิ
    2. พิจารณาขอปญหาทางกฎหมาย หรือการศาลในกรณีสําคัญๆ
    3. คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูคัดเลือกและแตงตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
    4. ผูดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตองเปนผูเชี่ยวชาญทางดานกฎหมายและรัฐศาสตร
 3. ชาวบานที่ไดรับผลกระทบที่ภาคราชการจายคาเวนคืนที่ดินไมเปนไปตามขอกําหนดในการสราง
        เขื่อนราษีไศล ชาวบานความนําเรื่องนี้ไปใหองคกรใดพิจารณา
        1. สมัชชาคนจน                               2. ศาลรัฐธรรมนูญ
        3. ศาลปกครอง                                4. ศาลจังหวัดศรีษะเกษ
4. คดีพิพาทระหวางประชาชนกับเจาหนาที่ของรัฐ จะตองฟองรองกันที่ศาลใด
    1. ศาลแพง                                      2. ศาลอาญา
    3. ศาลปกครอง                                    4. ศาลประชาชน
5. ขอใดเปนประโยชนสูงสุดของประชาชนที่ไดรับจากการที่มีศาลปกครอง
    1. ประชาชนมีศาลใหฟองรองไดมากขึ้น รวดเร็วขึ้น
                             
    2. ประชาชนไดรับการปกปองสิทธิผลประโยชนของตนเองมากขึ้น
    3. ประชาชนมีอิสระและเสรีภาพตามกฎหมายมากขึ้น
    4. ประชาชนสามารถฟองรองหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจได
6. ลําดับชั้นศาลของไทยขอใดถูกตอง
    1. ศาลแขวง ศาลแพง ศาลฎีกา                      2. ศาลอาญา ศาลอุทธรณ ศาลฎีกา
    3. ศาลแพง ศาลอาญา ศาลฎีกา                      4. ศาลชั้นตน ศาลชั้นกลาง ศาลฎีกา
7. การแตงตั้งโยกยาย ถอดถอนผูพิพากษาในศาลยุติธรรมเปนอํานาจหนาที่ของสถาบันใด
    1. คณะกรรมการตุลาการ                            2. กระทรวงยุติธรรม
    3. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ                         4. ประธานรัฐสภา




                                                                                        8
             สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
8. ขอใดไมใชอํานาจของฝายตุลาการในระบอบประชาธิปไตย
    1. ผูพิพากษามีอิสระในการพิพากษาคดี
    2. ผูพิพากษาตราพระราชบัญญัติเพิ่มเติมในการพิจารณาพิพากษา
    3. ผูพิพากษามีอํานาจในการตีความตามกฎหมาย เพื่อการพิจารณาคดี
    4. ผูพิพากษาจะตองพิจารณาคดีตางๆ ตามลําดับชั้นศาล
9. บุคคลที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คือขอใด
    1. ตํารวจ อัยการ ศาล พนักงานบังคับคดี
    2. อัยการ พนักงานคุมประพฤติ ศาล พนักงานบังคับคดี
    3. ตํารวจ อัยการ พนักงานคุมประพฤติ ศาล
    4. ตํารวจ ทนายความ ศาล พนักงานบังคับคดี
10. ขอใดอธิบายความหมายของอัยการไดดีที่สุด
     1. ทนายแผนดิน                                   2. ทนายผูถูกกลาวหา
     3. ทนายของผูเสียหาย                             4. พนักงานสอบสวน
11. เจาหนาที่ซึ่งทําหนาที่บังคับคดีอาญาเพื่อใหมีการคุมขังผูกระทําผิดนั้นคือใคร
     1. พนักงานอัยการ                                 2. ผูพิพากษา
     3. เจาพนักงานศาล                                4. พนักงานราชทัณฑ
12. ขอใดไมใช เรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมายแพง
     1. การพรากผูเยาว                               2. การจํานํา และการจํานอง
     3. การคํ้าประกัน และการเชาซื้อ                  4. การขายฝาก และการกูยืม
13. ถาเจาของบานไดรับความเสียหายจากการกระทําของคนงานของบริษัทรับเหมาในการกอสราง
     อาคารสูง เขาจะตองนําคดีไปฟองตอศาลใด
     1. ศาลแพง                                       2. ศาลอาญา
     3. ศาลปกครอง                                     4. ศาลแรงงานกลาง
14. หนวยงานใดไมเกี่ยวของกับการดําเนินคดีทางแพง
     1. กรมบังคับคดี                                  2. ศาลจังหวัด
     3. ศาลแขวง                                       4. กรมคุมประพฤติ
15. บุคคลในขอใดตอไปนี้ที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางแพง
     1. พนักงานพิทักษทรัพย                          2. พนักงานคุมประพฤติ
     3. พนักงานสอบสวน                                 4. พนักงานราชทัณฑ
16. การบังคับคดีใหเปนไปตามกฎหมายนั้น มีวิธีบังคับอยางไร
     1. กักขัง ปรับเปนเงินเขารัฐ                    2. ชดใชคาเสียหาย และกักขัง
     3. ชดใชคาเสียหาย และลงโทษทางอาญา 4. ริบทรัพย และจําคุก

                                                                                       9
             สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
17. กระบวนการยุติธรรมทางการศาลขอใดตอไปนี้ที่ไมถูกตอง
     1. ผูพิพากษามีอิสระในการตัดสินคดี ภายใตกฎหมายกําหนดเทานั้น
     2. กระบวนการรับผิดชอบทางแพง และกระบวนการรับผิดทางอาญาไมมีความแตกตางกัน
     3. กระบวนการยุติธรรมทางการศาลจะเกิดไดตองมีผูเสียหายเริ่มดําเนินคดีกอนทุกครั้ง
                                                                                
     4. พนักงานพิทักษทรัพยและพนักงานคุมประพฤติมีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษา
         ของศาล
18. ขอใดแสดงการเรียงลําดับชั้นของกฎหมายไดถูกตองที่สุด
     1. พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎทบวง ประกาศกระทรวง
     2. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประมวลกฎหมาย
     3. รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด ประมวลกฎหมาย ประกาศกระทรวง
     4. พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด ประกาศทบวง ประมวลกฎหมาย
19. กฎหมายฉบับใดกําหนดโครงสรางทางการเมืองการปกครอง และความสัมพันธของสถาบันทาง
     การเมือง
     1. พระราชกฤษฎีกา                            2. พระราชบัญญัติ
     3. ประกาศคณะปฏิวติ  ั                       4. รัฐธรรมนูญ
20. อํานาจในการบังคับใชกฎหมาย เชน พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด จะเริ่มตนไดเมื่อใด
     1. ภายหลังที่พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย
     2. ภายหลังการลงมติของคณะรัฐมนตรี
     3. ภายหลังการอนุมัติของรัฐสภา
     4. ภายหลังการประกาศในราชกิจจานุเบกษา
21. ผูใดมีสิทธิเสนอรางพระราชบัญญัติปรับปรุงพระราชบัญญัติของพระสงฆในปจจุบัน
      1. กรมการศาสนา
      2. มหาเถรสมาคม
      3. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร
      4. พระสงฆชั้นพระราชาคณะขึ้นไป
22. กลุมบุคคลในขอใดตอไปนี้ที่ไมมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญในการเสนอรางพระราชบัญญัติ
     1. คณะรัฐมนตรี
     2. สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง
     3. สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่พรรคการเมืองใหความเห็นชอบแลว
     4. ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งและไดไปใชสิทธิเลือกตั้งเขาชื่อกันจํานวนหาหมื่นคน




                                                                                        10
             สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
23. ขอใดเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร
     1. พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง กฎมนเทียรบาล
     2. รัฐธรรมนูญ ธรรมนูญการปกครอง ประกาศกระทรวง
     3. พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประกาศกระทรวง
     4. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง พระราชกําหนด
24. ในกรณีที่บานเมืองตกอยูในภาวะฉุกเฉิน มีความจําเปนตองใชกฎหมายเพื่อรักษาความปลอดภัยของ
     ประชาชนอยางเรงดวน รัฐบาลมีอํานาจออกกฎหมายประเภทใดขึ้นมาใช
      1. กฎกระทรวง                             2. พระราชกําหนด
      3. พระราชกฤษฎีกา                         4. พระราชบัญญัติ
25. การประกาศยุบสภาเพื่อใหมีการเลือกตั้งใหม รัฐบาลจะตองออกเปนกฎหมายประเภทใด
     1. พระราชกฤษฎีกา                          2. พระราชกําหนด
     3. พระราชบัญญัติ                          4. พระราชกิจจานุเบกษา
26. ขอใดคือความหมายของพระราชกฤษฎีกา
     1. กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา
     2. กฎหมายที่ตราขึ้นโดยรัฐมนตรีผูรักษาการในกระทรวงนั้น เพื่อขยายความในพระราชบัญญัติ
     3. กฎหมายที่พระมหากษัตริยตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของคณะรัฐมนตรี
     4. กฎหมายที่พระมหากษัตริยตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของคณะรัฐมนตรีโดยไมขัดตอ
        พระราชบัญญัติหรือรัฐธรรมนูญ
27. การที่กรุงเทพมหานครประกาศหามประชาชนทิ้งขยะในที่สาธารณะ เพื่อใหมีผลบังคับใช ตองตรา
     เปนกฎหมายใด
    1. กฎหมายสิ่งแวดลอม                       2. กฎกระทรวง
    3. เทศบัญญัติ                              4. ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร
28. ความหมายทั่วไปของกฎหมาย คือขอใด
     1. ขอบังคับของรัฐ                        2. บรรทัดฐานในสังคม
     3. จารีตประเพณี                           4. กฎเกณฑของสังคม
29. ขอใดมิใชลกษณะสําคัญของกฎหมาย
                ั
     1. จะตองมีสภาพบังคับ
     2. จะตองมีกระบวนการในการจัดทํากฎหมาย
     3. จะตองมีผลบังคับเปนการทั่วไป
     4. จะตองมีประสิทธิภาพในการบังคับไดดีกวากลไกอื่นๆ ของสังคม




                                                                                         11
             สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
30. ประมวลกฎหมายของไทยนับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีลักษณะอยางไร
     1. มาจากปรัชญาทางศาสนา                         2. เปนกฎหมายลายลักษณอักษร
     3. มาจากคําพิพากษาของศาล                       4. เปนกฎหมายจารีตประเพณี
31. ขอใดตอไปนี้ที่ไมจัดวาเปนกฎหมายมหาชน
     1. กฎหมายปกครอง                                2. กฎหมายอาญา
     3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ                            4. กฎหมายแพงและพาณิชย
32. สิทธิของบุคคลเริ่มตั้งแตเมื่อใด
     1. เมื่อบิดามารดารับรองวาเปนบุตร
     2. เมื่ออยูในครรภมารดานับตั้งแตมารดาเริ่มตั้งครรภ
     3. เมื่อคลอดจากครรภมารดาดวยความปลอดภัย
     4. เมื่อบิดามารดาแจงการเกิดตอเจาหนาที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด
33. ขอใดไมมีฐานะเปนนิติบุคคล
     1. บริษัทจํากัด                                2. คณะนิติศาสตร
     3. วัดธรรมวิหารรี                              4. สมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย
34. ผูเยาวคือบุคคลขอใด
     1. นายอภิสิทธิ์ อายุ 18 ป มีบุตร 1 คน
     2. นายเนวิน เปนนิสิตจุฬาฯ อายุ 19 ป
     3. นายเฉลิม เปนทหารประจําการมาแลว 2 ป
     4. นางพรชิตา อายุ 17 ป จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายกับนายลําดวน
35. การกระทําในขอใดที่กฎหมายเวนโทษให
     1. นายสิทธิศักดิ์ อายุ 18 ป ขโมยเงินแมเพื่อไปเที่ยวลอยกระทง
     2. นายศิลานําเครื่องกรองนํ้าของโรงเรียนไปใชที่บาน
     3. คนรายชักมีดจะเขาแทงนายวิทวัส นายวิทวัส จึงชักปนยิงคนรายตาย
     4. นายอาจหาญ เขาไปในบานนายชวลิต โดยที่นายชวลิตไมไดเชิญ
36. การผิดสัญญาหมั้น ฝายเสียหายยอมมีสิทธิเรียกรองจากฝายที่ผิดสัญญาได ยกเวนเรื่องใด
     1. เรียกคาทดแทนความเสียหาย
     2. รองขอใหศาลบังคับใหมการสมรส
                                  ี
     3. ถาไมมีการสมรสอันเนื่องมาจากฝายหญิงผิดสัญญา ตองคืนของหมั้นใหฝายชาย
     4. ฝายชายเรียกสินสอดคืนจากฝายหญิงได ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิง




                                                                                           12
              สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
37. ชาย – หญิง คูใดสามารถสมรสกันไดตามกฎหมาย
     1. ชาย – หญิง รวมบิดาแตตางมารดา
     2. หญิงหยาจากคูสมรสเดิม นับกอนวันหยา 310 วัน
     3. พอบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมซึ่งหญิงบรรลุนิติภาวะแลว
     4. ฝายชายเปนลูกของพี่ชายพอแมฝายหญิง ฝายหญิงเปนลูกของนองชายพอฝายชาย
38. นาย ก และนาย ข เปนสามีภรรยากันโดยชอบดวยกฎหมาย ตอมานาย ก ไดเสียชีวิตและมี
     สินสมรสทั้งหมด 2,000,000 บาท แตนาย ก มีมารดาที่มีชีวิตอยูเพียงคนเดียว ตามกฎหมาย
     การแบงมรดกจะแบงกันอยางไร และเปนจํานวนเงินเทาไหร
     1. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 2,000,000 บาท แตผูเดียว
     2. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,500,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 500,000 บาท
     3. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,800,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 200,000 บาท
     4. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,000,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 1,000,000 บาท
39. การเรียงลําดับทายาทโดยธรรม ขอใดถูกตอง
        ก. ปู ยา ตา ยาย                          ข. ลุง ปา นา อา
        ค. พี่นอง รวมบิดามารดาเดียวกัน          ง. พี่นองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
        จ. ผูสืบสันดาน                           ฉ. บิดา มารดา
     1. จ ฉ ค ง ก ข                               2. จ ก ฉ ค ง ข
     3. จ ค ง ฉ ก ข                               4. จ ก ฉ ข ค ง
40. ขอใดไมใชการทํานิติกรรม
     1. ลูกทําพินัยกรรมยกทรัพยสินตางๆ ของตนใหแกบิดามารดา
     2. การนําสัญญาซื้อขายบาน และที่ดินไปจดทะเบียนตอเจาหนาที่ของรัฐ
     3. บริษัทดําดอทคอมทยื่นซองเสนอราคาเครื่องคอมพิวเตอรตอโรงเรียนเพื่อประกวดราคา
     4. ไมเคิล ติดตอทาทายัง เพื่อเสนอเขาเปนศิลปนของคายเพลงโคแอนดกระบือ
41. ภวาภพมีบานหนึ่งหลัง เรือกลไฟหนึ่งลํา รถบรรทุกหนึ่งคัน ชางหนึ่งเชือก ทรัพยสินในขอใดที่
    ภวาภพไมอาจนําไปจํานองประกันชําระหนี้ได
     1. บาน                                      2. ชาง
     3. เรือกลไฟ                                  4. รถบรรทุก




                                                                                                13
              สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
42. แอนขโมยโทรศัพทเคลื่อนที่ของโอกไปใช ตอมาแอนเกิดเปลี่ยนใจแอบนํามาคืนใหโอก กรณีดัง
    กลาวนี้แอนจะมีความผิดทางกฎหมายหรือไม
     1. ผิดฐานพยายามลักทรัพย ตองรับโทษสองในสาม
     2. ผิดฐานลักทรัพย ตองรับโทษตามกฎหมาย
     3. ไมผิดฐานลักทรัพย เพราะไดนํามาคืนแลว
     4. ไมผิดฐานพยายามลักทรัพย เพราะแกไขเพื่อลบลางความผิดแลว
43. สมชายอายุ 18 ปบริบูรณ มีสิทธิในการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
     ถาสมชายตองการที่จะทําสัญญาซื้อขายที่ดินใหมีผลสมบูรณในทางกฎหมายสมชายจะตองขอ
     ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมหรือไม เพราะเหตุใด
     1. ไมตองขอความยินยอม เพราะรัฐธรรมนูญรับรองสิทธิดังกลาวแลว
     2. ไมตองขอความยินยอม เพราะถือวาสมชายบรรลุนิติภาวะแลว
     3. ตองขอความยินยอม เพราะการซื้อขายที่ดินเปนการซื้อขายอสังหาริมทรัพยที่กฎหมาย
        บังคับใหตองจดทะเบียนจึงตองไดรับความยินยอมกอน
     4. ตองขอความยินยอม เพราะสมชายยังเปนผูเยาว จึงถูกจํากัดความสามารถในการทํา
        นิติกรรม
44. คดีตอไปนี้ขอใดเปนคดีแพง
     1. นายแดงและนายเขียวทะเลาะวิวาทกัน
     2. นายประกิตขับรถชนคนตายโดยเจตนา
     3. นางอุบลขอเปนผูจัดการมรดกของสามี
     4. นายสมัครนํากรรมกรในโรงงานประทวง และทําลายทรัพยสินโรงงาน
45. ขอใดตอไปนี้ไมใชกฎหมายแพง
     1. กฎหมายมรดก                                 2. กฎหมายครอบครัว
     3. กฎหมายปกครอง                               4. กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาตั๋วเงิน
46. พระภิกษุขาวมีความสัมพันธฐานชูสาวกับหญิงคนหนึ่งจนตั้งครรภ แลวคลอดบุตรมาคนหนึ่ง
     พระภิกษุขาวไมยอมรับวา เด็กที่เกิดจากหญิงคนนั้นเปนบุตรของตน มารดาเด็กมีสิทธิตาม
     กฎหมายอยางไร
     1. ฟองคดียังศาลขอใหพระภิกษุขาวรับเด็กเปนบุตร
     2. แจงความตอเจาหนาที่ตํารวจใหดําเนินคดีตอพระภิกษุขาว
     3. ฟองผูบงคับบัญชาของพระภิกษุขาวใหดําเนินการทางวินัยตอพระภิกษุขาวกอน
                ั
     4. แจงนายทะเบียนฝายปกครองใหจดทะเบียนรับเด็กเปนบุตร




                                                                                         14
              สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
47. การเปดบอนเสรีเกี่ยวของกับกฎหมายในขอใดมากที่สุด เพราะเหตุใด
     1. กฎหมายแพง เพราะการเลนพนันเปนเรื่องของเอกชนกับเอกชน
     2. กฎหมายปกครอง เพราะการเลนพนันตองเสียคาธรรมเนียมใหแกรัฐ
     3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะเปนเรื่องเกี่ยวกับเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
     4. กฎหมายอาญา เพราะการเลนพนันในบอนที่ไดรับอนุญาตไมเปนความผิดทางอาญา
48. ขอใดเปนความผิดฐานวิ่งราวทรัพย
     1. ยักยอกทรัพยของผูอื่นแลววิ่งหนีไป
     2. ลักทรัพยของผูอื่นแลวหนีไป
     3. ลักทรัพยของผูอ่นโดยการฉกฉวยเอาซึ่งหนา
                          ื
     4. ชิงทรัพยของผูอื่นจนไดทรัพยของผูนั้นไป
49. นางสาวอวนกลุมใจนํ้าหนักขึ้นทุกวัน อยากใหนํ้าหนักลดลงอยางรวดเร็ว จึงไปหาแพทยเพื่อดูด
    ไขมันออก โดยที่แพทยยืนยันวาปลอดภัย ขณะที่ทําการดูดไขมันนางสาวอวนถึงแกความตายเพราะ
    มีโรคแทรก แพทยจะมีความผิดหรือไมอยางไร
      1. ผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา                    2. ผิดฐานฆาคนตายโดยไมเจตนา
      3. ผิดฐานฆาคนตายโดยประมาท                   4. ไมผิดเพราะเปนอุบัติเหตุ
50. บุคคลในขอใดที่จําเปนตองมีบัตรประจําตัวประชาชน
     1. พระภิกษุ                                   2. บุคคลที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป
     3. ขาราชการและนักโทษ                         4. บุคคลที่มอายุเกิน 70 ปขึ้นไป
                                                                ี
51. ขอใดเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพ
     1. การมีบุคลากรที่มีคุณภาพ                    2. การมีบุคลากรอยางพอเพียง
     3. ความรวมมือของประชาชน                      4. การมีศาลที่มีปริมาณเพียงพอกับประชาชน




                                                                                         15
              สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร

More Related Content

What's hot

สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายSmith Kamcharoen
 
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วอ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...อ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954CUPress
 
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับสรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับNoppawit Lertutsahakul
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายmarena06008
 

What's hot (20)

การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
กฎหมายลักษณะมรดกครั้งที่๑
กฎหมายลักษณะมรดกครั้งที่๑กฎหมายลักษณะมรดกครั้งที่๑
กฎหมายลักษณะมรดกครั้งที่๑
 
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรมการรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
มรดก
มรดกมรดก
มรดก
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954
 
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับสรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 

Viewers also liked

การดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นการดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นNiwat Yod
 
Y2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentationY2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentationabnercash
 
הסוזן התוכנית לחטוף את בגין
הסוזן   התוכנית לחטוף את בגיןהסוזן   התוכנית לחטוף את בגין
הסוזן התוכנית לחטוף את בגיןhaimkarel
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouterguest2f17d3
 
JudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear AndroidJudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear AndroidDaniel Passos
 
การแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศ
การแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศการแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศ
การแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Plan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikeaPlan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikeaoscargaliza
 
Handout Max Dekker Inleiding30 11
Handout Max Dekker Inleiding30 11Handout Max Dekker Inleiding30 11
Handout Max Dekker Inleiding30 11guest2f17d3
 
EDFN 302 Tech Tool Jenny Martineza
EDFN 302 Tech Tool   Jenny MartinezaEDFN 302 Tech Tool   Jenny Martineza
EDFN 302 Tech Tool Jenny Martinezajam86tvl
 
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...oscargaliza
 
Estonia Power Point
Estonia Power PointEstonia Power Point
Estonia Power Pointguestfc17a1
 
Рекламируйтесь с нами
Рекламируйтесь с намиРекламируйтесь с нами
Рекламируйтесь с намиAeroSvit Airlines
 
Guia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitalesGuia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitalesMANUEL RIVERA
 

Viewers also liked (20)

การดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นการดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้น
 
Y2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentationY2e rewardsclub-payplan-presentation
Y2e rewardsclub-payplan-presentation
 
הסוזן התוכנית לחטוף את בגין
הסוזן   התוכנית לחטוף את בגיןהסוזן   התוכנית לחטוף את בגין
הסוזן התוכנית לחטוף את בגין
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
JudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear AndroidJudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear Android
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
การแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศ
การแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศการแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศ
การแก้ปัญหาและร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับชุมชนและประเทศ
 
Plan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikeaPlan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikea
 
Handout Max Dekker Inleiding30 11
Handout Max Dekker Inleiding30 11Handout Max Dekker Inleiding30 11
Handout Max Dekker Inleiding30 11
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
EDFN 302 Tech Tool Jenny Martineza
EDFN 302 Tech Tool   Jenny MartinezaEDFN 302 Tech Tool   Jenny Martineza
EDFN 302 Tech Tool Jenny Martineza
 
written shot by shot
written shot by shotwritten shot by shot
written shot by shot
 
Tisa social and mobile security
Tisa social and mobile securityTisa social and mobile security
Tisa social and mobile security
 
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรป
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรปสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรป
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรป
 
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
 
Estonia Power Point
Estonia Power PointEstonia Power Point
Estonia Power Point
 
Рекламируйтесь с нами
Рекламируйтесь с намиРекламируйтесь с нами
Рекламируйтесь с нами
 
LFI to RCE Exploit with Perl Script
LFI to RCE Exploit with Perl ScriptLFI to RCE Exploit with Perl Script
LFI to RCE Exploit with Perl Script
 
Guia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitalesGuia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitales
 

Similar to กฎหมาย

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวMac Legendlaw
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540por
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์Chor Chang
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์Chor Chang
 

Similar to กฎหมาย (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
พ.ร.บ
พ.ร.บพ.ร.บ
พ.ร.บ
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

กฎหมาย

  • 1. กฎหมาย อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ความหมายของกฎหมาย กฎหมาย หมายถึงขอบังคับ หรือกฎเกณฑที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อควบคุมความประพฤติของ ประชาชนใหปฏิบัติตามเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม หากผูใดไมปฏิบัติตามยอมมีความผิด และถูกลงโทษ ที่มาของกฎหมาย กฎหมายมีที่มาอยู 2 ทาง คือ 1. มาจากจารีตประเพณี ที่มนุษยในสังคมไดประพฤติและปฏิบัติมาเปนเวลาชานาน โดยไม ขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน 2. มาจากตัวบทกฎหมาย เปนกฎหมายที่เปนลายลักษณอักษร ที่ตราขึ้นโดยผูที่มีอํานาจสูงสุด ภายในรัฐนั้นๆ ระบบกฎหมาย มี 2 ระดับ คือ 1. ระบบจารีตประเพณี คือ กฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร อาศัยจารีตประเพณีหรือคํา พิพากษาของศาล โดยใชเหตุผลของนักกฎหมายเปนหลัก เชน กฎหมายในประเทศอังกฤษ และ ประเทศในเครือจักรภพ 2. ระบบลายลักษณอักษร คือ กฎหมายที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะเปนตัวบทและ ประมวลกฎหมายที่เขียน หรือพิมพเปนลายลักษณอักษร เปนหมวดหมู ซึ่งมีประวัติมาจากกฎหมาย โรมัน โดยระบบกฎหมายแบบนี้นิยมใชกันในประเทศตางๆ ลักษณะของกฎหมาย 1. เปนกฎ หรือขอบังคับที่ใชไดทั่วไปในรัฐหรือประเทศนั้น 2. ตองใชบังคับตลอดไป จนกวาจะมีกฎหมายอื่นมายกเลิก 3. ตองตราขึ้นโดยผูมีอํานาจสูงสุดในรัฐ 4. ตองมีสภาพบังคับ 5. ตองไมมีการบังคับยอนหลัง 1 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 2. ความสําคัญของกฎหมาย 1. เพื่อใหสังคมเปนระเบียบแบบแผน 2. เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในสังคม 3. เพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยในสังคม ประเภทของกฎหมาย กฎหมายถาแบงตามขอความกฎหมาย แบงได 3 ประเภท คือ 1. กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนในฐานะ เทาเทียมกัน เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายที่ดน ิ 2. กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐ หรือ หนวยงานของรัฐ กับเอกชน อันไดแก ราษฎรทั่วไป ในฐานะที่รัฐเปนฝายปกครองที่มีอํานาจเหนือกวาราษฎร กฎหมาย มหาชน ไดแก กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวาดวยพระธรรมนูญ ศาลยุติธรรม กฎหมายวาดวยพิจารณาความอาญา 3. กฎหมายระหวางประเทศ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐ หรือ ประชาชนในรัฐหนึ่งกับประชาชนอีกรัฐหนึ่ง โดยถือวารัฐนี้มีฐานะเปนนิตบุคคลตามกฎหมายระหวาง ิ ประเทศ กฎหมายระหวางประเทศแบงออกเปน 3 แผนก คือ 1) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 2) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3) กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญา กฎหมายรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครอง และเปนแมบทแหงกฎหมายทั้งปวง โดยที่กฎหมายอื่นจะขัดแยงกับรัฐธรรมนูญไมได ถือวาเปนโมฆะ ในกรณีที่มีกฎหมายมาขัดแยงกับ รัฐธรรมนูญใหตุลาการรัฐธรรมนูญตีความ สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ 1. กําหนดรูปแบบการปกครองของรัฐ และอํานาจอธิปไตย 2. กําหนดความสัมพันธระหวางองคกรทางการเมือง 3. กําหนด สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของปวงชนชาวไทย พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายทีพระมหากษัตริยทรงตราขึนโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ่  ้ กระบวนการในการจัดทําพระราชบัญญัติ – ผูเสนอ ไดแก คณะรัฐมนตรี หรือ ส.ส. (อยางนอย 20 คน) ประชาชน 50,000 คน – ผูพิจารณา ไดแก สภาผูแทนราษฎร 2 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 3. 1. สภาผูแทนราษฎร โดยพิจารณาเปน 3 วาระ คือ วาระที่ 1 เรียกวา ขั้นรับหลักการ วาระที่ 2 เรียกวา ขั้นแปรญัตติ วาระที่ 3 เรียกวา ขั้นลงมติ 2. วุฒิสภา โดยมีการพิจารณาเปน 3 วาระเชนเดียวกัน 3. ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย มีผลบังคับใชเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ประมวลกฎหมาย มีศักดิ์เทากับพระราชบัญญัติ ซึ่งถูกตราขึ้นโดยฝายนิติบัญญัติแตแตกตาง จากพระราชบัญญัตคอ ประมวลกฎหมายนันเปนการรวบรวมบัญญัตของกฎหมายในเรืองใหญๆ มารวม ิื ้ ิ ่ ไวที่เดียวกัน โดยจัดแบงเปนบรรพหรือภาคลักษณะ และหมวด เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลรัษฎากร เปนตน พระราชกําหนด คือกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี เงื่อนไขในการออกพระราชกําหนด 1. ในกรณีที่มีความจําเปนรีบดวน อันถือวาเปนเหตุฉุกเฉินในอันที่จะรักษาความปลอดภัย สาธารณสุข หรือปองปดภัยพิบัติ 2. เปนกฎหมายชั่วคราว กระบวนการในการจัดทําพระราชกําหนด – ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีจะรักษาการตามพระราชกําหนด – ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี – ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย – มีผลบังคับใช เมื่อประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี มี 2 ประเภท คือ 1. พระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ร.บ.ให อํานาจฝายบริหาร คือ ค.ร.ม.ออกพระราชกฤษฎีกากําหนดรายละเอียดตามกฎหมายแมบทนั้นๆ 2. พระราชกฤษฎีกาที่พระมหากษัตริยทรงใชพระราชอํานาจโดยไมขัดตอรัฐธรรมนูญ เชน พระราชกฤษฎีกาคาเชาบานของขาราชการ เปนตน กระบวนการจัดทําพระราชกฤษฎีกา – ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีที่จะรักษาการตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ที่ออกโดยพระราชกฤษฎีกา – ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี – ผูตรา ไดแก พระมหากษัตริย 3 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 4. – มีผลบังคับใช ไดแก ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา กฎกระทรวง คือ กฎหมายที่ออกโดยรัฐมนตรีตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพื่อใหเปน ไปตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ที่กําหนดใหออกเปนรายละเอียด กระบวนการในการจัดทํากฎกระทรวง - ผูเสนอ ไดแก รัฐมนตรีที่จะรักษาการตาม พ.ร.บ. , พ.ร.ก. ซึ่งกําหนดใหออกกฎกระทรวง - ผูพิจารณา ไดแก คณะรัฐมนตรี - ผูตรา ไดแก รัฐมนตรีผูรักษาการตาม พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ก. - มีผลบังคับใชเมื่อประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลว ประเภทของกฎหมายที่แบงตามลักษณะความผิด แบงได 2 ประเภท 1. ความผิดอาญา การกระทําความผิดทางอาญา คือ ภาระกระทําที่กระทบกระเทือนตอความ สงบเรียบรอยของสังคมโดยรวม ความผิดทางอาญากําหนดไว 5 สถาน คือ ประหารชีวิต จําคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย 2. ความผิดทางแพง คือ การกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย จะไมมี โทษทางอาญา เพราะเปนเรื่องสิทธิและหนาที่ โดยจะมีการปรับไหมหรือการปรับเปนเงิน เปนตน กระบวนการยุติธรรมทางการศาล มี 2 ประเภท 1. กระบวนการยุติธรรมทางอาญา คือ ขั้นตอนในการดําเนินการเขาสูการพิจารณาของศาล อาญา 2. กระบวนการยุติธรรมทางแพง คือ ขั้นตอนในการดําเนินการเขาสูการพิจารณาของศาลแพง สภาพบุคคล หมายถึง การที่เด็กทารกคลอดมาจากครรภมารดาแลวมีชีวิตอยูรอด นิติบุคคล คือ บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น เพื่อใหมีฐานะเปนนิติบุคคล มี 6 ประเภทคือ 1. กระทรวง ทบวง กรม 2. วัดที่ไดจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. สงฆ 3. หางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว 4. บริษัทจํากัด 5. สมาคม 6. มูลนิธิ กฎหมายมรดก มีสาระสําคัญดังนี้ ก. ความหมายของมรดก มีบรรดาทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย ตลอดจนสิทธิและหนาที่ที่ ตองการรับผิดชอบตางๆ 4 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 5. ข. ทายาทของผูมีสิทธิรับมรดก มีกําหนด 2 ประการ คือ 1. ทายาทตามพินัยกรรม 2. ทายาทโดยธรรม ก) ทายาทที่เปนคูสมรส มีสิทธิรับมรดกไดเสมอ แมวาผูตายจะมีทายาทระดับใดก็ตาม ข) ทายาทที่เปนญาติ มี 6 อันดับ ดังนี้ 1. ผูสืบสันดาน ลูก หลาน เหลน ลื้อ 2. บิดา มารดา 3. พี่นองรวมบิดามารดา  4. พี่นองรวมบิดาเดียวกันหรือมารดาเดียวกัน 5. ปู ยา ตา ยาย 6. ลุง ปา นา อา ญาติที่พนจาก 6 ระดับนี้ไมมีสิทธิรับมรดกเลย กฎหมายแพงที่ควรรู กฎหมายบุคคล การแจงเกิด ตองแจงภายใน 15 วัน หากไมแจงจะเสียคาปรับ 200 บาท ถาไมทราบ วัน เดือน ป เกิด ใหถือเอาวันที่ 1 มกราคมของปนั้นเปนปเกิด การแจงตาย ตองแจงภายใน 24 ช.ม. ถาไมแจงเสียคาปรับ 200 บาท การตั้งชื่อ ไมควรเปนภาษาตางประเทศ คําอุทาน คําหยาบ และตองไมพองจองกับ พระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี ราชทินนาม ชื่อ – สกุล ถือเอาทางบิดา สัญชาติ ถาบิดาเปนคนไทย หรือเกิดในไทยถือสัญชาติไทย หญิงตางชาติท่เี คยแตงงานกับชาวไทย ก็อาจขอแปลงเปนสัญชาติไทยไดตาม เงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด บรรลุนิติภาวะ เมื่ออายุครบ 20 ปบริบูรณ หรือสมรสเมื่ออายุ 17 ปขึ้นไป อสังหาริมทรัพย ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได เชน ที่ดิน บาน โรงเรียน ซึ่งรวมทั้งสิ่งตางๆ ที่ประกอบ เปนอันหนึ่งอันเดียวกับที่ดินนั้น เชน กรวด ดิน แรธาตุ สังหาริมทรัพย ทรัพยที่เคลื่อนที่ได 5 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 6. การซื้อขาย ในการซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือทํานิติกรรมใดๆ เกี่ยวกับสังหาริมทรัพยตองมี  การจดทะเบียนตอเจาพนักงาน โมฆกรรม คือนิติกรรมที่เสียเปลา ไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิทธิใดๆ จะเปนโมฆะได ตองเกิดจากเจตนาทําใหเขาใจผิดหรือหลอกลวง โมฆียกรรม คือนิติกรรมที่สมบูรณจนกวาจะถูกบอกลางโดยเกิดจากการขมขู ฉอโกง การ บอกลางโมฆียกรรมตองทําภายใน 1 ปนับจากทําสัญญา การซื้อขาย คือสัญญาที่ผูขายโอนกรรมสิทธิ์แหงทรัพยใหผูซื้อ และผูซื้อยอมชําระราคาให ผูขายเปนขอแลกเปลี่ยน การฝากขาย เปนการขายทรัพยที่ตกลงวาผูขายอาจไถทรัพยคืนได ถาหลุดก็ไมตองฟองรอง บังคับคดีใดๆ การไถทรัพย ถาสังหาริมทรัพย กําหนดเวลาไดไมเกิน 3 ป ขยายเวลาไมได ถาอสังหาริมทรัพยกําหนดเวลาไดไมเกิน 10 ป ขยายเวลาไมได ถาไมกําหนดเวลาใหถือราคาเทาที่ขายฝาก การเชาทรัพย การเชาอสังหาริมทรัพยเชาไดไมเกินครั้งละ 30 ป หากผูเชาผิดสัญญาติดตอกัน 2 ครั้ง ถือเปนการผิดขอตกลง ผูเชาสามารถบอกเลิกสัญญา ทรัพยจะเปนของเจา ของได การเชาซื้อ เปนการตกลงทําสัญญา โดยผูเชาอาจเปลี่ยนเปนเจาของไดเมื่อชําระคาเชางวด สุดทายแลว และใหผูใหเชามีสิทธิคิดดอกเบี้ยพรอมเงินตนไดไมเกินรอยละ 15 ตอป การกู คิดดอกเบี้ยรอยละไมเกิน 15% ตอป ถาเกินปรับ 1,000 บาท หรือจําคุก 1 ป และไดแตตน ดอกเบี้ยไมได จํานอง ไมตองสงมอบทรัพยแกผูรับจํานอง ทรัพยสินที่จํานองไดแก อสังหาริมทรัพยทุก ประเภท สังหาริมทรัพยบางประเภท เชน แพ สัตวพาหนะ เรือกําปน ผูรับจํานองจะยึดทรัพยไดในกรณี – ขาดสงติดตอกันเกิน 5 ป – ตองไมไปจํานองรายอื่นอีก – ไมไดแสดงใหเห็นถึงจํานวนเงินตนที่ชําระตอศาล จํานอง – กําหนดราคารายละไมเกิน 1,000 บาท ถาเกินตองใชกฎหมายพาณิชยแทน – โรงรับจํานําถาตนไมเกิน 2,000 บาท คิดดอกเบี้ยไดรอยละ 24% ตอป หรือ – รอยละ 2 ได ถามากกวาคิดรอย 1.2 , 5 หรือรอยละ 15% ตอป 6 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 7. กฎหมายอาญา ความผิดลหุ จําคุกไมเกิน 1 เดือน ปรับไมเกิน 1,000 บาท หรือทั้งปรับทั้งจํา ผูสนับสนุนฆาคน ถาเจตนามีโทษประหาร หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือ 15–20 ป ถาประหารจะได แกความผิด เชน ฆาบุพการี ฆาเจาพนักงาน ฆาโดยไมเจตนาตองโทษ 3 – 15 ป ฆาโดยประมาท จําคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับ 20,000 บาท ถาทํารายรางกายหรือจิตใจ จําคุกไมเกิน 1 เดือน หรือปรับ 1,000 บาท ลักทรัพย ตองโทษไมเกิน 3 ป หรือปรับ 6,000 บาท ถาทําใหเสียทรัพย ตองโทษ 3 ป หรือปรับ 6,000 บาท ทหาร ชายไทยอายุ 16 ปบริบูรณ ตองขึ้นบัญชีกองเกินภายในเดือนพฤศจิกายนของ ทุกปที่มีอายุครบ อายุครบ 21 ป รับหมายเรียกในภูมิลําเนารับราชการ 2 ป จําคุก 3 ป หากไมไปรายงานตัว บัตรประชาชน ตองรองขอทําบัตรตั้งแตอายุ 15 ปบริบูรณ จนถึง 70 ป บุคคลที่ไมตองทําบัตรประชาชน 1. พระมหากษัตริย พระราชินี 2. พระบรมวงศานุวงศ ตั้งแตชั้นพระองคเจา 3. องคมนตรี 4. ขาราชการทุกฝาย 5. กํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน 6. พระภิกษุ สามเณร นักบวช นักพรต 7. กรรมการอิสลามแหงประเทศไทยและกรรมการอิสลามประจําจังหวัด 8. ผูมีรางกายพิการ เดินไมได หรือใบ ตาบอดทั้ง 2 ขาง 9. จิตวิปลาส 10. ผูตองขัง 7 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 8. ขอทดสอบ 1. เมือองคกรใดสงสัยวา ขอบังคับภายในองคกรทีออกตามกฎหมายมหาชนจะขัดแยงกับรัฐธรรมนูญหรือ ่ ่ ไม จะสงใหฝายใดตอไปนี้พิจารณา 1. ศาลรัฐธรรมนูญ 2. ศาลปกครอง 3. รัฐสภา 4. ศาลยุตธรรม ิ 2. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ 1. มีหนาที่วนิจฉัยวากฎหมายใดขัดแยงรัฐธรรมนูญหรือไม ิ 2. พิจารณาขอปญหาทางกฎหมาย หรือการศาลในกรณีสําคัญๆ 3. คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูคัดเลือกและแตงตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 4. ผูดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตองเปนผูเชี่ยวชาญทางดานกฎหมายและรัฐศาสตร 3. ชาวบานที่ไดรับผลกระทบที่ภาคราชการจายคาเวนคืนที่ดินไมเปนไปตามขอกําหนดในการสราง เขื่อนราษีไศล ชาวบานความนําเรื่องนี้ไปใหองคกรใดพิจารณา 1. สมัชชาคนจน 2. ศาลรัฐธรรมนูญ 3. ศาลปกครอง 4. ศาลจังหวัดศรีษะเกษ 4. คดีพิพาทระหวางประชาชนกับเจาหนาที่ของรัฐ จะตองฟองรองกันที่ศาลใด 1. ศาลแพง 2. ศาลอาญา 3. ศาลปกครอง 4. ศาลประชาชน 5. ขอใดเปนประโยชนสูงสุดของประชาชนที่ไดรับจากการที่มีศาลปกครอง 1. ประชาชนมีศาลใหฟองรองไดมากขึ้น รวดเร็วขึ้น  2. ประชาชนไดรับการปกปองสิทธิผลประโยชนของตนเองมากขึ้น 3. ประชาชนมีอิสระและเสรีภาพตามกฎหมายมากขึ้น 4. ประชาชนสามารถฟองรองหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจได 6. ลําดับชั้นศาลของไทยขอใดถูกตอง 1. ศาลแขวง ศาลแพง ศาลฎีกา 2. ศาลอาญา ศาลอุทธรณ ศาลฎีกา 3. ศาลแพง ศาลอาญา ศาลฎีกา 4. ศาลชั้นตน ศาลชั้นกลาง ศาลฎีกา 7. การแตงตั้งโยกยาย ถอดถอนผูพิพากษาในศาลยุติธรรมเปนอํานาจหนาที่ของสถาบันใด 1. คณะกรรมการตุลาการ 2. กระทรวงยุติธรรม 3. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 4. ประธานรัฐสภา 8 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 9. 8. ขอใดไมใชอํานาจของฝายตุลาการในระบอบประชาธิปไตย 1. ผูพิพากษามีอิสระในการพิพากษาคดี 2. ผูพิพากษาตราพระราชบัญญัติเพิ่มเติมในการพิจารณาพิพากษา 3. ผูพิพากษามีอํานาจในการตีความตามกฎหมาย เพื่อการพิจารณาคดี 4. ผูพิพากษาจะตองพิจารณาคดีตางๆ ตามลําดับชั้นศาล 9. บุคคลที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คือขอใด 1. ตํารวจ อัยการ ศาล พนักงานบังคับคดี 2. อัยการ พนักงานคุมประพฤติ ศาล พนักงานบังคับคดี 3. ตํารวจ อัยการ พนักงานคุมประพฤติ ศาล 4. ตํารวจ ทนายความ ศาล พนักงานบังคับคดี 10. ขอใดอธิบายความหมายของอัยการไดดีที่สุด 1. ทนายแผนดิน 2. ทนายผูถูกกลาวหา 3. ทนายของผูเสียหาย 4. พนักงานสอบสวน 11. เจาหนาที่ซึ่งทําหนาที่บังคับคดีอาญาเพื่อใหมีการคุมขังผูกระทําผิดนั้นคือใคร 1. พนักงานอัยการ 2. ผูพิพากษา 3. เจาพนักงานศาล 4. พนักงานราชทัณฑ 12. ขอใดไมใช เรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมายแพง 1. การพรากผูเยาว 2. การจํานํา และการจํานอง 3. การคํ้าประกัน และการเชาซื้อ 4. การขายฝาก และการกูยืม 13. ถาเจาของบานไดรับความเสียหายจากการกระทําของคนงานของบริษัทรับเหมาในการกอสราง อาคารสูง เขาจะตองนําคดีไปฟองตอศาลใด 1. ศาลแพง 2. ศาลอาญา 3. ศาลปกครอง 4. ศาลแรงงานกลาง 14. หนวยงานใดไมเกี่ยวของกับการดําเนินคดีทางแพง 1. กรมบังคับคดี 2. ศาลจังหวัด 3. ศาลแขวง 4. กรมคุมประพฤติ 15. บุคคลในขอใดตอไปนี้ที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางแพง 1. พนักงานพิทักษทรัพย 2. พนักงานคุมประพฤติ 3. พนักงานสอบสวน 4. พนักงานราชทัณฑ 16. การบังคับคดีใหเปนไปตามกฎหมายนั้น มีวิธีบังคับอยางไร 1. กักขัง ปรับเปนเงินเขารัฐ 2. ชดใชคาเสียหาย และกักขัง 3. ชดใชคาเสียหาย และลงโทษทางอาญา 4. ริบทรัพย และจําคุก 9 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 10. 17. กระบวนการยุติธรรมทางการศาลขอใดตอไปนี้ที่ไมถูกตอง 1. ผูพิพากษามีอิสระในการตัดสินคดี ภายใตกฎหมายกําหนดเทานั้น 2. กระบวนการรับผิดชอบทางแพง และกระบวนการรับผิดทางอาญาไมมีความแตกตางกัน 3. กระบวนการยุติธรรมทางการศาลจะเกิดไดตองมีผูเสียหายเริ่มดําเนินคดีกอนทุกครั้ง  4. พนักงานพิทักษทรัพยและพนักงานคุมประพฤติมีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษา ของศาล 18. ขอใดแสดงการเรียงลําดับชั้นของกฎหมายไดถูกตองที่สุด 1. พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎทบวง ประกาศกระทรวง 2. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประมวลกฎหมาย 3. รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด ประมวลกฎหมาย ประกาศกระทรวง 4. พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด ประกาศทบวง ประมวลกฎหมาย 19. กฎหมายฉบับใดกําหนดโครงสรางทางการเมืองการปกครอง และความสัมพันธของสถาบันทาง การเมือง 1. พระราชกฤษฎีกา 2. พระราชบัญญัติ 3. ประกาศคณะปฏิวติ ั 4. รัฐธรรมนูญ 20. อํานาจในการบังคับใชกฎหมาย เชน พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด จะเริ่มตนไดเมื่อใด 1. ภายหลังที่พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย 2. ภายหลังการลงมติของคณะรัฐมนตรี 3. ภายหลังการอนุมัติของรัฐสภา 4. ภายหลังการประกาศในราชกิจจานุเบกษา 21. ผูใดมีสิทธิเสนอรางพระราชบัญญัติปรับปรุงพระราชบัญญัติของพระสงฆในปจจุบัน 1. กรมการศาสนา 2. มหาเถรสมาคม 3. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร 4. พระสงฆชั้นพระราชาคณะขึ้นไป 22. กลุมบุคคลในขอใดตอไปนี้ที่ไมมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญในการเสนอรางพระราชบัญญัติ 1. คณะรัฐมนตรี 2. สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง 3. สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่พรรคการเมืองใหความเห็นชอบแลว 4. ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งและไดไปใชสิทธิเลือกตั้งเขาชื่อกันจํานวนหาหมื่นคน 10 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 11. 23. ขอใดเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร 1. พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง กฎมนเทียรบาล 2. รัฐธรรมนูญ ธรรมนูญการปกครอง ประกาศกระทรวง 3. พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประกาศกระทรวง 4. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง พระราชกําหนด 24. ในกรณีที่บานเมืองตกอยูในภาวะฉุกเฉิน มีความจําเปนตองใชกฎหมายเพื่อรักษาความปลอดภัยของ ประชาชนอยางเรงดวน รัฐบาลมีอํานาจออกกฎหมายประเภทใดขึ้นมาใช 1. กฎกระทรวง 2. พระราชกําหนด 3. พระราชกฤษฎีกา 4. พระราชบัญญัติ 25. การประกาศยุบสภาเพื่อใหมีการเลือกตั้งใหม รัฐบาลจะตองออกเปนกฎหมายประเภทใด 1. พระราชกฤษฎีกา 2. พระราชกําหนด 3. พระราชบัญญัติ 4. พระราชกิจจานุเบกษา 26. ขอใดคือความหมายของพระราชกฤษฎีกา 1. กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา 2. กฎหมายที่ตราขึ้นโดยรัฐมนตรีผูรักษาการในกระทรวงนั้น เพื่อขยายความในพระราชบัญญัติ 3. กฎหมายที่พระมหากษัตริยตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของคณะรัฐมนตรี 4. กฎหมายที่พระมหากษัตริยตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของคณะรัฐมนตรีโดยไมขัดตอ พระราชบัญญัติหรือรัฐธรรมนูญ 27. การที่กรุงเทพมหานครประกาศหามประชาชนทิ้งขยะในที่สาธารณะ เพื่อใหมีผลบังคับใช ตองตรา เปนกฎหมายใด 1. กฎหมายสิ่งแวดลอม 2. กฎกระทรวง 3. เทศบัญญัติ 4. ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร 28. ความหมายทั่วไปของกฎหมาย คือขอใด 1. ขอบังคับของรัฐ 2. บรรทัดฐานในสังคม 3. จารีตประเพณี 4. กฎเกณฑของสังคม 29. ขอใดมิใชลกษณะสําคัญของกฎหมาย ั 1. จะตองมีสภาพบังคับ 2. จะตองมีกระบวนการในการจัดทํากฎหมาย 3. จะตองมีผลบังคับเปนการทั่วไป 4. จะตองมีประสิทธิภาพในการบังคับไดดีกวากลไกอื่นๆ ของสังคม 11 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 12. 30. ประมวลกฎหมายของไทยนับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีลักษณะอยางไร 1. มาจากปรัชญาทางศาสนา 2. เปนกฎหมายลายลักษณอักษร 3. มาจากคําพิพากษาของศาล 4. เปนกฎหมายจารีตประเพณี 31. ขอใดตอไปนี้ที่ไมจัดวาเปนกฎหมายมหาชน 1. กฎหมายปกครอง 2. กฎหมายอาญา 3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ 4. กฎหมายแพงและพาณิชย 32. สิทธิของบุคคลเริ่มตั้งแตเมื่อใด 1. เมื่อบิดามารดารับรองวาเปนบุตร 2. เมื่ออยูในครรภมารดานับตั้งแตมารดาเริ่มตั้งครรภ 3. เมื่อคลอดจากครรภมารดาดวยความปลอดภัย 4. เมื่อบิดามารดาแจงการเกิดตอเจาหนาที่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด 33. ขอใดไมมีฐานะเปนนิติบุคคล 1. บริษัทจํากัด 2. คณะนิติศาสตร 3. วัดธรรมวิหารรี 4. สมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย 34. ผูเยาวคือบุคคลขอใด 1. นายอภิสิทธิ์ อายุ 18 ป มีบุตร 1 คน 2. นายเนวิน เปนนิสิตจุฬาฯ อายุ 19 ป 3. นายเฉลิม เปนทหารประจําการมาแลว 2 ป 4. นางพรชิตา อายุ 17 ป จดทะเบียนสมรสตามกฎหมายกับนายลําดวน 35. การกระทําในขอใดที่กฎหมายเวนโทษให 1. นายสิทธิศักดิ์ อายุ 18 ป ขโมยเงินแมเพื่อไปเที่ยวลอยกระทง 2. นายศิลานําเครื่องกรองนํ้าของโรงเรียนไปใชที่บาน 3. คนรายชักมีดจะเขาแทงนายวิทวัส นายวิทวัส จึงชักปนยิงคนรายตาย 4. นายอาจหาญ เขาไปในบานนายชวลิต โดยที่นายชวลิตไมไดเชิญ 36. การผิดสัญญาหมั้น ฝายเสียหายยอมมีสิทธิเรียกรองจากฝายที่ผิดสัญญาได ยกเวนเรื่องใด 1. เรียกคาทดแทนความเสียหาย 2. รองขอใหศาลบังคับใหมการสมรส ี 3. ถาไมมีการสมรสอันเนื่องมาจากฝายหญิงผิดสัญญา ตองคืนของหมั้นใหฝายชาย 4. ฝายชายเรียกสินสอดคืนจากฝายหญิงได ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิง 12 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 13. 37. ชาย – หญิง คูใดสามารถสมรสกันไดตามกฎหมาย 1. ชาย – หญิง รวมบิดาแตตางมารดา 2. หญิงหยาจากคูสมรสเดิม นับกอนวันหยา 310 วัน 3. พอบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมซึ่งหญิงบรรลุนิติภาวะแลว 4. ฝายชายเปนลูกของพี่ชายพอแมฝายหญิง ฝายหญิงเปนลูกของนองชายพอฝายชาย 38. นาย ก และนาย ข เปนสามีภรรยากันโดยชอบดวยกฎหมาย ตอมานาย ก ไดเสียชีวิตและมี สินสมรสทั้งหมด 2,000,000 บาท แตนาย ก มีมารดาที่มีชีวิตอยูเพียงคนเดียว ตามกฎหมาย การแบงมรดกจะแบงกันอยางไร และเปนจํานวนเงินเทาไหร 1. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 2,000,000 บาท แตผูเดียว 2. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,500,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 500,000 บาท 3. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,800,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 200,000 บาท 4. นาง ข ไดรับมรดกเปนเงิน 1,000,000 บาท มารดาของนาย ก ไดเงิน 1,000,000 บาท 39. การเรียงลําดับทายาทโดยธรรม ขอใดถูกตอง ก. ปู ยา ตา ยาย ข. ลุง ปา นา อา ค. พี่นอง รวมบิดามารดาเดียวกัน ง. พี่นองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน จ. ผูสืบสันดาน ฉ. บิดา มารดา 1. จ ฉ ค ง ก ข 2. จ ก ฉ ค ง ข 3. จ ค ง ฉ ก ข 4. จ ก ฉ ข ค ง 40. ขอใดไมใชการทํานิติกรรม 1. ลูกทําพินัยกรรมยกทรัพยสินตางๆ ของตนใหแกบิดามารดา 2. การนําสัญญาซื้อขายบาน และที่ดินไปจดทะเบียนตอเจาหนาที่ของรัฐ 3. บริษัทดําดอทคอมทยื่นซองเสนอราคาเครื่องคอมพิวเตอรตอโรงเรียนเพื่อประกวดราคา 4. ไมเคิล ติดตอทาทายัง เพื่อเสนอเขาเปนศิลปนของคายเพลงโคแอนดกระบือ 41. ภวาภพมีบานหนึ่งหลัง เรือกลไฟหนึ่งลํา รถบรรทุกหนึ่งคัน ชางหนึ่งเชือก ทรัพยสินในขอใดที่ ภวาภพไมอาจนําไปจํานองประกันชําระหนี้ได 1. บาน 2. ชาง 3. เรือกลไฟ 4. รถบรรทุก 13 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 14. 42. แอนขโมยโทรศัพทเคลื่อนที่ของโอกไปใช ตอมาแอนเกิดเปลี่ยนใจแอบนํามาคืนใหโอก กรณีดัง กลาวนี้แอนจะมีความผิดทางกฎหมายหรือไม 1. ผิดฐานพยายามลักทรัพย ตองรับโทษสองในสาม 2. ผิดฐานลักทรัพย ตองรับโทษตามกฎหมาย 3. ไมผิดฐานลักทรัพย เพราะไดนํามาคืนแลว 4. ไมผิดฐานพยายามลักทรัพย เพราะแกไขเพื่อลบลางความผิดแลว 43. สมชายอายุ 18 ปบริบูรณ มีสิทธิในการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ถาสมชายตองการที่จะทําสัญญาซื้อขายที่ดินใหมีผลสมบูรณในทางกฎหมายสมชายจะตองขอ ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมหรือไม เพราะเหตุใด 1. ไมตองขอความยินยอม เพราะรัฐธรรมนูญรับรองสิทธิดังกลาวแลว 2. ไมตองขอความยินยอม เพราะถือวาสมชายบรรลุนิติภาวะแลว 3. ตองขอความยินยอม เพราะการซื้อขายที่ดินเปนการซื้อขายอสังหาริมทรัพยที่กฎหมาย บังคับใหตองจดทะเบียนจึงตองไดรับความยินยอมกอน 4. ตองขอความยินยอม เพราะสมชายยังเปนผูเยาว จึงถูกจํากัดความสามารถในการทํา นิติกรรม 44. คดีตอไปนี้ขอใดเปนคดีแพง 1. นายแดงและนายเขียวทะเลาะวิวาทกัน 2. นายประกิตขับรถชนคนตายโดยเจตนา 3. นางอุบลขอเปนผูจัดการมรดกของสามี 4. นายสมัครนํากรรมกรในโรงงานประทวง และทําลายทรัพยสินโรงงาน 45. ขอใดตอไปนี้ไมใชกฎหมายแพง 1. กฎหมายมรดก 2. กฎหมายครอบครัว 3. กฎหมายปกครอง 4. กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาตั๋วเงิน 46. พระภิกษุขาวมีความสัมพันธฐานชูสาวกับหญิงคนหนึ่งจนตั้งครรภ แลวคลอดบุตรมาคนหนึ่ง พระภิกษุขาวไมยอมรับวา เด็กที่เกิดจากหญิงคนนั้นเปนบุตรของตน มารดาเด็กมีสิทธิตาม กฎหมายอยางไร 1. ฟองคดียังศาลขอใหพระภิกษุขาวรับเด็กเปนบุตร 2. แจงความตอเจาหนาที่ตํารวจใหดําเนินคดีตอพระภิกษุขาว 3. ฟองผูบงคับบัญชาของพระภิกษุขาวใหดําเนินการทางวินัยตอพระภิกษุขาวกอน ั 4. แจงนายทะเบียนฝายปกครองใหจดทะเบียนรับเด็กเปนบุตร 14 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
  • 15. 47. การเปดบอนเสรีเกี่ยวของกับกฎหมายในขอใดมากที่สุด เพราะเหตุใด 1. กฎหมายแพง เพราะการเลนพนันเปนเรื่องของเอกชนกับเอกชน 2. กฎหมายปกครอง เพราะการเลนพนันตองเสียคาธรรมเนียมใหแกรัฐ 3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะเปนเรื่องเกี่ยวกับเสรีภาพในการประกอบอาชีพ 4. กฎหมายอาญา เพราะการเลนพนันในบอนที่ไดรับอนุญาตไมเปนความผิดทางอาญา 48. ขอใดเปนความผิดฐานวิ่งราวทรัพย 1. ยักยอกทรัพยของผูอื่นแลววิ่งหนีไป 2. ลักทรัพยของผูอื่นแลวหนีไป 3. ลักทรัพยของผูอ่นโดยการฉกฉวยเอาซึ่งหนา ื 4. ชิงทรัพยของผูอื่นจนไดทรัพยของผูนั้นไป 49. นางสาวอวนกลุมใจนํ้าหนักขึ้นทุกวัน อยากใหนํ้าหนักลดลงอยางรวดเร็ว จึงไปหาแพทยเพื่อดูด ไขมันออก โดยที่แพทยยืนยันวาปลอดภัย ขณะที่ทําการดูดไขมันนางสาวอวนถึงแกความตายเพราะ มีโรคแทรก แพทยจะมีความผิดหรือไมอยางไร 1. ผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา 2. ผิดฐานฆาคนตายโดยไมเจตนา 3. ผิดฐานฆาคนตายโดยประมาท 4. ไมผิดเพราะเปนอุบัติเหตุ 50. บุคคลในขอใดที่จําเปนตองมีบัตรประจําตัวประชาชน 1. พระภิกษุ 2. บุคคลที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป 3. ขาราชการและนักโทษ 4. บุคคลที่มอายุเกิน 70 ปขึ้นไป ี 51. ขอใดเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพ 1. การมีบุคลากรที่มีคุณภาพ 2. การมีบุคลากรอยางพอเพียง 3. ความรวมมือของประชาชน 4. การมีศาลที่มีปริมาณเพียงพอกับประชาชน 15 สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร