SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
1
41231 กฎหมายอาญา 1 : ภาคบทบัญญัติทั่วไป
หนวยที่ 1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญาและปรัชญากฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาจัดอยูในสาขากฎหมายมหาชน เปนเรื่องราวความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน
โดยบัญญัติวาการกระทําใดๆเปนความผอดและกําหนดโทษที่จะลงแกความผิดนั้น
2. กฎหมายอาญามีความมุงหมายที่จะรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม ใหสมาชิกของสังคมมี
ความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสิน
1.1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาเปนกฎหมายที่วาดวยความผิดและโทษ โดย บัญญัติการกระทําเปนความผิด
อาญา และกําหนดโทษที่จะลงแกผูกระทําความผิดนั้น
2. ในสังคมเริ่มแรก กฎหมายใหอํานาจแกบุคคลที่จะทําการแกแคนตอผูกระทําผิด และเมื่อรัฐ
มั่นคงขึ้นจึงกําหนดใหมีการชดใชคาเสียหายแทนการแกแคน จนในที่สุดรัฐก็เขาไปจัดการลงโทษ
ผูกระทําผิดเอง
3. ความผิดอาญาหมายถึง การกระทําหรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปนความผิดและ
กําหนดโทษไว
4. ความผิดอาญาแบงแยกไดหลายประเภทแลวแตแนวความคิดและความมุงหมาย เชน ตามความ
หนักเบาของโทษ ตามการกระทํา ตามเจตนา ตามศีลธรรม เปนตน
5. กฎหมายอาญาเปนเรื่องระหวางรัฐกับเอกชน และมุงที่จะลงโทษผูกระทําความผิด สวนกฎหมาย
แพงเปนเรื่องเกี่ยวกับสิทธิหนาที่ระหวางเอกชนดวยกัน การกระทําความผิดทางแพงจึงไม
กระทบกระเทือนตอสังคมเหมือนความผิดอาญา
1.1.1 ความหมายของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญามีความหมายอยางไรมีกี่ระบบ และแตละระบบมีความคิดในทางกฎหมายอยางไร
กฎหมายอาญาจัดอยูในสาขากฎหมายมหาชน เปนกฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดและ
กําหนดโทษที่จะลงแกผูที่กระทําความผิดนั้น
กฎหมายอาญามี 2 ระบบคือ ระบบกฎหมายของประเทศที่ใชประมวลกฎหมาย ซึ่งบัญญัติ
ความผิดอาญาไวเปนลายลักษณอักษร และระบบคอมมอนลอว ซึ่งความผิดอาญาเปนไปตามหลักเกณฑ
ในคําพิพากษาของศาล ความผิดในทางอาญาของประเทศที่ใชระบบประมวลกฎหมายนั้นถือวา การ
กระทําใดๆจะเปนความผิดหรือไมและตองรับโทษอยางไร ตองอาศัยตัวบทกฎหมายอาญาเปนหลัก การ
ตีความวางหลักเกณฑของความผิดจะตองมาจากตัวบทเหลานั้น คําพิพากษาของศาลไมสามารถสราง
ความผิดอาญาขึ้นได แตระบบคอมมอนลอวนั้น การกระทําใดๆจะเปนความผิดอาญาตองอาศัยคํา
พิพากษาที่ไดวินิจฉัยไวเปนบรรทัดฐานและนําบรรทัดฐานนั้นมาเปรียบเทียบกับคดีที่เกิดขึ้น
1.1.2 วิวัฒนาการของกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญาในปจจุบันมีวิวัฒนาการมาอยางไร
แตเดิมกฎหมายอาญาของไทยมิไดจัดทําในรูปประมวลกฎหมาย แตมีลักษณะเปนกฎหมายแต
ละฉบับไป เชน กฎหมายลักษณะโจร ลักษณะวิวาท เปนตน ตอมาในรัชการพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากความจําเปนในดานการปกครองประเทศ และความจําเปนที่จะตองเลิก
ศาลกงสุลตางประเทศ จึงไดมีการจัดทําประมวลกฎหมายอาญาขึ้น ทํานองเดียวกันกับกฎหมายอาญา
ของประเทศทางตะวันออก และญี่ปุน เรียกวากฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ซึ่งเปนประมวลกฎหมาย
อาญาฉบับแรกของไทย กฎหมายลักษณะอาญาไดใชบังคับมาเปนเวลาประมาณ 48 ป จนถึง พ.ศ.
2500 ก็ไดยกเลิกไป และไดประกาศใชประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ซึ่งเปนฉบับปจจุบัน และใช
บังคับมาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2500 ซึ่งตรงกับวาระฉลองครบ 25 พุทธศตวรรษ
ความผิดอาญาทุกอยางไดนํามาบัญญัติรวบรวมไวในประมวลกฎหมายอาญาหมดหรือไม
นํามาบัญญัติไดไมหมดสิ้น ความผิดในประมวลกฎหมายอาญาเปนแตเพียงสวนหนึ่งของ
ความผิดอาญาเทานั้น ยังมีความผิดอาญาพระราชบัญญัติตางๆ อีกมากมาย เชน พรบ. ปาไม พรบ. ยา
เสพติดใหโทษ เปนตน แตความผิดตามประมวลกฎหมายอาญานั้นๆ เปนความผิดที่มีลักษณะทั่วไปคือ
เปนความผิดที่สามัญชนยอมกระทําอยูเปนปกติ เชน ความผิดฐานฆาคนตาย ทํารายรางกาย ลักทรัพย
เปนตน สวนความผิดอาญาตาม พระราชบัญญัติอื่น เปนความผิดเฉพาะเรื่องนั้นๆ เชน ความผิดตาม
พระราชบัญญัติปาไมก็เปนเรื่องเกี่ยวกับปาไม วาการกระทําเชนไรเปนความผิดและมีโทษเทาใด
ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปจจุบันมีเคาโครงอยางไร
2
ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปจจุบัน แบงออกเปน 3 ภาค คือ ภาค 1 วาดวยบทบัญญัติทั่วไป คือ
เปนหลักเกณฑทั่วไปของกฎหมายอาญาทั้งปวง ซึ่งจะตองนําไปใชบังคับในความผิดอาญาตามกฎหมาย
อื่นดวย ภาค 2 วาดวยความผิดอาญาสามัญ และภาค 3 วาดวยความผิดลหุโทษ
1.1.3 ประเภทของความผิด
ความผิดอาญาหมายความวาอยางไร เราอาจแบงความผิดอาญาไดประการใดบาง
ความผิดอาญาหมายถึง การกระทําหรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปนความผิดและ
กําหนดโทษไว
ความผิดอาญาอาจจําแนกออกไดหลายประเภทแลวแตขอพิจารณาในการแบงประเภทนั้นๆ เชน
(1) พิจารณาตามความหนักเบาของโทษ แบงเปนความผิดอาญาสามัญและความผิดลหุโทษ
(2) พิจารณาในแงเจตนา แบงเปนความผิดที่กระทําโดยเจตนากับความผิดที่กระทําโดย
ประมาท และความผิดที่ไมตองกระทําโดยเจตนา
(3) พิจารณาในแงศีลธรรม แบงเปนความผิดในตัวเอง เชน ความผิดฐานฆาคนตาม ขมขืน ลัก
ทรัพย และความผิดเพราะกฎหมายหาม เชน ความผิดฐานขับรถเร็วเกินสมควร
นอกจากนี้อาจแบงไดโดยขอพิจารณาอื่นๆ อีก เชน ตามลักษณะอันตรายตอสังคม ตามลักษณะ
การกระทําและตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
1.1.4 กฎหมายอาญากับกฎหมายแพง
กฎหมายแพงและกฎหมายอาญาตางกันอยางไร
มีความตางกันในสาระสําคัญดังตอไปนี้
(1) แตกตางกันดวยลักษณะแหงกฎหมาย กฎหมายแพงเปนกฎหมายที่วาดวยสิทธิ หนาที่ และ
ความสัมพันธระหวางเอชนกับเอกชน อาทิ เชน สิทธิและหนาที่ของบิดามารดาที่มีตอบุตร การสมรส การ
หยา มรดก ภูมิลําเนาของบุคคล สวนกฎหมายอาญานั้น เปนกฎหมายที่วาดวยความสัมพันธระหวางรัฐกับ
เอกชน โดยเอกชนมีหนาที่ตองเคารพตอบทบัญญัติแหงกฎหมาย ซึ่งกําหนดใหการกระทําอันใดก็ตาม
เปนความผิดถาหากฝาฝน โดยปกติตองมีโทษ ตัวอยางเชน ความผิดฐานลักทรัพย ฐานปลนทรัพย ฐาน
ยักยอก และฐานหมิ่นประมาท เปนอาทิ
(2) แตกตางกันดวยวัตถุประสงคของกฎหมาย กฎหมายแพงมีวัตถุประสงคในอันที่จะอํานวย
และรักษาไวซึ่งความยุติธรรมในความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกันแมบางกรณีรัฐจะเขาไป
เปนคูกรณีในทางแพงก็ตาม รัฐอยูในฐานะเปนเอกชนมีสิทธิหนาที่อยางเดียวกับเอกชนอื่นๆทุกประการ
สวนกฎหมายอาญานั้นมีเจตารมยในทางรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง มุงประสงคคุมครองให
ความปลอดภัยแกสังคม เมื่อบุคคลใดละเมิดบทบัญญัติแหงกฎหมายอาญา กฎหมายถือวารัฐเปน
ผูเสียหายโดยตรง จริงอยูที่ตามระบบกฎหมายอาญาของไทยเรานั้น เอกชนผูถูกลวงละเมิดสิทธิก็ถือวา
เปนผูเสียหาย ฟองรองใหศาลลงโทษผูลวงละเมิดตนไดดุจกัน แตสิทธิของเอกชนดังกลาว ตองถือวาเปน
เพียงขอยกเวนของหลักกฎหมายที่วารัฐเปนผูเสียหายโดยตรงเทานั้น
(3) แตกตางกันดวยการตีความ ในกฎหมายแพงนั้นประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
4 บัญญัติวาการตีความกฎหมายยอมตองตีความตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัติ
แหงกฎหมายถาหากไมมีบทกฎหมายที่จะยกขึ้นปรับแกคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหง
ทองถิ่น
สวนในกฎหมายอาญานั้นจะตีความอยางกฎหมายแพงไมได หากแตตองตีความโดยเครงครัดจะ
ถือวาบุคคลใดมีความผิดตามบทบัญญัติแหงกฎหมายใด ตองตีความตามตัวอักษรที่ปรากฏในบทบัญญัติ
แหงกฎหมายนั้นๆ โดยตรงจะมีการขยายความในบทบัญญัติแหงกฎหมายออกไปใหครอบคลุมไปถึงการ
กระทําอื่นๆ อันใกลเคียงกับการกระทําที่กฎหมายบัญญัติวาเปนความผิดมิได
(4) แตกตางกันดวยสภาพบังคับ ในกฎหมายแพงนั้น มีสภาพบังคับประเภทหนึ่ง กลาวคือถา
หากมีการลวงละเมิดกฎหมายแพง บุคคลผูลวงละเมิดไมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาล ก็อาจจะถูกยึด
ทรัพยมาขายทอดตลาดเอาเงินที่ขายไดมาชําระหนี้ตามคําพิพากษาของศาล หรือมิฉะนั้นอาจถูกกักขัง
จนกวาจะปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลก็ได สวนในกฎหมายอาญานั้นมีสภาพบังคับอีกประเภทหนึ่ง
คือ โทษทางอาญาซึ่งกฎหมายไดบัญญัติไวสําหรับความผิด ซึ่งโทษดังกลาวมีอยู 5 สถานดวยกัน คือ
โทษประหารชีวิต จําคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพยสิน
1.2 ปรัชญาของกฎหมายอาญา
1. วัตถุประสงคกฎหมายอาญา คือ คุมครองสวนไดเสียของสังคมใหพนจากการประทุษรายตางๆ
กฎหมายอาญาจึงเปนสิ่งจําเปนยิ่งตอความสงบเรียบรอยของสังคม
2. ทฤษฎีกฎหมายอาญา หมายถึง กลุมแนวความคิดหรือหลักการที่ถือวาเปนพื้นฐานของกฎหมาย
อาญา
1.2.1 ความมุงหมายของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญามีความมุงหมายอยางไร และมีวิธีการใดใหบรรลุถึงความมุงหมายนั้น
3
กฎหมายอาญามีความมุงหมายในอันที่จะคุมครองประโยชนของสวนรวมใหพนจากการ
ประทุษราย โดยอาศัยการลงโทษเปนมาตรการสําคัญ
รัฐมีเหตุผลประการใดในการใชอํานาจลงโทษผูกระทําความผิด
เหตุผลหรือความชอบธรรมในการลงโทษของรัฐมีผูใหความเห็นไว 3 ประการ คือ
(1) หลักความยุติธรรม
(2) หลักปองกันสังคม
(3) หลักผสมระหวางหลักความยุติธรรมและหลักปองกันสังคม
ขอจํากัดอํานาจในการลงโทษของรัฐมีอยางไร
อํานาจในการลงโทษของรัฐมีขอจํากัดโดยบทบัญญัติในกฎหมาย กลาวคือ
(1) โทษจะตองเปนไปตามกฎหมาย
(2) ในความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษขั้นสูงไว รัฐจะลงโทษผูกระทําความผิดเกิดกวานั้นไมได
เวนแตจะมีเหตุเพิ่มโทษตามกฎหมาย
(3) ในความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษขั้นต่ําไว รัฐลงโทษผูกระทําความผิดต่ํากวานั้นไมได เวน
แตจะมีเหตุลดโทษตามกฎหมาย
(4) ในความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษขั้นต่ําไวและขั้นสูงไว รัฐมีอํานาจลงโทษไดตามที่
เห็นสมควรในระหวางโทษขั้นต่ําและขั้นสูงนั้น
1.2.2 ทฤษฎีกฎหมายอาญา
ทฤษฎีกฎหมายอาญาในทรรศนะตามคอมมอนลอว เปนประการใด
นักทฤษฎีกฎหมายอาญาในระบบคอมมอนลอวเห็นวา กฎหมายอาญาแบงไดเปน 3 สวน คือ
ภาคความผิด หลักทั่วไป และหลักพื้นฐาน
ภาคความผิด เปนสวนที่บัญญัติเกี่ยวกับความผิดฐานตางๆ หรือคําจํากัดความของความผิดแต
ละฐานและกําหนดโทษสําหรับความผิดนั้นนั้นดวย เปนสวนที่มีความหมายแคบที่สุด แตมีจํานวน
บทบัญญัติมากที่สุด
หลักทั่วไป เปนสวนที่มีความหมายกวางกวาภาคความผิดและนําไปใชบังคับแกความผิดตางๆ
เชน เรื่องวิกลจริต ความมึนเมา เด็กกระทําความผิด ความจําเปน การปองกันตัว พยายามกระทํา
ความผิด ตัวการ ผูใช ผูสนับสนุน เปนตน
หลักพื้นฐาน สวนนี้ถือวาเปนหัวใจของกฎหมายอาญาและเปนสวนที่มีความหมายกวางที่สุด ซึ่ง
ตองนําไปใชบังคับแกความผิดอาญาตางๆ เชนเดียวกับหลักทั่วไป หลักพื้นฐานของกฎหมายอาญา
ไดแก (1) ความยุติธรรม (2) เจตนา (3) การกระทํา (4) เจตนาและการกระทําตองเกิดรวมกัน (5)
อันตรายตอสังคม (6) ความสัมพันธระหวางเหตุกับผล และ (7) ลงโทษ
บทบัญญัติทั้ง 3 สวนนี้ยอมสัมพันธกัน กลาวคือ ถาจะเขาใจผิดฐานใดฐานหนึ่งไดชัดแจงจะตอง
นําหลักทั่วไปและหลักพื้นฐานไปพิจารณาประกอบดวย เพราะลําพังแตบทบัญญัติภาคความผิดนั้นมิได
ใหความหมายหรือคําจํากัดความที่สมบูรณของความผิดแตละฐาน จะตองพิจารณาประกอบกับหลัก
ทั่วไปและหลักพื้นฐานเสมอ
แบบประเมินผล หนวยที่ 1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญาและปรัชญากฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่วาดวยการกระทําความผิดและกําหนดโทษที่จะลงแกผูกระทําผิด
2. ความคิดทางกฎหมายอาญาของประเทศที่ใชประมวลกฎหมายอาญา ความสําคัญอยูที่ ตัวบทกฎหมายที่
เปนลายลักษณอักษร
3. ประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรกของไทยคือ กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127
4. โครงสรางของประมวลกฎหมายฉบับปจจุบันประกอบดวย ภาคบทบัญญัติทั่วไป ภาคความผิด และ
ความผิดลหุโทษ รวม 3 ภาค
5. ความผิดทางอาญาหมายถึง การกระทํา หรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปนความผิดและ
กําหนดโทษไวดวย
6. ความผิดทางแพงตางกับความผิดทางอาญาคือ ความผิดทางแพงเปนการละเมิดตอเอกชน
โดยเฉพาะ สวนความผิดทางอาญาเปนการทําความเสียหายตอสวนรวม
7. กฎหมายอาญามีความมุงหมายคือ คุมครองสวนไดเสียของสังคมโดยการลงโทษผูกระทําผิด
8. เหตุที่รัฐมีเหตุผลในการแทรกแซงเขาไปลงโทษบุคคลคือ เพื่อปองกันสังคมและตอบแทนผูกระทํา
ความผิด
9. กรณีความผิด ขับรถชนรั้วบานผูอื่นโดยประมาท เปนความผิดทางแพงเทานั้น
10. ในขอที่ไมใชขอแตกตางระหวางกฎหมายแพงและกฎหมายอาญาคือ กฎหมายอาญามุงที่จะรักษา
ความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน สวนกําหมายแพงมุงที่จะรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง
11. เปนการบอกลักษณะของกฎหมายอาญาดีที่สุดคือ กฎหมายที่วาดวยความผิดและโทษสําหรับ
ความผิด
4
12. ประเทศที่ใชประมวลกฎหมายอาญา มีความคิดทางกฎหมายอาญาคือ ถือวาตัวบทกฎหมายอาญาที่
เปนลายลักษณอักษรมีความสําคัญที่สุด
13. การกระทําที่จะถือวาเปนความผิดอาญาคือ การกระทําหรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปน
ความผิดและกําหนดโทษ
14. สภาพบังคับทางอาญาและสภาพบังคับทางแพง ตางกันเพราะสภาพบังคับทางอาญาเปนการลงโทษ
เชน ประหารชีวิตหรือจําคุก สวนสภาพบังคับทางแพงเปนการชดใชคาเสียหาย
15. การกระทําที่ถือวาเปนเฉพาะความผิดทางแพง คือ ขับรถชนรถยนตคันอื่นเสียหายทั้งคัน
16. ความแตกตางระหวางกฎหมายแพงและกฎหมายอาญาคือ สภาพบังคับในกําหมายแพงเปนการชดใช
คาเสียหาย สวนกําหมายอาญาเปนการลงโทษ
หนวยที่ 2 : อาชญากรรมในสังคม
1. อาชญากรรมคือการกระทําที่มีโทษทางอาญา
2. ตามแนวความคิดของนักอาชญาวิทยาตางสํานักกัน อาชญากรรมอาจเปนพฤติกรรมที่คนเลือก
กระทําเพื่อแสวงหาความสุข หรืออาจเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเชนเดียวกับปรากฏการณทาง
ธรรมชาติอื่นๆ หรืออาจเปนพฤติกรรมที่เขัดตอบรรทัดฐาน ความประพฤติของคนสวนใหญในสังคม
3. สาเหตุของอาชญากรรมมีที่มาจากการศึกษาของนักอาชญาวิทยาสํานักโปซิตีพ ซึ่งตอมาไดมีผู
ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจนกอตั้งเปนทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยา ทางจิตวิทยาและทางสังคม
วิทยา
2.1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับอาชญากรรม
1. อาชญากรรมอาจนิยามไดหลายอยาง อาชญากรรมตามกฎหมาย หมายถึงการกระทําที่ฝาฝน
บทบัญญัติของกฎหมายอาญา สวนอาชญากรรมตามนิยามทางสังคมหมายถึงการประทําที่ฝาฝนบรรทัด
ฐานความประพฤติทางสังคม
2. อาชญากร เปนผูกระทําความผิดที่ศาลไดพิพากษาแลววาไดกระทําความผิดและลงโทษตาม
กฎหมาย
3. เพศ อายุ การศึกษาและฐานะทางสังคมอื่นๆ เปนปจจัยที่แสดงใหเห็นสถานะของอาชญากรรม
และอาชญากร
4. อาชญาวิทยาเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอาชญากรรมและอาชญากรโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร
5. สํานักอาชญาวิทยาที่สําคัญอาจแบงออกเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 เนนการศึกษาทางดานสาเหตุ
อาชญากรรม ซึ่งมีสํานักโปซิตีพเปนสํานักสําคัญ และกลุมที่ 2 เนนทางดานการศึกษาเกี่ยวกับการ
ลงโทษผูกระทําความผิดซึ่งมีสํานักคลาสสิกเปนสํานักสําคัญ
6. อาชญากรรมในสังคมอาจแบงออกไดหลายลักษณะคือ อาชญากรรมพื้นฐาน อาชญากรรมจาก
การประกอบอาชีพ อาชญากรรมที่ทําเปนองคการ อาชญากรรมที่ทําเปนอาชีพ อาชญากรรมทาง
การเมือง และอาชญากรรมที่ขัดตอความสงบเรียบรอยของสังคม ในประเทศไทยอาชญากรรมที่รายแรง
และไมรายแรงเกิดขึ้นมาก
7. การจัดทําสถิติอาชญากรรมทําได 2 ทางดวยกันคือ อยางเปนทางราชการและไมเปนทาง
ราชการ
8. สถิติอาชญากรรมที่ไมใชทางราชการ อาจใหขอมูลเพิ่มเติมไดวาอาชญากรรมเกิดขึ้นในสังคมมี
มากกวาที่ปรากฏในสถิติของทางราชการ เกณฑวัดการเกิดขึ้นของอาชญากรรมวาเพิ่มขึ้นหรือลดลงใน
ระหวางปที่ศึกษา อาจทําไดโดยเปรียบเทียบสถิติอาชญากรรมตอประชากร 100,000 คน
2.1.1 อาชญากรรมและอาชญากร
นิยามอาชญากรรมมีแบงออกเปนกี่นิยาม อะไรบาง และสถิติอาชญากรรมของทางราชการอาศัย
นิยามอะไรเปนหลัก
นิยามอาชญากรรมมี 2 นิยาม คือ นิยามตามกฎหมายและนิยามทางสังคม สถิติของทางราชการ
ใชนิยามตามกฎหมาย
ผูกระทําความผิดที่ตองโทษในเรือนจําไทยสวนใหญจัดอยูในกลุมอายุใด
ผูกระทําความผิดที่ตองโทษในเรือนจําของไทยสวนใหญจัดอยูในกลุมอายุ 21-25 ป
2.1.2 อาชญาวิทยาและสํานักอาชญาวิทยา
สํานักคลาสสิก มีทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมอยางไร
สํานักคลาสสิกเห็นวา อาชญากรรมเกิดจากเจตนจํานงอิสระของบุคคลที่แสวงหาความสุขและได
ประกอบกรรมอันนั้นโดยเจตนา เพราะฉะนั้นจึงเนนการศึกษาที่อาชญากรรม
5
สํานักโปซิตีพและสํานักปองกันสังคมมีทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมเหมือนกันหรือตางกันอยางไร
สํานักโปสซิตีพและสํานักปองกันสังคม เห็นพองกันวาอาชญากรรมมิใชเปนการกระทําโดย
เจตนาหากแตผูถูกบังคับใหกระทําอยางหลีกเลี่ยงไมได และตัวที่บังคับใหกระทํานั้นอาจเปนปจจัยทาง
ชีววิทยา ทางจิตวิทยา หรือทางสังคมวิทยาก็ได เพราะฉะนั้นจึงเนนใหศึกษาผูกระทําความผิดเพื่อคนหา
สาเหตุโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร
2.1.3 ลักษณะและขอบเขตของอาชญากรรม
อาชญากรรมพื้นฐานไดแก อาชญากรรมประเภทใด
อาชญากรรมพื้นฐานเปนอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในทุกสังคมตั้งแตโบราณกาล คือ ความผิดตอ
ชีวิตรางกายและทรัพยสินและเพศ เชน ทํารายรางกาย ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย ชิงทรัพย ปลนทรัพย และ
ขมขืนกระทําชําเรา เปนตน
อาชญากรรมพื้นฐานตางจากอาชญากรรมที่จัดเปนองคการอยางไร
อาชญากรรมพื้นฐานแตกตางจากอาชญากรรมที่จัดเปนองคการตรงที่อาชญากรรมพื้นฐานเปน
อาชญากรรมที่ทําเปนสวนบุคคล สวนอาชญากรรมที่เปนองคการ มิใชอาชญากรรมที่ทําเปนสวนบุคคล
แตมีหนวยงานเปนผูดําเนินการรับผิดชอบ ซึ่งสวนใหญจะเปนองคการอาชญากรรมหรือองคการนอก
กฎหมาย เชน การจัดใหมีการคาประเวณี เลนการพนัน คายาเสพติดหรือลักลอบขนของหนีภาษี เปนตน
2.1.4 การจัดทําสถิติและเกณฑวัดแนวโนมของอาชญากรรม
สถิติอาชญากรรมของทางราชการอาจบอกอะไรแกผูอานไดบาง
สถิติอาชญากรรมของทางราชการอาจบอกใหทราบวามีอาชญากรรมอะไรเกิดขึ้นในสังคมใน
แตละปและสะทอนใหเห็นการปฏิบัติงานของเจาพนักงานตํารวจเกี่ยวกับการปราบปรามอาชญากรรม
สถิติอาชญากรรมอยางไมเปนทางการไดมาจากการจัดทํากี่อยาง อะไรบาง
สถิติอาชญากรรมอยางไมเปนทางการไดมาจากการทํา 5 อยางดวยกันคือ
(1) การสังเกตอาชญากรรม
(2) รายงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน
(3) สถานการณทดสอบ
(4) การศึกษาผูเสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรม
(5) คําสารภาพของผูถูกสัมภาษณ
อาชญากรรมประเภทตางๆ ในระหวาง 2530 ถึง 2532 ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นหรือลดลง
อยางไร
อาชญากรรมในประเทศไทยเกิดขึ้นมากมาย อาชญากรรมอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญมีอัตรา
การเกิดขึ้นคอนขางคงที่ คือในรอบ 4 ปที่ผานมา มีการเพิ่มและลดไมมากนัก แตถาวาถึงจํานวนความผิด
ฐานฆาผูอื่นเกิดขึ้นมากที่สุด ในบรรดาความผิดอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญดวยกัน
ในดานความผิดตอชีวิต รางกายและเพศ ความผิดฐานทํารายรางกายเกิดขึ้นมากที่สุด และมี
แนวโนมเพิ่มขึ้น
ในดานความผิดเกี่ยวกับทรัพย ความผิดฐานลักทรัพยเกิดขึ้นมากที่สุด แตมีแนวโนมลดลง
เชนเดียวกับความผิดฐานฉอโกง ซึ่งมีแนวโนมลดลงเชนเดียวกัน สวนความผิดที่เหลือคอนขางคงที่ คือมี
การเพิ่มและลดคอนขางนอยเมื่อพิจารณาความผิดฐานลักทรัพยบางประเภท ความผิดฐานลักรถจักร
ยานยนตและรถยนตเกิดขึ้นมากและมีแนวโนมเพิ่มขึ้น สวนการลักโคกระบือมีแนวโนมลดลง
ในดานความผิดตอ พรบ. อาวุธปนฯ พรบ. การพนัน และ พรบ. ยาเสพติด ความผิดตอ พรบ. ทั้ง
3 นี้ เกิดขึ้นมากและมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น
2.2 ทฤษฎีสาเหตุของอาชญากรรม
1. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมมีที่มาจากทฤษฎีของสํานักคลาสสิกและสํานักโปซิตีพ
2. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยาบอกวา อาชญากรรมเกิดจากความผิดปกติทางกายภาพ
อันมีผลสืบเนื่องมาจากพันธุกรรม
3. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยาอธิบายวา อาชญากรรมเกิดขึ้นจากความผิดปกติทาง
อารมณ ทางจิตและทางบุคลิกภาพ
4. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางสังคมวิทยาอธิบายวา อาชญากรรมเกิดจากอิทธิพลของสังคม
และสิ่งแวดลอม
2.2.1 ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยา
ทฤษฎีสาเหตุของอาชญากรรมทางชีววิทยาที่สําคัญมีกี่ทฤษฎี อะไรบาง
มี 4 ทฤษฎีใหญ คือ
6
(1) ทฤษฎีรูปรางลักษณะทางกาย
(2) ทฤษฎีโครโมโซม ผิดปกติ
(3) ทฤษฎีปญญาออนกับอาชญากรรม
(4) ทฤษฎีการถายทอดทางกรรมพันธุ
ทฤษฎีรูปรางลักษณะทางกายเห็นวาผูที่มีลักษณะทางกายอยางไรจะประกอบอาชญากรรมมาก
ที่สุด
ทฤษฎีรูปรางลักษณะทางกายเห็นวาเด็กหรือผูใหญที่มีรางกายแข็งแร็งแบบนักกีฬา จะกระทํา
ความผิดมากที่สุด
2.2.2 ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยา
ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยามีกี่ทฤษฎี อะไรบาง
ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยามี 4 ทฤษฎีดวยกันคือ (1) ทฤษฎีความผิดปกติทางจิต
กับอาชญากรรม (2) ทฤษฎีจิตวิเคราะห (3) ทฤษฎีปญหาทางอารมณกับอาชญากรรม และ (4) ทฤษฎี
พยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม
ทฤษฎีพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม สามารถอธิบายอาชญากรรมไดเพียงไร
ทฤษฎีพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม พยายามอธิบายวาอาชญากรรมเกิดจากพยาธิสภาพ
ทางจิตตางๆ นานา แตจากการศึกษาปรากฏวา ไมปรากฏวามีความสัมพันธระหวางพยาธิสภาพทางจิต
กับอาชญากรรม และการวิเคราะหพยาธิสภาพทางจิต เปนเรื่องอัตตวิสัยของจิตแพทยแตละคน ทําใหผล
การวิเคราะหแตกตางกันมาก
2.2.3 ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางสังคมวิทยา
ทฤษฎีความไรกฎเกณฑของโรเบิรต เค เมอรตัน เสนอรูปแบบของการปรับตัวของชาวอเมริกันมี
กี่แบบ อะไรบาง
ทฤษฎีความไรกฎเกณฑเสนอรูปแบบของการปรับตัวของชาวอเมริกันไว 5 รูปแบบดวยกัน คือ
(1) แบบคลอยตาม
(2) แบบทําขึ้นใหม
(3) แบบพิธีการ
(4) แบบถอยหลังเขาคลอง
(5) แบบปฏิวัติ
ทฤษฎีการควบคุมภายนอกและภายในกลาวไวอยางไรเกี่ยวกับสาเหตุของอาชญากรรม และ
ทานคิดวาจะนําทฤษฎีนี้มาใชอธิบายสถานภาพอาชญากรรมในประเทศไทยไดหรือไม อยางไร จงให
ความเห็น
ทฤษฎีการควบคุมภายนอกและควบคุมภายในเสนอวาถาการควบคุมภายนอกเขมแข็ง และ
บุคลิกมีการควบคุมภายในเขมแข็งดวย อาชญากรรมจะไมเกิดขึ้น แตถาการควบคุมภายนอกเขมแข็ง
แตการควบคุมภายในออน โอกาสประกอบอาชญากรรมยอมเกิดขึ้น ซึ่งถาการควบคุมทั้งภายนอกและ
ภายในออนแอ อาชญากรรมยอมจะเกิดขึ้นมากโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่
แบบประเมินผล หนวยที่ 2 อาชญากรรมในสังคม
1. การศึกษาอาชญากรรมอยางเปนระบบเริ่มมีขึ้นหลังจากการพิมพเผยแพรผลงานของนักอาชญาวิทยาที่
ชื่อ ซีซาร เบ็คคาเรีย
2. สถิติอาชญากรรมของทางราชการตั้งอยูบนนิยามอาชญากรรม คือ นิยามตามกฎหมาย
3. สํานักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิค เกิดขึ้นกอน
4. ซีซาร ลอมโบรโซ ผูนําแหงสํานักโปซิตีฟ มีความคิดเกี่ยวกับอาชญากรรมคือ อาชญากรรมเกิดขึ้น
เพราะมีสาเหตุทางดานชีววิทยา
5. อาชญากร โดยนิยามทางวิชาการหมายถึงบุคคล ผูที่ไดกระทําผิดทางอาญาและศาลมีคําพิพากษา
ใหลงโทษตามโทษานุโทษ
6. ความผิดฐานวางเพลิง เปนอาชญากรรมอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญ
7. ทฤษฎีอาชญากรโดยกําเนิด เปนทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมของนักอาชญาวิทยาชื่อ ซีซาร ลอมโบรโช
8. ตามทฤษฎีลักษณะทางกายกับอาชญากรรม อาชญากรจะมีรูปราง ล่ําสันแข็งแรงแบบนักกีฬามากที่สุด
9. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิเคราะหมีที่มาจากทฤษฎีของนักวิชาการที่ชื่อ ซิกมัน ฟรอยด
10. ทฤษฎีการคบหาสมาคมที่แตกตางกันเริ่มจากแนวความคิด อาชญากรรม เกิดจากการเรียนรู
11. อาชญากรรมที่ถือวาเปน อาชญากรรมที่ไมมีผูเสียหายคือ เลนการพนัน
12. การศึกษาอาชญากรรมอยางเปนระบบเริ่มโดยสํานักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิก
13. นักอาชญาวิทยาผูที่เปนผูนําของสํานักโปซิตีฟ คือ ซีซาร ลอมโบรโซ
7
14. อาชญากรรมตามทัศนะของนักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิก เปนการกระทําโดยเจตนาเพื่อแสวงหา
ความสุข
15. การปรับตัวที่นําไปสูการประกอบอาชญากรรมตามทฤษฎีโครงสรางทางสังคมและความไรกฎเกณฑคือ
แบบถอยหลังเขาคลอง (Retreatism)
16. ขมขืนกระทําชําเรา เปนอาชญากรรมอุกฉกรรจและสยองขวัญตามนิยามของกรมตํารวจ
17. อาชญากรรมที่จัดทําเปนองคกร คือ การคายาเสพติดใหโทษ
18. ทฤษฎีการคบหาสมาคมที่แตกตางกันของศาสตราจารยซัทเทอรแลนด บอกไววาคนจะลงมือกระทํา
ความผิดเพราะ ไดเรียนรูเทคนิคการประกอบอาชญากรรม
19. สถิติอาชญากรรมของระบบงานยุติธรรมที่บอกสถานภาพและจํานวนอาชญากรรมไดมากที่สุดคือ สถิติ
ของกรมตํารวจ
20. นักอาชญาวิทยาสังคมวิทยาเห็นอาชญากรรมเกิดจากสาเหตุ เกิดจากอิทธิพบของสังคมและ
สิ่งแวดลอม
หนวยที่ 3 การใชบังคับกฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติเปนลายลักษณอักษรที่ชัดแจงปราศจากการคลุมเครือ และ
จะตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด
2. กฎหมายอาญาจะใหผลยอนหลังแกผูกระทํามิได แตยอนหลังเพื่อเปนคุณได
3. กฎหมายอาญาใชบังคับสําหรับการกระทําผิดที่เกิดขึ้นในราชอาณาจักร สวนการกระทําผิดนอก
ราชอาณาจักรนั้น อาจใชบังคับกฎหมายอาญาไดบางกรณี โดยคํานึงถึงสถานที่ สภาพของความผิดและ
ผูกระทําผิด
3.1 ลักษณะการใชกฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติความผิดและบทลงโทษไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดแจงและ
แนนอน
2. กฎหมายอาญาตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด
3. กฎหมายอาญาจะยอนหลังใหผลรายแกผูกระทํา โดยบัญญัติเปนความผิดหรือเพิ่มโทษใน
ภายหลังมิได
3.1.1 กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติโดยชัดแจง
กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติโดยชัดแจงนั้น หมายความวาอยางไร
กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติโดยชัดแจง หมายความวา กฎหมายอาญาจะตองมีบทบัญญัติไว
เปนลายลักษณอักษร โดยบัญญัติความผิดและโทษไวในขณะกระทํา และบทบัญญัตินั้นตองชัดเจน
ปราศจากการคลุมเครือมิฉะนั้นจะใชบังคับมิได ซึ่งประมวลกฎหมายอาญาไดบัญญัติรับรองไวในมาตรา
2 ที่วาบุคคลจักตองรับโทษในทางอาญาตอเมื่อไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชขณะกระทําการนั้นบัญญัติ
เปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผูกระทําผิดนั้นตองเปนโทษที่กําหนดไวในกฎหมาย
การใชบังคับกฎหมายอาญานั้น จะบัญญัติการกระทําที่ที่เปนความผิดโดยไมมีบทกําหนดโทษ
หรือกําหนดบทลงโทษโดยไมบัญญัติความผิดไวไดหรือไม เพราะเหตุใด
การใชบังคับกฎหมายอาญานั้น จะบัญญัติการกระทําที่เปนความผิดโดยไมมีบทกําหนดโทษ
หรือกําหนดบทลงโทษโดยไมบัญญัติความผิดไมได เพราะการลงโทษเปนเรื่องที่มีผลกระทบตอสิทธิและ
เสรีภาพสวนบุคคลโดยตรงหากใหผูอํานาจผูบังคับกฎหมายกําหนดโทษไดเอง หรือลงโทษเสียกอนจึง
กําหนดความผิดภายหลัง ก็จะเปนการเปดชองใหมีการใชอํานาจตามอําเภอใจไดโดยงาย ซึ่งจะเปนผล
ใหกระบวนการยุติธรรมเบี่ยงเบนไป และประชาชนก็จะขาดหลักประกันในสิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล
เชนนี้ยอมเปนที่เสียหายตอความสงบเรียบรอยในบานเมืองและสังคมโดยรวม ฉะนั้นลักษณะการใชบังคับ
กฎหมายจึงถือหลัก “ไมมีความผิด ไมมีโทษ ไมมีกฎหมาย” โดยเครงครัด
3.1.2 กฎหมายอาญาตองมีตีความโดยเครงครัด
ที่วากฎหมายอาญาจะตองตีความตามตัวอักษรอยางเครงครัดนั้นมีความหมายอยางไร
ที่วากฎหมายอาญาจะตองตีความตามตัวอักษรอยางเครงครัดนั้นหมายความวา กฎหมายบัญญัติ
การกระทําใดเปนความผิดและตองรับโทษในทางอาญาแลว ตองถือวาการกระทํานั้นๆ เทานั้นที่เปน
ความผิดและผูกระทําถูกลงโทษจะรวมถึงการกระทําอื่นๆดวยไมได อยางไรก็ดีในบางกรณีการตีความ
ตามตัวอักษรแตเพียงอยางเดียว ยังไมอาจทําใหเขาใจความหมายที่แทจริงของบทบัญญัติแหงกฎหมาย
ได ดวยเหตุนี้จึงตองคํานึงถึงเจตนารมณของกฎหมายดวยนอกจากนี้ การตีความตามตัวอักษรอยาง
เครงครัดดังกลาว มีความหมายเฉพาะการเครงครัดในดานที่เปนคุณแกผูกระทําเทานั้น มิใชในทางที่จะ
เปนโทษแกผูกระทํา
8
ในการตีความกฎหมายอาญานั้น จะนําหลักการเทียบกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง (Analogy) มา
ใชไดหรือไมเพียงใด
ในการตีความกฎหมายอาญานั้น จะนําหลักการเทียบกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง มาใชบังคับ
ใหเปนผลรายแกผูกระทํามิได หลักการเทียบเคียงนั้น ใชเฉพาะในกฎหมายแพงดังที่มีบัญญัติไวใน
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 อยางไรก็ดีหลักการเทียบเคียงดังกลาวอาจนํามาใชเพื่อ
เปนคุณหรือประโยชนแกผูกระทําได
3.1.3 กฎหมายอาญาจะยอนหลังใหผลรายมิได
กฎหมายอาญายอนหลังเปนผลรายมิไดนั้น มีความหมายครอบคลุมเพียงใด
ที่วากฎหมายอาญายอนหลังเปนผลรายมิไดนั้น มีความหมายครอบคลุมใน 2 กรณี ดังตอไปนี้
(1) กฎหมายอาญา จะยอนหลังเพื่อลงโทษมิได กลาวคือในเมื่อไมมีกฎหมายบัญญัติเปน
ความผิดไวในขณะกระทํา จึงใชบังคับกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังยอนหลังกลับไปใหถือวาการกระทํา
นั้นเปนความผิด และลงโทษบุคคลผูกระทํานั้นมิได
(2) กฎหมายอาญาจะยอนหลังเพื่อเพิ่มโทษหรือเพิ่มอายุความมิได กลาวคือในขณะกระทํามีกํา
หมายบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว ตอมามีกําหมายใหมบัญญัติเพิ่มโทษการกระทําดังกลาว
นั้นใหหนักขึ้น หรือเพิ่มอายุความแหงโทษหรืออายุความแหงการฟองรองผูกระทําผิดนั้นใหยาวยิ่งขึ้น จะ
นํากําหมายใหมดังกลาวมาใชบังคับแกผูกระทํามิได ในกรณีเชนนี้จะตองนํากฎหมายที่มีอยูเดิมใชบังคับ
แกผูกระทําผิด
อยางไรก็ดีการใชบังคับกฎหมายอาญาอาจยอนหลังเปนผลดีได และวิธีการเพื่อความปลอดภัย
มิใชโทษทางอาญา จึงใชบังคับยอนหลังได
3.2 การใชกฎหมายอาญาในสวนที่เกี่ยวกับเวลา
1. กฎหมายที่บัญญัติขึ้นในภายหลังแตกตางไปจากกฎหมายที่ใชในขณะกระทําผิด ใหใชกฎหมายใน
สวนที่เปนคุณแกผูกระทําผิด
2. วิธีการเพื่อความปลอดภัย จะใชบังคับแกบุคคลใดก็ตอเมื่อมีบทบัญญัติแหงกฎหมายใหใชบังคับ
ไดเทานั้น และกฎหมายที่จะใชบังคับนั้น ใหใชกฎหมายในขณะที่ศาลพิพากษา
3.2.1 กรณีกฎหมายใหมเปนคุณแกผูกระทําผิด
การใชบังคับกฎหมายอาญายอนหลังเปนผลดีแกผูกระทํานั้น มีกรณีใดบาง อธิบาย
การใชบังคับกฎหมายอาญายอนหลังเปนผลดีแกผูกระทํานั้น มี 2 กรณี ไดแกกฎหมายใหม
ยกเลิกความผิดตามกฎหมายเกา และกรณีกฎหมายใหมแตกตางจากกฎหมายเกา
(ก) กรณีกฎหมายใหมยกเลิกความผิดตามกฎหมายเกา ไดแกกฎหมายที่ออกมาในภายหลัง
บัญญัติใหการกระทํานั้นไมเปนความผิดตามกฎหมายเกา และกรณีใหมแตกตางจากกฎหมายเกา
- ผูกระทํานั้นพนจากการเปนผูกระทําผิด กลาวคือ หากมีกฎหมายใหมยกเลิกความผิดตาม
กฎหมายเกา ในขณะที่ไมมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหคดีนั้นเปนอันยุติ นั้นคือผูกระทําความผิดนั้นพนจาก
การเปนผูกระทําความผิดโดยอัตโนมัติ
- กรณีถือวาผูกระทําไมเคยตองคําพิพากษา หรือใหพนจากการถูกกลาวโทษกลาวคือ หาก
มีกฎหมายใหมยกเลิกความผิดตามกฎหมายเกา ในขณะที่ไดมีคําพิพากษาถคงที่สุดใหลงโทษแลวก็ให
ถือวาผูนั้นไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิดนั้นเลย และหากเปนกรณีที่บุคคลนั้นยังอยูในขณะ
รับโทษ ก็ใหการลงโทษนั้นสิ้นสุดลงและปลอยตัวบุคคลนั้นไป
(ข) กรณีกฎหมายใหมแตกตางจากกฎหมายเกา ไดแกกฎหมายที่ใชบังคับในภายหลังแตกตาง
กับกฎหมายที่ใชบังคับในขณะกระทําความผิด ซึ่งอาจแบงแยกไดเปน 2 กรณี ดังนี้
- กรณีคดียังไมถึงที่สุด กลาวคือ หากกฎหมายที่ใชภายหลังแตกตางกับกฎหมายที่ใช
ในขณะกระทําผิด ในกรณีคดียังไมถึงที่สุดใหใชกฎหมายในสวนที่เปนคุณแกผูกระทําความผิด ไมวา
ในทางใด
- กรณีคดีถึงที่สุดแลว และโทษที่กําหนดตามคําพิพากษาหนักแกโทษที่กําหนดตามกฎหมาย
ที่บัญญัติในภายหลัง ในเมื่อผูกระทํายังไมไดรับโทษ หรือกําลังรับโทษอยูอาจแยกเปน 2 กรณี ไดแก
¾ กรณีโทษตามคําพิพากษามิใชโทษประหารชีวิต หากผูกระทําความผิดยังไมไดรับ
โทษศาลตองกําหนดโทษใหมตามกฎหมายที่ใชบัญญัติในภายหลังในเมื่อผูกระทําความผิด ผูแทนโดย
ชอบธรรมหรือพนักงานอัยการรองขอและหากผูกระทําความผิดกําลังรับโทษอยู ศาลจะตองกําหนดโทษ
เสียใหมตามกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังในกรณีที่ศาลจะกําหนดโทษใหมนี้ หากเห็นเปนการสมควรจะ
กําหนดโทษนอยกวาโทษขั้นต่ําตามกฎหมายใหม หรือศาลจะปลอยตัวผูกระทําผิดไปก็ได
¾ กรณีโทษตามคําพิพากษาเปนโทษประหารชีวิต และตามกฎหมายใหมโทษที่จะลงแก
ผูกระทําความผิดไมถึงกับประหารชีวิต กรณีเชนนี้ใหงดโทษประหารชีวิตแกผูกระทําผิด และใหถือวา
โทษประหารชีวิตตามคําพิพากษาไดเปลี่ยนเปนโทษสูงสุดที่จะลงไดตามกฎหมายใหม โดยไมตองมีการ
รองขอหรือใชดุลพินิจของศาล
9
ศาลจังหวัดนนทบุรีพิพากษาจําคุกนายเขียว 1 เดือน ฐานดื่มสุราในยามวิกาล ตอมารัฐออก
กฎหมายยกเลิกความผิดดังกลาว กฎหมายใหมจะมีผลตอนายเขียวประการใด ถาปรากฏวา
(1) นายเขียวอุทธรณคําพิพากษาตอศาลอุทธรณ และคดียังอยูในระหวางการพิจารณาของศาล
อุทธรณ
(2) นายเขียวไมอุทธรณ ทําใหคําพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรีถึงที่สุดและนายเขียวกําลังรับ
โทษจําคุกอยู
(3) นายเขียวไมอุทธรณ ทําใหคําพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรีถึงที่สุดโดยนายเขียวไดรับโทษ
จําคุกครบกําหนดและพนโทษไปแลว
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 บัญญัติไววา “บุคคลจะตองรับโทษทางอาญาตอเมื่อไดกระทํา
การอันกฎหมายที่ใชในขณะนั้นบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผูกระทําผิด
ตองเปนโทษตามที่บัญญัติไวในกฎหมาย
ถาตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง การกระทําเชนนั้นไมเปนความผิดตอไป
ใหผูที่ไดกระทําการนั้นพนจากการเปนผูกระทําความผิด และถาไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษแลว ก็
ใหถือวาผูนั้นไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิด ถารับโทษอยูก็ใหการลงโทษสิ้นสุดลง
บทบัญญัตินี้ไดวางหลักในการบังคับใชกฎหมายอาญาไววา กฎหมายอาญาไมมีผลยอนหลังไป
บังคับใชกับขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นกอนวันที่กฎหมายอาญาใชบังคับ แตก็มีขอยกเวนอยูวา
ในกรณีกฎหมายภายหลังบัญญัติยกเลิกความผิด กฎหมายใหมนี้มีผลยอนหลังได ซึ่งจะมีผลตอผูการ
กระทํานั้น ดังนี้
(1) ใหผูกระทําพนความผิดทันที
(2) ถามีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษแลว ใหถือวาผูกระทําไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทํา
ความผิด
(3) ถารับโทษอยูก็ใหการลงโทษสิ้นสุดลง
จากขอเท็จจริงตามปญหา ศาลจังหวัดนนทบุรีพิพากษาจําคุกนายเขียว 1 เดือน ฐานดื่มสุราใน
ยามวิกาลตอมามีกฎหมายยกเลิกความผิดนั้นเสีย กรณีนี้เปนเรื่องกฎหมายภายหลังออกมาการยกเลิก
ความผิด ฉะนั้นกฎหมายใหมยอมมีผลยอนหลังได ซึ่งยอมทําใหนายเขียวไดรับผลตามที่กฎหมาย
กําหนดไว ดังตอไปนี้
กรณีแรก นายเขียวอุทธรณคําพิพากษา แสดงวา คําพิพากษายังไมถึงที่สุด เมื่อเปนเชนนี้ตอง
ถือวา นายเขียวพนความผิดไปทันที เจาพนักงานจะดําเนินคดีกับนายเขียวตอไปอีกไมได ตองปลอยตัว
นายเขียว
กรณีที่สอง นายเขียวไมอุทธรณ และรับโทษตามคําพิพากษา กรณีนี้ตองระงับโทษนายเขียว
และปลอยตัว โดยถือวานายเขียวไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิด
กรณีที่สาม นายเขียว รับโทษตามคําพิพากษาอันถึงที่สุดครบกําหนด และพนโทษแลว ก็เปน
กรณีที่มีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษ เมื่อกฎหมายใหมยกเลิกความผิดที่นายเขียวไดกระทําก็ตองถือวา
นายเขียวไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิด
3.2.2 กรณีวิธีการเพื่อความปลอดภัย
การใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยมีหลักเกณฑประการใดบาง
หลักเกณฑการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น มีบทบัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 12 ซึ่งประกอบดวยหลักเกณฑ 2 ประการดังตอไปนี้
(1) วิธีการเพื่อความปลอดภัยที่จะใชบังคับไดตองเปนวิธีการที่กฎหมายกําหนดไว เพราะวิธีการ
เพื่อความปลอดภัยเปนเรื่องของการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ฉะนั้นจะใชบังคับไดตอเมื่อมี
กฎหมายใหอํานาจไวโดยชัดแจงเทานั้น และ
(2) กฎหมายที่จะนํามาใช บังคับเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัยไดตองเปนกฎหมายใน
ขณะที่ศาลพิพากษาคดี มิใชกฎหมายในขณะที่พฤติการณอันเปนเหตุใหอาจนําวิธีการเพื่อความ
ปลอดภัยมาใชนั้นไดเกิดขึ้น เหตุผลก็คือ วิธีการเพื่อความปลอดภัยไมใชโทษ แตเปนวิธีการเพื่อปองกัน
สังคมใหปลอดภัยจากการที่บุคคลนั้นกระทําความผิดในภายภาคหนา
วิธีการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น มีกรณีใดบาง อธิบาย
วิธีการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น อาจแบงไดเปน 4 กรณีดังตอไปนี้
(1) กรณียกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 กลาวคือ เมื่อ
มีกฎหมายใหมยกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัยใดแลว ก็ใหศาลระงับการใชบังคับวิธีการเพื่อความ
ปลอดภัยนั้นเสีย
(2) กรณีเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 14 กลาวคือ เมื่อมีกฎหมายใหมออกมาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่จะสั่งใหมีการใชบังคับวิธีการเพื่อ
ความปลอดภัย ซึ่งเปนผลอันไมอาจนํามาใชบังคับแตกรณีของผูนั้นได หรือนํามาใชบังคับไดแตการใช
บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามกฎหมายใหมเปนคุณแกผูนั้นยิ่งกวา ศาลมีอํานาจสั่งใหยกเลิก
หรือไมก็ได หรือศาลจะสั่งใหใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามกฎหมายใหมที่เปนคุณนั้นเพียงใด
หรือไมก็ไดทั้งนี้อยูในดุลพินิจของศาล
10
(3) กรณีกฎหมายเปลี่ยนโทษ มาเปนวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 15 กลาวคือ กรณีกฎหมายใหมเปลี่ยนโทษทางอาญามาเปนวิธีการเพื่อความปลอดภัย ก็ใหถือวา
โทษที่จะลงนั้นเปนวิธีการเพื่อความปลอดภัย เหตุผลก็คือวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นเบากวาโทษนั่นเอง
และหากกรณีศาลยังไมไดลงโทษผูนั้น หรือผูนั้นยังรับโทษอยู ก็ใหใชวิธีการเพื่อความปลอดภัยแกผูนั้น
ตอไป สวนผลบังคับในเรื่องเงื่อนไขการใชวิธีการเพื่อความปลอดภัยแตกตางไปจากเงื่อนไขเดิม ก็ใหใช
บังคับเชนเดียวกับกรณีมาตรา 14
(4) กรณีเพิกถอนหรืองดใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยชั่วคราวตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 16 กลาวคือ เมื่อพฤติการณเกี่ยวกับการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นเปลี่ยนไป
จากเดิม ศาลจะสั่งเพิกถอนหรืองดการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแกผูนั้นไวชั่วคราวหรือไมก็ได
ทั้งนี้อยูในดุลพินิจของศาล
3.3 การใชกฎหมายอาญาในสวนที่เกี่ยวกับพื้นที่
1. ผูใดกระทําความผิดในราชอาณาจักรตองรับโทษตามกฎหมาย การกระทําความผิดในเรือไทย
หรืออากาศยานไทย ไมวาจะอยู ณ ที่ใด ใหถือวากระทําความผิดในราชอาณาจักร
2. รัฐมีอํานาจลงโทษผูกระทําความผิดนอกราชอาณาจักรไดในความผิดที่เปนผลโดยตรงตอความ
สงบเรียบรอยและความมั่นคงแหงราชอาณาจักร รวมทั้งในระหวางรัฐตางๆ โดยไมคํานึงถึงสัญชาติของ
ผูกระทําผิด
3. รัฐบาลมีอํานาจลงโทษคนในสัญชาติที่กระทําความผิดตอบุคคลในสัญชาติ แมกระทํานอกราช
อาณาเขตก็ตาม ทั้งนี้ภายใตขอบเขตที่จํากัด
4. การกระทําความผิดอันเดียวอาจตกอยูในอํานาจของศาลหลายรัฐ ดังนั้น หากมีการดําเนินคดี
เดียวกันซ้ําอีกครั้งหนึ่ง ก็จะเกิดความไมเปนธรรมที่ผูกระทําความผิด อาจถูกลงโทษสองครั้งในความผิด
เดียวกัน จึงตองอาศัยหลักการคํานึงถึงคําพิพากษาของศาลตางประเทศประกอบดวย
3.3.1 หลักดินแดน
ในกรณีใดบางที่กฎหมายใหถือวาเปนการกระทําความผิดในราชอาณาจักร จงอธิบาย
กรณีที่กฎหมายใหถือวาเปนการกระทําความผิดในราชอาณาจักรมีดังตอไปนี้
(1) กระทําความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทยไมวาอยูที่ใด(แตตองอยูนอกราชอาณาจักร)
ตามมาตรา 4 วรรค 2
(2) การกระทําความผิดบางสวนในราชอาณาจักร และบางสวนนอกราชอาณาจักรตามมาตรา 5
วรรคแรก
(3) การกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และผลแหงการกระทําเกิดขึ้นในราชอาณาจักร
โดยผูกระทําประสงคใหผลเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก
(4) การกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และผลแหงการกระทําผิดเกิดในราชอาณาจักรโดย
ลักษณะแหงการกระทํา ผลนั้นควรเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก
(5) การกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และผลของการกระทําเกิดขึ้นในราชอาณาจักร
โดยยอมจะเล็งเห็นไดวา ผลนั้นจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก
(6) การตระเตรียมการนอกราชอาณาจักร ซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด ถาหากการกระทํา
นั้นจะไดกระทําตลอดไปจนถึงขั้นความผิดสําเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรค 2
(7) การพยายามกระทําการนอกราชอาณาจักร ซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด ถาหากการ
กระทํานั้นจะไดกระทําตลอดไปจนจนถึงขั้นความผิดสําเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ตามมาตรา 5
วรรค 2
(8) ตัวการรวม ผูใช หรือผูสนับสนุน ไดกระทํานอกราชอาณาจักรโดยความผิดนั้นไดกระทําใน
ราชอาณาจักรหรือกฎหมายใหถือวาไดกระทําในราชอาณาจักร ตามมาตรา 6
ก วางยาพิษ ข โดยผสมกับเบียรใหดื่ม ขณะโดยสารเครื่องบินไทยซึ่งบินอยูเหนือนานฟา
ฟลิปปนส ข ลงที่ฮองกง และรักษาตัวในโรงพยาบาลฮองกง 3 วัน อาการยังไมดีขึ้น จึงเดินทางไปรักษา
ตัวที่ญี่ปุนและถึงแกความตายในโรงพยาบาลญี่ปุน ดังนี้ ก ตองรับโทษในประเทศไทยหรือไม
ตาม ปอ. มาตรา 4 ผูใดกระทําความผิดในราชอาณาจักร ตองรับโทษตามกฎหมาย
การกระทําความผิดในเรือไทย หรืออากาศยานไทย ไมรูวาจะอยู ณ ที่ใด ใหถือวากระทํา
ความผิดในราชอาณาจักร
ตามปญหา ก วางยาพิษ ข โดยผสมกับเบียรให ข ดื่ม ขณะโดยสารเครื่องบินไทยในเมื่อ ก ได
กระทําความผิดในอากาศยานไทย ฉะนั้นไมวาจะอยู ณ ที่ใด กฎหมายใหถือวาเปนการกระทําความผิดใน
ราชอาณาจักร ตามมาตรา 4วรรค 2 สําหรับ ข ผูเสียหายจะไปรักษาหรือถึงแกความตายที่ใดก็ไมสําคัญ
เพราะการกระทําความผิดไดเกิดขึ้นและสิ้นสุดลงแลว ในอากาศยานไทย และความตายเปนเพียงสุดทาย
ของการกระทําเทานั้น ดังนั้น ก จึงตองรับโทษในประเทศไทยตามบทบัญญัติดังกลาว
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf

More Related Content

Similar to 41231_Criminal_1.pdf

ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdfssuser04a0ab
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 

Similar to 41231_Criminal_1.pdf (9)

ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 

More from PawachMetharattanara

BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxBIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxPawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdfPawachMetharattanara
 
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxSmart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxPawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdfPawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfPawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfPawachMetharattanara
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfPawachMetharattanara
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docxPawachMetharattanara
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPawachMetharattanara
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxPawachMetharattanara
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxPawachMetharattanara
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdfPawachMetharattanara
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfPawachMetharattanara
 

More from PawachMetharattanara (20)

BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxBIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
 
DLS_CP_Payment Rev.00.pdf
DLS_CP_Payment Rev.00.pdfDLS_CP_Payment Rev.00.pdf
DLS_CP_Payment Rev.00.pdf
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxSmart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
 
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptxKPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
Presentation1333.pptx
Presentation1333.pptxPresentation1333.pptx
Presentation1333.pptx
 
Presentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptxPresentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptx
 
Presentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptxPresentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptx
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
Univiwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdfUniviwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdf
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
 
Catalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdfCatalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdf
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
 

41231_Criminal_1.pdf

  • 1. 1 41231 กฎหมายอาญา 1 : ภาคบทบัญญัติทั่วไป หนวยที่ 1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญาและปรัชญากฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาจัดอยูในสาขากฎหมายมหาชน เปนเรื่องราวความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน โดยบัญญัติวาการกระทําใดๆเปนความผอดและกําหนดโทษที่จะลงแกความผิดนั้น 2. กฎหมายอาญามีความมุงหมายที่จะรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม ใหสมาชิกของสังคมมี ความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสิน 1.1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาเปนกฎหมายที่วาดวยความผิดและโทษ โดย บัญญัติการกระทําเปนความผิด อาญา และกําหนดโทษที่จะลงแกผูกระทําความผิดนั้น 2. ในสังคมเริ่มแรก กฎหมายใหอํานาจแกบุคคลที่จะทําการแกแคนตอผูกระทําผิด และเมื่อรัฐ มั่นคงขึ้นจึงกําหนดใหมีการชดใชคาเสียหายแทนการแกแคน จนในที่สุดรัฐก็เขาไปจัดการลงโทษ ผูกระทําผิดเอง 3. ความผิดอาญาหมายถึง การกระทําหรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปนความผิดและ กําหนดโทษไว 4. ความผิดอาญาแบงแยกไดหลายประเภทแลวแตแนวความคิดและความมุงหมาย เชน ตามความ หนักเบาของโทษ ตามการกระทํา ตามเจตนา ตามศีลธรรม เปนตน 5. กฎหมายอาญาเปนเรื่องระหวางรัฐกับเอกชน และมุงที่จะลงโทษผูกระทําความผิด สวนกฎหมาย แพงเปนเรื่องเกี่ยวกับสิทธิหนาที่ระหวางเอกชนดวยกัน การกระทําความผิดทางแพงจึงไม กระทบกระเทือนตอสังคมเหมือนความผิดอาญา 1.1.1 ความหมายของกฎหมายอาญา กฎหมายอาญามีความหมายอยางไรมีกี่ระบบ และแตละระบบมีความคิดในทางกฎหมายอยางไร กฎหมายอาญาจัดอยูในสาขากฎหมายมหาชน เปนกฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดและ กําหนดโทษที่จะลงแกผูที่กระทําความผิดนั้น กฎหมายอาญามี 2 ระบบคือ ระบบกฎหมายของประเทศที่ใชประมวลกฎหมาย ซึ่งบัญญัติ ความผิดอาญาไวเปนลายลักษณอักษร และระบบคอมมอนลอว ซึ่งความผิดอาญาเปนไปตามหลักเกณฑ ในคําพิพากษาของศาล ความผิดในทางอาญาของประเทศที่ใชระบบประมวลกฎหมายนั้นถือวา การ กระทําใดๆจะเปนความผิดหรือไมและตองรับโทษอยางไร ตองอาศัยตัวบทกฎหมายอาญาเปนหลัก การ ตีความวางหลักเกณฑของความผิดจะตองมาจากตัวบทเหลานั้น คําพิพากษาของศาลไมสามารถสราง ความผิดอาญาขึ้นได แตระบบคอมมอนลอวนั้น การกระทําใดๆจะเปนความผิดอาญาตองอาศัยคํา พิพากษาที่ไดวินิจฉัยไวเปนบรรทัดฐานและนําบรรทัดฐานนั้นมาเปรียบเทียบกับคดีที่เกิดขึ้น 1.1.2 วิวัฒนาการของกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญาในปจจุบันมีวิวัฒนาการมาอยางไร แตเดิมกฎหมายอาญาของไทยมิไดจัดทําในรูปประมวลกฎหมาย แตมีลักษณะเปนกฎหมายแต ละฉบับไป เชน กฎหมายลักษณะโจร ลักษณะวิวาท เปนตน ตอมาในรัชการพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากความจําเปนในดานการปกครองประเทศ และความจําเปนที่จะตองเลิก ศาลกงสุลตางประเทศ จึงไดมีการจัดทําประมวลกฎหมายอาญาขึ้น ทํานองเดียวกันกับกฎหมายอาญา ของประเทศทางตะวันออก และญี่ปุน เรียกวากฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ซึ่งเปนประมวลกฎหมาย อาญาฉบับแรกของไทย กฎหมายลักษณะอาญาไดใชบังคับมาเปนเวลาประมาณ 48 ป จนถึง พ.ศ. 2500 ก็ไดยกเลิกไป และไดประกาศใชประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ซึ่งเปนฉบับปจจุบัน และใช บังคับมาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2500 ซึ่งตรงกับวาระฉลองครบ 25 พุทธศตวรรษ ความผิดอาญาทุกอยางไดนํามาบัญญัติรวบรวมไวในประมวลกฎหมายอาญาหมดหรือไม นํามาบัญญัติไดไมหมดสิ้น ความผิดในประมวลกฎหมายอาญาเปนแตเพียงสวนหนึ่งของ ความผิดอาญาเทานั้น ยังมีความผิดอาญาพระราชบัญญัติตางๆ อีกมากมาย เชน พรบ. ปาไม พรบ. ยา เสพติดใหโทษ เปนตน แตความผิดตามประมวลกฎหมายอาญานั้นๆ เปนความผิดที่มีลักษณะทั่วไปคือ เปนความผิดที่สามัญชนยอมกระทําอยูเปนปกติ เชน ความผิดฐานฆาคนตาย ทํารายรางกาย ลักทรัพย เปนตน สวนความผิดอาญาตาม พระราชบัญญัติอื่น เปนความผิดเฉพาะเรื่องนั้นๆ เชน ความผิดตาม พระราชบัญญัติปาไมก็เปนเรื่องเกี่ยวกับปาไม วาการกระทําเชนไรเปนความผิดและมีโทษเทาใด ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปจจุบันมีเคาโครงอยางไร
  • 2. 2 ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปจจุบัน แบงออกเปน 3 ภาค คือ ภาค 1 วาดวยบทบัญญัติทั่วไป คือ เปนหลักเกณฑทั่วไปของกฎหมายอาญาทั้งปวง ซึ่งจะตองนําไปใชบังคับในความผิดอาญาตามกฎหมาย อื่นดวย ภาค 2 วาดวยความผิดอาญาสามัญ และภาค 3 วาดวยความผิดลหุโทษ 1.1.3 ประเภทของความผิด ความผิดอาญาหมายความวาอยางไร เราอาจแบงความผิดอาญาไดประการใดบาง ความผิดอาญาหมายถึง การกระทําหรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปนความผิดและ กําหนดโทษไว ความผิดอาญาอาจจําแนกออกไดหลายประเภทแลวแตขอพิจารณาในการแบงประเภทนั้นๆ เชน (1) พิจารณาตามความหนักเบาของโทษ แบงเปนความผิดอาญาสามัญและความผิดลหุโทษ (2) พิจารณาในแงเจตนา แบงเปนความผิดที่กระทําโดยเจตนากับความผิดที่กระทําโดย ประมาท และความผิดที่ไมตองกระทําโดยเจตนา (3) พิจารณาในแงศีลธรรม แบงเปนความผิดในตัวเอง เชน ความผิดฐานฆาคนตาม ขมขืน ลัก ทรัพย และความผิดเพราะกฎหมายหาม เชน ความผิดฐานขับรถเร็วเกินสมควร นอกจากนี้อาจแบงไดโดยขอพิจารณาอื่นๆ อีก เชน ตามลักษณะอันตรายตอสังคม ตามลักษณะ การกระทําและตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1.1.4 กฎหมายอาญากับกฎหมายแพง กฎหมายแพงและกฎหมายอาญาตางกันอยางไร มีความตางกันในสาระสําคัญดังตอไปนี้ (1) แตกตางกันดวยลักษณะแหงกฎหมาย กฎหมายแพงเปนกฎหมายที่วาดวยสิทธิ หนาที่ และ ความสัมพันธระหวางเอชนกับเอกชน อาทิ เชน สิทธิและหนาที่ของบิดามารดาที่มีตอบุตร การสมรส การ หยา มรดก ภูมิลําเนาของบุคคล สวนกฎหมายอาญานั้น เปนกฎหมายที่วาดวยความสัมพันธระหวางรัฐกับ เอกชน โดยเอกชนมีหนาที่ตองเคารพตอบทบัญญัติแหงกฎหมาย ซึ่งกําหนดใหการกระทําอันใดก็ตาม เปนความผิดถาหากฝาฝน โดยปกติตองมีโทษ ตัวอยางเชน ความผิดฐานลักทรัพย ฐานปลนทรัพย ฐาน ยักยอก และฐานหมิ่นประมาท เปนอาทิ (2) แตกตางกันดวยวัตถุประสงคของกฎหมาย กฎหมายแพงมีวัตถุประสงคในอันที่จะอํานวย และรักษาไวซึ่งความยุติธรรมในความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกันแมบางกรณีรัฐจะเขาไป เปนคูกรณีในทางแพงก็ตาม รัฐอยูในฐานะเปนเอกชนมีสิทธิหนาที่อยางเดียวกับเอกชนอื่นๆทุกประการ สวนกฎหมายอาญานั้นมีเจตารมยในทางรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง มุงประสงคคุมครองให ความปลอดภัยแกสังคม เมื่อบุคคลใดละเมิดบทบัญญัติแหงกฎหมายอาญา กฎหมายถือวารัฐเปน ผูเสียหายโดยตรง จริงอยูที่ตามระบบกฎหมายอาญาของไทยเรานั้น เอกชนผูถูกลวงละเมิดสิทธิก็ถือวา เปนผูเสียหาย ฟองรองใหศาลลงโทษผูลวงละเมิดตนไดดุจกัน แตสิทธิของเอกชนดังกลาว ตองถือวาเปน เพียงขอยกเวนของหลักกฎหมายที่วารัฐเปนผูเสียหายโดยตรงเทานั้น (3) แตกตางกันดวยการตีความ ในกฎหมายแพงนั้นประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 บัญญัติวาการตีความกฎหมายยอมตองตีความตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัติ แหงกฎหมายถาหากไมมีบทกฎหมายที่จะยกขึ้นปรับแกคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหง ทองถิ่น สวนในกฎหมายอาญานั้นจะตีความอยางกฎหมายแพงไมได หากแตตองตีความโดยเครงครัดจะ ถือวาบุคคลใดมีความผิดตามบทบัญญัติแหงกฎหมายใด ตองตีความตามตัวอักษรที่ปรากฏในบทบัญญัติ แหงกฎหมายนั้นๆ โดยตรงจะมีการขยายความในบทบัญญัติแหงกฎหมายออกไปใหครอบคลุมไปถึงการ กระทําอื่นๆ อันใกลเคียงกับการกระทําที่กฎหมายบัญญัติวาเปนความผิดมิได (4) แตกตางกันดวยสภาพบังคับ ในกฎหมายแพงนั้น มีสภาพบังคับประเภทหนึ่ง กลาวคือถา หากมีการลวงละเมิดกฎหมายแพง บุคคลผูลวงละเมิดไมปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาล ก็อาจจะถูกยึด ทรัพยมาขายทอดตลาดเอาเงินที่ขายไดมาชําระหนี้ตามคําพิพากษาของศาล หรือมิฉะนั้นอาจถูกกักขัง จนกวาจะปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลก็ได สวนในกฎหมายอาญานั้นมีสภาพบังคับอีกประเภทหนึ่ง คือ โทษทางอาญาซึ่งกฎหมายไดบัญญัติไวสําหรับความผิด ซึ่งโทษดังกลาวมีอยู 5 สถานดวยกัน คือ โทษประหารชีวิต จําคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพยสิน 1.2 ปรัชญาของกฎหมายอาญา 1. วัตถุประสงคกฎหมายอาญา คือ คุมครองสวนไดเสียของสังคมใหพนจากการประทุษรายตางๆ กฎหมายอาญาจึงเปนสิ่งจําเปนยิ่งตอความสงบเรียบรอยของสังคม 2. ทฤษฎีกฎหมายอาญา หมายถึง กลุมแนวความคิดหรือหลักการที่ถือวาเปนพื้นฐานของกฎหมาย อาญา 1.2.1 ความมุงหมายของกฎหมายอาญา กฎหมายอาญามีความมุงหมายอยางไร และมีวิธีการใดใหบรรลุถึงความมุงหมายนั้น
  • 3. 3 กฎหมายอาญามีความมุงหมายในอันที่จะคุมครองประโยชนของสวนรวมใหพนจากการ ประทุษราย โดยอาศัยการลงโทษเปนมาตรการสําคัญ รัฐมีเหตุผลประการใดในการใชอํานาจลงโทษผูกระทําความผิด เหตุผลหรือความชอบธรรมในการลงโทษของรัฐมีผูใหความเห็นไว 3 ประการ คือ (1) หลักความยุติธรรม (2) หลักปองกันสังคม (3) หลักผสมระหวางหลักความยุติธรรมและหลักปองกันสังคม ขอจํากัดอํานาจในการลงโทษของรัฐมีอยางไร อํานาจในการลงโทษของรัฐมีขอจํากัดโดยบทบัญญัติในกฎหมาย กลาวคือ (1) โทษจะตองเปนไปตามกฎหมาย (2) ในความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษขั้นสูงไว รัฐจะลงโทษผูกระทําความผิดเกิดกวานั้นไมได เวนแตจะมีเหตุเพิ่มโทษตามกฎหมาย (3) ในความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษขั้นต่ําไว รัฐลงโทษผูกระทําความผิดต่ํากวานั้นไมได เวน แตจะมีเหตุลดโทษตามกฎหมาย (4) ในความผิดที่กฎหมายกําหนดโทษขั้นต่ําไวและขั้นสูงไว รัฐมีอํานาจลงโทษไดตามที่ เห็นสมควรในระหวางโทษขั้นต่ําและขั้นสูงนั้น 1.2.2 ทฤษฎีกฎหมายอาญา ทฤษฎีกฎหมายอาญาในทรรศนะตามคอมมอนลอว เปนประการใด นักทฤษฎีกฎหมายอาญาในระบบคอมมอนลอวเห็นวา กฎหมายอาญาแบงไดเปน 3 สวน คือ ภาคความผิด หลักทั่วไป และหลักพื้นฐาน ภาคความผิด เปนสวนที่บัญญัติเกี่ยวกับความผิดฐานตางๆ หรือคําจํากัดความของความผิดแต ละฐานและกําหนดโทษสําหรับความผิดนั้นนั้นดวย เปนสวนที่มีความหมายแคบที่สุด แตมีจํานวน บทบัญญัติมากที่สุด หลักทั่วไป เปนสวนที่มีความหมายกวางกวาภาคความผิดและนําไปใชบังคับแกความผิดตางๆ เชน เรื่องวิกลจริต ความมึนเมา เด็กกระทําความผิด ความจําเปน การปองกันตัว พยายามกระทํา ความผิด ตัวการ ผูใช ผูสนับสนุน เปนตน หลักพื้นฐาน สวนนี้ถือวาเปนหัวใจของกฎหมายอาญาและเปนสวนที่มีความหมายกวางที่สุด ซึ่ง ตองนําไปใชบังคับแกความผิดอาญาตางๆ เชนเดียวกับหลักทั่วไป หลักพื้นฐานของกฎหมายอาญา ไดแก (1) ความยุติธรรม (2) เจตนา (3) การกระทํา (4) เจตนาและการกระทําตองเกิดรวมกัน (5) อันตรายตอสังคม (6) ความสัมพันธระหวางเหตุกับผล และ (7) ลงโทษ บทบัญญัติทั้ง 3 สวนนี้ยอมสัมพันธกัน กลาวคือ ถาจะเขาใจผิดฐานใดฐานหนึ่งไดชัดแจงจะตอง นําหลักทั่วไปและหลักพื้นฐานไปพิจารณาประกอบดวย เพราะลําพังแตบทบัญญัติภาคความผิดนั้นมิได ใหความหมายหรือคําจํากัดความที่สมบูรณของความผิดแตละฐาน จะตองพิจารณาประกอบกับหลัก ทั่วไปและหลักพื้นฐานเสมอ แบบประเมินผล หนวยที่ 1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญาและปรัชญากฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่วาดวยการกระทําความผิดและกําหนดโทษที่จะลงแกผูกระทําผิด 2. ความคิดทางกฎหมายอาญาของประเทศที่ใชประมวลกฎหมายอาญา ความสําคัญอยูที่ ตัวบทกฎหมายที่ เปนลายลักษณอักษร 3. ประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรกของไทยคือ กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 4. โครงสรางของประมวลกฎหมายฉบับปจจุบันประกอบดวย ภาคบทบัญญัติทั่วไป ภาคความผิด และ ความผิดลหุโทษ รวม 3 ภาค 5. ความผิดทางอาญาหมายถึง การกระทํา หรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปนความผิดและ กําหนดโทษไวดวย 6. ความผิดทางแพงตางกับความผิดทางอาญาคือ ความผิดทางแพงเปนการละเมิดตอเอกชน โดยเฉพาะ สวนความผิดทางอาญาเปนการทําความเสียหายตอสวนรวม 7. กฎหมายอาญามีความมุงหมายคือ คุมครองสวนไดเสียของสังคมโดยการลงโทษผูกระทําผิด 8. เหตุที่รัฐมีเหตุผลในการแทรกแซงเขาไปลงโทษบุคคลคือ เพื่อปองกันสังคมและตอบแทนผูกระทํา ความผิด 9. กรณีความผิด ขับรถชนรั้วบานผูอื่นโดยประมาท เปนความผิดทางแพงเทานั้น 10. ในขอที่ไมใชขอแตกตางระหวางกฎหมายแพงและกฎหมายอาญาคือ กฎหมายอาญามุงที่จะรักษา ความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน สวนกําหมายแพงมุงที่จะรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง 11. เปนการบอกลักษณะของกฎหมายอาญาดีที่สุดคือ กฎหมายที่วาดวยความผิดและโทษสําหรับ ความผิด
  • 4. 4 12. ประเทศที่ใชประมวลกฎหมายอาญา มีความคิดทางกฎหมายอาญาคือ ถือวาตัวบทกฎหมายอาญาที่ เปนลายลักษณอักษรมีความสําคัญที่สุด 13. การกระทําที่จะถือวาเปนความผิดอาญาคือ การกระทําหรือละเวนการกระทําที่กฎหมายบัญญัติเปน ความผิดและกําหนดโทษ 14. สภาพบังคับทางอาญาและสภาพบังคับทางแพง ตางกันเพราะสภาพบังคับทางอาญาเปนการลงโทษ เชน ประหารชีวิตหรือจําคุก สวนสภาพบังคับทางแพงเปนการชดใชคาเสียหาย 15. การกระทําที่ถือวาเปนเฉพาะความผิดทางแพง คือ ขับรถชนรถยนตคันอื่นเสียหายทั้งคัน 16. ความแตกตางระหวางกฎหมายแพงและกฎหมายอาญาคือ สภาพบังคับในกําหมายแพงเปนการชดใช คาเสียหาย สวนกําหมายอาญาเปนการลงโทษ หนวยที่ 2 : อาชญากรรมในสังคม 1. อาชญากรรมคือการกระทําที่มีโทษทางอาญา 2. ตามแนวความคิดของนักอาชญาวิทยาตางสํานักกัน อาชญากรรมอาจเปนพฤติกรรมที่คนเลือก กระทําเพื่อแสวงหาความสุข หรืออาจเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเชนเดียวกับปรากฏการณทาง ธรรมชาติอื่นๆ หรืออาจเปนพฤติกรรมที่เขัดตอบรรทัดฐาน ความประพฤติของคนสวนใหญในสังคม 3. สาเหตุของอาชญากรรมมีที่มาจากการศึกษาของนักอาชญาวิทยาสํานักโปซิตีพ ซึ่งตอมาไดมีผู ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจนกอตั้งเปนทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยา ทางจิตวิทยาและทางสังคม วิทยา 2.1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับอาชญากรรม 1. อาชญากรรมอาจนิยามไดหลายอยาง อาชญากรรมตามกฎหมาย หมายถึงการกระทําที่ฝาฝน บทบัญญัติของกฎหมายอาญา สวนอาชญากรรมตามนิยามทางสังคมหมายถึงการประทําที่ฝาฝนบรรทัด ฐานความประพฤติทางสังคม 2. อาชญากร เปนผูกระทําความผิดที่ศาลไดพิพากษาแลววาไดกระทําความผิดและลงโทษตาม กฎหมาย 3. เพศ อายุ การศึกษาและฐานะทางสังคมอื่นๆ เปนปจจัยที่แสดงใหเห็นสถานะของอาชญากรรม และอาชญากร 4. อาชญาวิทยาเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอาชญากรรมและอาชญากรโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร 5. สํานักอาชญาวิทยาที่สําคัญอาจแบงออกเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 เนนการศึกษาทางดานสาเหตุ อาชญากรรม ซึ่งมีสํานักโปซิตีพเปนสํานักสําคัญ และกลุมที่ 2 เนนทางดานการศึกษาเกี่ยวกับการ ลงโทษผูกระทําความผิดซึ่งมีสํานักคลาสสิกเปนสํานักสําคัญ 6. อาชญากรรมในสังคมอาจแบงออกไดหลายลักษณะคือ อาชญากรรมพื้นฐาน อาชญากรรมจาก การประกอบอาชีพ อาชญากรรมที่ทําเปนองคการ อาชญากรรมที่ทําเปนอาชีพ อาชญากรรมทาง การเมือง และอาชญากรรมที่ขัดตอความสงบเรียบรอยของสังคม ในประเทศไทยอาชญากรรมที่รายแรง และไมรายแรงเกิดขึ้นมาก 7. การจัดทําสถิติอาชญากรรมทําได 2 ทางดวยกันคือ อยางเปนทางราชการและไมเปนทาง ราชการ 8. สถิติอาชญากรรมที่ไมใชทางราชการ อาจใหขอมูลเพิ่มเติมไดวาอาชญากรรมเกิดขึ้นในสังคมมี มากกวาที่ปรากฏในสถิติของทางราชการ เกณฑวัดการเกิดขึ้นของอาชญากรรมวาเพิ่มขึ้นหรือลดลงใน ระหวางปที่ศึกษา อาจทําไดโดยเปรียบเทียบสถิติอาชญากรรมตอประชากร 100,000 คน 2.1.1 อาชญากรรมและอาชญากร นิยามอาชญากรรมมีแบงออกเปนกี่นิยาม อะไรบาง และสถิติอาชญากรรมของทางราชการอาศัย นิยามอะไรเปนหลัก นิยามอาชญากรรมมี 2 นิยาม คือ นิยามตามกฎหมายและนิยามทางสังคม สถิติของทางราชการ ใชนิยามตามกฎหมาย ผูกระทําความผิดที่ตองโทษในเรือนจําไทยสวนใหญจัดอยูในกลุมอายุใด ผูกระทําความผิดที่ตองโทษในเรือนจําของไทยสวนใหญจัดอยูในกลุมอายุ 21-25 ป 2.1.2 อาชญาวิทยาและสํานักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิก มีทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมอยางไร สํานักคลาสสิกเห็นวา อาชญากรรมเกิดจากเจตนจํานงอิสระของบุคคลที่แสวงหาความสุขและได ประกอบกรรมอันนั้นโดยเจตนา เพราะฉะนั้นจึงเนนการศึกษาที่อาชญากรรม
  • 5. 5 สํานักโปซิตีพและสํานักปองกันสังคมมีทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมเหมือนกันหรือตางกันอยางไร สํานักโปสซิตีพและสํานักปองกันสังคม เห็นพองกันวาอาชญากรรมมิใชเปนการกระทําโดย เจตนาหากแตผูถูกบังคับใหกระทําอยางหลีกเลี่ยงไมได และตัวที่บังคับใหกระทํานั้นอาจเปนปจจัยทาง ชีววิทยา ทางจิตวิทยา หรือทางสังคมวิทยาก็ได เพราะฉะนั้นจึงเนนใหศึกษาผูกระทําความผิดเพื่อคนหา สาเหตุโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร 2.1.3 ลักษณะและขอบเขตของอาชญากรรม อาชญากรรมพื้นฐานไดแก อาชญากรรมประเภทใด อาชญากรรมพื้นฐานเปนอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในทุกสังคมตั้งแตโบราณกาล คือ ความผิดตอ ชีวิตรางกายและทรัพยสินและเพศ เชน ทํารายรางกาย ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย ชิงทรัพย ปลนทรัพย และ ขมขืนกระทําชําเรา เปนตน อาชญากรรมพื้นฐานตางจากอาชญากรรมที่จัดเปนองคการอยางไร อาชญากรรมพื้นฐานแตกตางจากอาชญากรรมที่จัดเปนองคการตรงที่อาชญากรรมพื้นฐานเปน อาชญากรรมที่ทําเปนสวนบุคคล สวนอาชญากรรมที่เปนองคการ มิใชอาชญากรรมที่ทําเปนสวนบุคคล แตมีหนวยงานเปนผูดําเนินการรับผิดชอบ ซึ่งสวนใหญจะเปนองคการอาชญากรรมหรือองคการนอก กฎหมาย เชน การจัดใหมีการคาประเวณี เลนการพนัน คายาเสพติดหรือลักลอบขนของหนีภาษี เปนตน 2.1.4 การจัดทําสถิติและเกณฑวัดแนวโนมของอาชญากรรม สถิติอาชญากรรมของทางราชการอาจบอกอะไรแกผูอานไดบาง สถิติอาชญากรรมของทางราชการอาจบอกใหทราบวามีอาชญากรรมอะไรเกิดขึ้นในสังคมใน แตละปและสะทอนใหเห็นการปฏิบัติงานของเจาพนักงานตํารวจเกี่ยวกับการปราบปรามอาชญากรรม สถิติอาชญากรรมอยางไมเปนทางการไดมาจากการจัดทํากี่อยาง อะไรบาง สถิติอาชญากรรมอยางไมเปนทางการไดมาจากการทํา 5 อยางดวยกันคือ (1) การสังเกตอาชญากรรม (2) รายงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน (3) สถานการณทดสอบ (4) การศึกษาผูเสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรม (5) คําสารภาพของผูถูกสัมภาษณ อาชญากรรมประเภทตางๆ ในระหวาง 2530 ถึง 2532 ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นหรือลดลง อยางไร อาชญากรรมในประเทศไทยเกิดขึ้นมากมาย อาชญากรรมอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญมีอัตรา การเกิดขึ้นคอนขางคงที่ คือในรอบ 4 ปที่ผานมา มีการเพิ่มและลดไมมากนัก แตถาวาถึงจํานวนความผิด ฐานฆาผูอื่นเกิดขึ้นมากที่สุด ในบรรดาความผิดอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญดวยกัน ในดานความผิดตอชีวิต รางกายและเพศ ความผิดฐานทํารายรางกายเกิดขึ้นมากที่สุด และมี แนวโนมเพิ่มขึ้น ในดานความผิดเกี่ยวกับทรัพย ความผิดฐานลักทรัพยเกิดขึ้นมากที่สุด แตมีแนวโนมลดลง เชนเดียวกับความผิดฐานฉอโกง ซึ่งมีแนวโนมลดลงเชนเดียวกัน สวนความผิดที่เหลือคอนขางคงที่ คือมี การเพิ่มและลดคอนขางนอยเมื่อพิจารณาความผิดฐานลักทรัพยบางประเภท ความผิดฐานลักรถจักร ยานยนตและรถยนตเกิดขึ้นมากและมีแนวโนมเพิ่มขึ้น สวนการลักโคกระบือมีแนวโนมลดลง ในดานความผิดตอ พรบ. อาวุธปนฯ พรบ. การพนัน และ พรบ. ยาเสพติด ความผิดตอ พรบ. ทั้ง 3 นี้ เกิดขึ้นมากและมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น 2.2 ทฤษฎีสาเหตุของอาชญากรรม 1. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมมีที่มาจากทฤษฎีของสํานักคลาสสิกและสํานักโปซิตีพ 2. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยาบอกวา อาชญากรรมเกิดจากความผิดปกติทางกายภาพ อันมีผลสืบเนื่องมาจากพันธุกรรม 3. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยาอธิบายวา อาชญากรรมเกิดขึ้นจากความผิดปกติทาง อารมณ ทางจิตและทางบุคลิกภาพ 4. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางสังคมวิทยาอธิบายวา อาชญากรรมเกิดจากอิทธิพลของสังคม และสิ่งแวดลอม 2.2.1 ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยา ทฤษฎีสาเหตุของอาชญากรรมทางชีววิทยาที่สําคัญมีกี่ทฤษฎี อะไรบาง มี 4 ทฤษฎีใหญ คือ
  • 6. 6 (1) ทฤษฎีรูปรางลักษณะทางกาย (2) ทฤษฎีโครโมโซม ผิดปกติ (3) ทฤษฎีปญญาออนกับอาชญากรรม (4) ทฤษฎีการถายทอดทางกรรมพันธุ ทฤษฎีรูปรางลักษณะทางกายเห็นวาผูที่มีลักษณะทางกายอยางไรจะประกอบอาชญากรรมมาก ที่สุด ทฤษฎีรูปรางลักษณะทางกายเห็นวาเด็กหรือผูใหญที่มีรางกายแข็งแร็งแบบนักกีฬา จะกระทํา ความผิดมากที่สุด 2.2.2 ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยา ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยามีกี่ทฤษฎี อะไรบาง ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยามี 4 ทฤษฎีดวยกันคือ (1) ทฤษฎีความผิดปกติทางจิต กับอาชญากรรม (2) ทฤษฎีจิตวิเคราะห (3) ทฤษฎีปญหาทางอารมณกับอาชญากรรม และ (4) ทฤษฎี พยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม ทฤษฎีพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม สามารถอธิบายอาชญากรรมไดเพียงไร ทฤษฎีพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม พยายามอธิบายวาอาชญากรรมเกิดจากพยาธิสภาพ ทางจิตตางๆ นานา แตจากการศึกษาปรากฏวา ไมปรากฏวามีความสัมพันธระหวางพยาธิสภาพทางจิต กับอาชญากรรม และการวิเคราะหพยาธิสภาพทางจิต เปนเรื่องอัตตวิสัยของจิตแพทยแตละคน ทําใหผล การวิเคราะหแตกตางกันมาก 2.2.3 ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางสังคมวิทยา ทฤษฎีความไรกฎเกณฑของโรเบิรต เค เมอรตัน เสนอรูปแบบของการปรับตัวของชาวอเมริกันมี กี่แบบ อะไรบาง ทฤษฎีความไรกฎเกณฑเสนอรูปแบบของการปรับตัวของชาวอเมริกันไว 5 รูปแบบดวยกัน คือ (1) แบบคลอยตาม (2) แบบทําขึ้นใหม (3) แบบพิธีการ (4) แบบถอยหลังเขาคลอง (5) แบบปฏิวัติ ทฤษฎีการควบคุมภายนอกและภายในกลาวไวอยางไรเกี่ยวกับสาเหตุของอาชญากรรม และ ทานคิดวาจะนําทฤษฎีนี้มาใชอธิบายสถานภาพอาชญากรรมในประเทศไทยไดหรือไม อยางไร จงให ความเห็น ทฤษฎีการควบคุมภายนอกและควบคุมภายในเสนอวาถาการควบคุมภายนอกเขมแข็ง และ บุคลิกมีการควบคุมภายในเขมแข็งดวย อาชญากรรมจะไมเกิดขึ้น แตถาการควบคุมภายนอกเขมแข็ง แตการควบคุมภายในออน โอกาสประกอบอาชญากรรมยอมเกิดขึ้น ซึ่งถาการควบคุมทั้งภายนอกและ ภายในออนแอ อาชญากรรมยอมจะเกิดขึ้นมากโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ แบบประเมินผล หนวยที่ 2 อาชญากรรมในสังคม 1. การศึกษาอาชญากรรมอยางเปนระบบเริ่มมีขึ้นหลังจากการพิมพเผยแพรผลงานของนักอาชญาวิทยาที่ ชื่อ ซีซาร เบ็คคาเรีย 2. สถิติอาชญากรรมของทางราชการตั้งอยูบนนิยามอาชญากรรม คือ นิยามตามกฎหมาย 3. สํานักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิค เกิดขึ้นกอน 4. ซีซาร ลอมโบรโซ ผูนําแหงสํานักโปซิตีฟ มีความคิดเกี่ยวกับอาชญากรรมคือ อาชญากรรมเกิดขึ้น เพราะมีสาเหตุทางดานชีววิทยา 5. อาชญากร โดยนิยามทางวิชาการหมายถึงบุคคล ผูที่ไดกระทําผิดทางอาญาและศาลมีคําพิพากษา ใหลงโทษตามโทษานุโทษ 6. ความผิดฐานวางเพลิง เปนอาชญากรรมอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญ 7. ทฤษฎีอาชญากรโดยกําเนิด เปนทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมของนักอาชญาวิทยาชื่อ ซีซาร ลอมโบรโช 8. ตามทฤษฎีลักษณะทางกายกับอาชญากรรม อาชญากรจะมีรูปราง ล่ําสันแข็งแรงแบบนักกีฬามากที่สุด 9. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิเคราะหมีที่มาจากทฤษฎีของนักวิชาการที่ชื่อ ซิกมัน ฟรอยด 10. ทฤษฎีการคบหาสมาคมที่แตกตางกันเริ่มจากแนวความคิด อาชญากรรม เกิดจากการเรียนรู 11. อาชญากรรมที่ถือวาเปน อาชญากรรมที่ไมมีผูเสียหายคือ เลนการพนัน 12. การศึกษาอาชญากรรมอยางเปนระบบเริ่มโดยสํานักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิก 13. นักอาชญาวิทยาผูที่เปนผูนําของสํานักโปซิตีฟ คือ ซีซาร ลอมโบรโซ
  • 7. 7 14. อาชญากรรมตามทัศนะของนักอาชญาวิทยา สํานักคลาสสิก เปนการกระทําโดยเจตนาเพื่อแสวงหา ความสุข 15. การปรับตัวที่นําไปสูการประกอบอาชญากรรมตามทฤษฎีโครงสรางทางสังคมและความไรกฎเกณฑคือ แบบถอยหลังเขาคลอง (Retreatism) 16. ขมขืนกระทําชําเรา เปนอาชญากรรมอุกฉกรรจและสยองขวัญตามนิยามของกรมตํารวจ 17. อาชญากรรมที่จัดทําเปนองคกร คือ การคายาเสพติดใหโทษ 18. ทฤษฎีการคบหาสมาคมที่แตกตางกันของศาสตราจารยซัทเทอรแลนด บอกไววาคนจะลงมือกระทํา ความผิดเพราะ ไดเรียนรูเทคนิคการประกอบอาชญากรรม 19. สถิติอาชญากรรมของระบบงานยุติธรรมที่บอกสถานภาพและจํานวนอาชญากรรมไดมากที่สุดคือ สถิติ ของกรมตํารวจ 20. นักอาชญาวิทยาสังคมวิทยาเห็นอาชญากรรมเกิดจากสาเหตุ เกิดจากอิทธิพบของสังคมและ สิ่งแวดลอม หนวยที่ 3 การใชบังคับกฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติเปนลายลักษณอักษรที่ชัดแจงปราศจากการคลุมเครือ และ จะตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด 2. กฎหมายอาญาจะใหผลยอนหลังแกผูกระทํามิได แตยอนหลังเพื่อเปนคุณได 3. กฎหมายอาญาใชบังคับสําหรับการกระทําผิดที่เกิดขึ้นในราชอาณาจักร สวนการกระทําผิดนอก ราชอาณาจักรนั้น อาจใชบังคับกฎหมายอาญาไดบางกรณี โดยคํานึงถึงสถานที่ สภาพของความผิดและ ผูกระทําผิด 3.1 ลักษณะการใชกฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติความผิดและบทลงโทษไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดแจงและ แนนอน 2. กฎหมายอาญาตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด 3. กฎหมายอาญาจะยอนหลังใหผลรายแกผูกระทํา โดยบัญญัติเปนความผิดหรือเพิ่มโทษใน ภายหลังมิได 3.1.1 กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติโดยชัดแจง กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติโดยชัดแจงนั้น หมายความวาอยางไร กฎหมายอาญาตองมีบทบัญญัติโดยชัดแจง หมายความวา กฎหมายอาญาจะตองมีบทบัญญัติไว เปนลายลักษณอักษร โดยบัญญัติความผิดและโทษไวในขณะกระทํา และบทบัญญัตินั้นตองชัดเจน ปราศจากการคลุมเครือมิฉะนั้นจะใชบังคับมิได ซึ่งประมวลกฎหมายอาญาไดบัญญัติรับรองไวในมาตรา 2 ที่วาบุคคลจักตองรับโทษในทางอาญาตอเมื่อไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชขณะกระทําการนั้นบัญญัติ เปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผูกระทําผิดนั้นตองเปนโทษที่กําหนดไวในกฎหมาย การใชบังคับกฎหมายอาญานั้น จะบัญญัติการกระทําที่ที่เปนความผิดโดยไมมีบทกําหนดโทษ หรือกําหนดบทลงโทษโดยไมบัญญัติความผิดไวไดหรือไม เพราะเหตุใด การใชบังคับกฎหมายอาญานั้น จะบัญญัติการกระทําที่เปนความผิดโดยไมมีบทกําหนดโทษ หรือกําหนดบทลงโทษโดยไมบัญญัติความผิดไมได เพราะการลงโทษเปนเรื่องที่มีผลกระทบตอสิทธิและ เสรีภาพสวนบุคคลโดยตรงหากใหผูอํานาจผูบังคับกฎหมายกําหนดโทษไดเอง หรือลงโทษเสียกอนจึง กําหนดความผิดภายหลัง ก็จะเปนการเปดชองใหมีการใชอํานาจตามอําเภอใจไดโดยงาย ซึ่งจะเปนผล ใหกระบวนการยุติธรรมเบี่ยงเบนไป และประชาชนก็จะขาดหลักประกันในสิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล เชนนี้ยอมเปนที่เสียหายตอความสงบเรียบรอยในบานเมืองและสังคมโดยรวม ฉะนั้นลักษณะการใชบังคับ กฎหมายจึงถือหลัก “ไมมีความผิด ไมมีโทษ ไมมีกฎหมาย” โดยเครงครัด 3.1.2 กฎหมายอาญาตองมีตีความโดยเครงครัด ที่วากฎหมายอาญาจะตองตีความตามตัวอักษรอยางเครงครัดนั้นมีความหมายอยางไร ที่วากฎหมายอาญาจะตองตีความตามตัวอักษรอยางเครงครัดนั้นหมายความวา กฎหมายบัญญัติ การกระทําใดเปนความผิดและตองรับโทษในทางอาญาแลว ตองถือวาการกระทํานั้นๆ เทานั้นที่เปน ความผิดและผูกระทําถูกลงโทษจะรวมถึงการกระทําอื่นๆดวยไมได อยางไรก็ดีในบางกรณีการตีความ ตามตัวอักษรแตเพียงอยางเดียว ยังไมอาจทําใหเขาใจความหมายที่แทจริงของบทบัญญัติแหงกฎหมาย ได ดวยเหตุนี้จึงตองคํานึงถึงเจตนารมณของกฎหมายดวยนอกจากนี้ การตีความตามตัวอักษรอยาง เครงครัดดังกลาว มีความหมายเฉพาะการเครงครัดในดานที่เปนคุณแกผูกระทําเทานั้น มิใชในทางที่จะ เปนโทษแกผูกระทํา
  • 8. 8 ในการตีความกฎหมายอาญานั้น จะนําหลักการเทียบกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง (Analogy) มา ใชไดหรือไมเพียงใด ในการตีความกฎหมายอาญานั้น จะนําหลักการเทียบกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง มาใชบังคับ ใหเปนผลรายแกผูกระทํามิได หลักการเทียบเคียงนั้น ใชเฉพาะในกฎหมายแพงดังที่มีบัญญัติไวใน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 อยางไรก็ดีหลักการเทียบเคียงดังกลาวอาจนํามาใชเพื่อ เปนคุณหรือประโยชนแกผูกระทําได 3.1.3 กฎหมายอาญาจะยอนหลังใหผลรายมิได กฎหมายอาญายอนหลังเปนผลรายมิไดนั้น มีความหมายครอบคลุมเพียงใด ที่วากฎหมายอาญายอนหลังเปนผลรายมิไดนั้น มีความหมายครอบคลุมใน 2 กรณี ดังตอไปนี้ (1) กฎหมายอาญา จะยอนหลังเพื่อลงโทษมิได กลาวคือในเมื่อไมมีกฎหมายบัญญัติเปน ความผิดไวในขณะกระทํา จึงใชบังคับกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังยอนหลังกลับไปใหถือวาการกระทํา นั้นเปนความผิด และลงโทษบุคคลผูกระทํานั้นมิได (2) กฎหมายอาญาจะยอนหลังเพื่อเพิ่มโทษหรือเพิ่มอายุความมิได กลาวคือในขณะกระทํามีกํา หมายบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว ตอมามีกําหมายใหมบัญญัติเพิ่มโทษการกระทําดังกลาว นั้นใหหนักขึ้น หรือเพิ่มอายุความแหงโทษหรืออายุความแหงการฟองรองผูกระทําผิดนั้นใหยาวยิ่งขึ้น จะ นํากําหมายใหมดังกลาวมาใชบังคับแกผูกระทํามิได ในกรณีเชนนี้จะตองนํากฎหมายที่มีอยูเดิมใชบังคับ แกผูกระทําผิด อยางไรก็ดีการใชบังคับกฎหมายอาญาอาจยอนหลังเปนผลดีได และวิธีการเพื่อความปลอดภัย มิใชโทษทางอาญา จึงใชบังคับยอนหลังได 3.2 การใชกฎหมายอาญาในสวนที่เกี่ยวกับเวลา 1. กฎหมายที่บัญญัติขึ้นในภายหลังแตกตางไปจากกฎหมายที่ใชในขณะกระทําผิด ใหใชกฎหมายใน สวนที่เปนคุณแกผูกระทําผิด 2. วิธีการเพื่อความปลอดภัย จะใชบังคับแกบุคคลใดก็ตอเมื่อมีบทบัญญัติแหงกฎหมายใหใชบังคับ ไดเทานั้น และกฎหมายที่จะใชบังคับนั้น ใหใชกฎหมายในขณะที่ศาลพิพากษา 3.2.1 กรณีกฎหมายใหมเปนคุณแกผูกระทําผิด การใชบังคับกฎหมายอาญายอนหลังเปนผลดีแกผูกระทํานั้น มีกรณีใดบาง อธิบาย การใชบังคับกฎหมายอาญายอนหลังเปนผลดีแกผูกระทํานั้น มี 2 กรณี ไดแกกฎหมายใหม ยกเลิกความผิดตามกฎหมายเกา และกรณีกฎหมายใหมแตกตางจากกฎหมายเกา (ก) กรณีกฎหมายใหมยกเลิกความผิดตามกฎหมายเกา ไดแกกฎหมายที่ออกมาในภายหลัง บัญญัติใหการกระทํานั้นไมเปนความผิดตามกฎหมายเกา และกรณีใหมแตกตางจากกฎหมายเกา - ผูกระทํานั้นพนจากการเปนผูกระทําผิด กลาวคือ หากมีกฎหมายใหมยกเลิกความผิดตาม กฎหมายเกา ในขณะที่ไมมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหคดีนั้นเปนอันยุติ นั้นคือผูกระทําความผิดนั้นพนจาก การเปนผูกระทําความผิดโดยอัตโนมัติ - กรณีถือวาผูกระทําไมเคยตองคําพิพากษา หรือใหพนจากการถูกกลาวโทษกลาวคือ หาก มีกฎหมายใหมยกเลิกความผิดตามกฎหมายเกา ในขณะที่ไดมีคําพิพากษาถคงที่สุดใหลงโทษแลวก็ให ถือวาผูนั้นไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิดนั้นเลย และหากเปนกรณีที่บุคคลนั้นยังอยูในขณะ รับโทษ ก็ใหการลงโทษนั้นสิ้นสุดลงและปลอยตัวบุคคลนั้นไป (ข) กรณีกฎหมายใหมแตกตางจากกฎหมายเกา ไดแกกฎหมายที่ใชบังคับในภายหลังแตกตาง กับกฎหมายที่ใชบังคับในขณะกระทําความผิด ซึ่งอาจแบงแยกไดเปน 2 กรณี ดังนี้ - กรณีคดียังไมถึงที่สุด กลาวคือ หากกฎหมายที่ใชภายหลังแตกตางกับกฎหมายที่ใช ในขณะกระทําผิด ในกรณีคดียังไมถึงที่สุดใหใชกฎหมายในสวนที่เปนคุณแกผูกระทําความผิด ไมวา ในทางใด - กรณีคดีถึงที่สุดแลว และโทษที่กําหนดตามคําพิพากษาหนักแกโทษที่กําหนดตามกฎหมาย ที่บัญญัติในภายหลัง ในเมื่อผูกระทํายังไมไดรับโทษ หรือกําลังรับโทษอยูอาจแยกเปน 2 กรณี ไดแก ¾ กรณีโทษตามคําพิพากษามิใชโทษประหารชีวิต หากผูกระทําความผิดยังไมไดรับ โทษศาลตองกําหนดโทษใหมตามกฎหมายที่ใชบัญญัติในภายหลังในเมื่อผูกระทําความผิด ผูแทนโดย ชอบธรรมหรือพนักงานอัยการรองขอและหากผูกระทําความผิดกําลังรับโทษอยู ศาลจะตองกําหนดโทษ เสียใหมตามกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังในกรณีที่ศาลจะกําหนดโทษใหมนี้ หากเห็นเปนการสมควรจะ กําหนดโทษนอยกวาโทษขั้นต่ําตามกฎหมายใหม หรือศาลจะปลอยตัวผูกระทําผิดไปก็ได ¾ กรณีโทษตามคําพิพากษาเปนโทษประหารชีวิต และตามกฎหมายใหมโทษที่จะลงแก ผูกระทําความผิดไมถึงกับประหารชีวิต กรณีเชนนี้ใหงดโทษประหารชีวิตแกผูกระทําผิด และใหถือวา โทษประหารชีวิตตามคําพิพากษาไดเปลี่ยนเปนโทษสูงสุดที่จะลงไดตามกฎหมายใหม โดยไมตองมีการ รองขอหรือใชดุลพินิจของศาล
  • 9. 9 ศาลจังหวัดนนทบุรีพิพากษาจําคุกนายเขียว 1 เดือน ฐานดื่มสุราในยามวิกาล ตอมารัฐออก กฎหมายยกเลิกความผิดดังกลาว กฎหมายใหมจะมีผลตอนายเขียวประการใด ถาปรากฏวา (1) นายเขียวอุทธรณคําพิพากษาตอศาลอุทธรณ และคดียังอยูในระหวางการพิจารณาของศาล อุทธรณ (2) นายเขียวไมอุทธรณ ทําใหคําพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรีถึงที่สุดและนายเขียวกําลังรับ โทษจําคุกอยู (3) นายเขียวไมอุทธรณ ทําใหคําพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรีถึงที่สุดโดยนายเขียวไดรับโทษ จําคุกครบกําหนดและพนโทษไปแลว ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 บัญญัติไววา “บุคคลจะตองรับโทษทางอาญาตอเมื่อไดกระทํา การอันกฎหมายที่ใชในขณะนั้นบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผูกระทําผิด ตองเปนโทษตามที่บัญญัติไวในกฎหมาย ถาตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง การกระทําเชนนั้นไมเปนความผิดตอไป ใหผูที่ไดกระทําการนั้นพนจากการเปนผูกระทําความผิด และถาไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษแลว ก็ ใหถือวาผูนั้นไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิด ถารับโทษอยูก็ใหการลงโทษสิ้นสุดลง บทบัญญัตินี้ไดวางหลักในการบังคับใชกฎหมายอาญาไววา กฎหมายอาญาไมมีผลยอนหลังไป บังคับใชกับขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นกอนวันที่กฎหมายอาญาใชบังคับ แตก็มีขอยกเวนอยูวา ในกรณีกฎหมายภายหลังบัญญัติยกเลิกความผิด กฎหมายใหมนี้มีผลยอนหลังได ซึ่งจะมีผลตอผูการ กระทํานั้น ดังนี้ (1) ใหผูกระทําพนความผิดทันที (2) ถามีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษแลว ใหถือวาผูกระทําไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทํา ความผิด (3) ถารับโทษอยูก็ใหการลงโทษสิ้นสุดลง จากขอเท็จจริงตามปญหา ศาลจังหวัดนนทบุรีพิพากษาจําคุกนายเขียว 1 เดือน ฐานดื่มสุราใน ยามวิกาลตอมามีกฎหมายยกเลิกความผิดนั้นเสีย กรณีนี้เปนเรื่องกฎหมายภายหลังออกมาการยกเลิก ความผิด ฉะนั้นกฎหมายใหมยอมมีผลยอนหลังได ซึ่งยอมทําใหนายเขียวไดรับผลตามที่กฎหมาย กําหนดไว ดังตอไปนี้ กรณีแรก นายเขียวอุทธรณคําพิพากษา แสดงวา คําพิพากษายังไมถึงที่สุด เมื่อเปนเชนนี้ตอง ถือวา นายเขียวพนความผิดไปทันที เจาพนักงานจะดําเนินคดีกับนายเขียวตอไปอีกไมได ตองปลอยตัว นายเขียว กรณีที่สอง นายเขียวไมอุทธรณ และรับโทษตามคําพิพากษา กรณีนี้ตองระงับโทษนายเขียว และปลอยตัว โดยถือวานายเขียวไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิด กรณีที่สาม นายเขียว รับโทษตามคําพิพากษาอันถึงที่สุดครบกําหนด และพนโทษแลว ก็เปน กรณีที่มีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษ เมื่อกฎหมายใหมยกเลิกความผิดที่นายเขียวไดกระทําก็ตองถือวา นายเขียวไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิด 3.2.2 กรณีวิธีการเพื่อความปลอดภัย การใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยมีหลักเกณฑประการใดบาง หลักเกณฑการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น มีบทบัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 12 ซึ่งประกอบดวยหลักเกณฑ 2 ประการดังตอไปนี้ (1) วิธีการเพื่อความปลอดภัยที่จะใชบังคับไดตองเปนวิธีการที่กฎหมายกําหนดไว เพราะวิธีการ เพื่อความปลอดภัยเปนเรื่องของการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ฉะนั้นจะใชบังคับไดตอเมื่อมี กฎหมายใหอํานาจไวโดยชัดแจงเทานั้น และ (2) กฎหมายที่จะนํามาใช บังคับเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัยไดตองเปนกฎหมายใน ขณะที่ศาลพิพากษาคดี มิใชกฎหมายในขณะที่พฤติการณอันเปนเหตุใหอาจนําวิธีการเพื่อความ ปลอดภัยมาใชนั้นไดเกิดขึ้น เหตุผลก็คือ วิธีการเพื่อความปลอดภัยไมใชโทษ แตเปนวิธีการเพื่อปองกัน สังคมใหปลอดภัยจากการที่บุคคลนั้นกระทําความผิดในภายภาคหนา วิธีการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น มีกรณีใดบาง อธิบาย วิธีการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น อาจแบงไดเปน 4 กรณีดังตอไปนี้ (1) กรณียกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 กลาวคือ เมื่อ มีกฎหมายใหมยกเลิกวิธีการเพื่อความปลอดภัยใดแลว ก็ใหศาลระงับการใชบังคับวิธีการเพื่อความ ปลอดภัยนั้นเสีย (2) กรณีเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 14 กลาวคือ เมื่อมีกฎหมายใหมออกมาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่จะสั่งใหมีการใชบังคับวิธีการเพื่อ ความปลอดภัย ซึ่งเปนผลอันไมอาจนํามาใชบังคับแตกรณีของผูนั้นได หรือนํามาใชบังคับไดแตการใช บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามกฎหมายใหมเปนคุณแกผูนั้นยิ่งกวา ศาลมีอํานาจสั่งใหยกเลิก หรือไมก็ได หรือศาลจะสั่งใหใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามกฎหมายใหมที่เปนคุณนั้นเพียงใด หรือไมก็ไดทั้งนี้อยูในดุลพินิจของศาล
  • 10. 10 (3) กรณีกฎหมายเปลี่ยนโทษ มาเปนวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 15 กลาวคือ กรณีกฎหมายใหมเปลี่ยนโทษทางอาญามาเปนวิธีการเพื่อความปลอดภัย ก็ใหถือวา โทษที่จะลงนั้นเปนวิธีการเพื่อความปลอดภัย เหตุผลก็คือวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นเบากวาโทษนั่นเอง และหากกรณีศาลยังไมไดลงโทษผูนั้น หรือผูนั้นยังรับโทษอยู ก็ใหใชวิธีการเพื่อความปลอดภัยแกผูนั้น ตอไป สวนผลบังคับในเรื่องเงื่อนไขการใชวิธีการเพื่อความปลอดภัยแตกตางไปจากเงื่อนไขเดิม ก็ใหใช บังคับเชนเดียวกับกรณีมาตรา 14 (4) กรณีเพิกถอนหรืองดใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยชั่วคราวตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 16 กลาวคือ เมื่อพฤติการณเกี่ยวกับการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นเปลี่ยนไป จากเดิม ศาลจะสั่งเพิกถอนหรืองดการใชบังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแกผูนั้นไวชั่วคราวหรือไมก็ได ทั้งนี้อยูในดุลพินิจของศาล 3.3 การใชกฎหมายอาญาในสวนที่เกี่ยวกับพื้นที่ 1. ผูใดกระทําความผิดในราชอาณาจักรตองรับโทษตามกฎหมาย การกระทําความผิดในเรือไทย หรืออากาศยานไทย ไมวาจะอยู ณ ที่ใด ใหถือวากระทําความผิดในราชอาณาจักร 2. รัฐมีอํานาจลงโทษผูกระทําความผิดนอกราชอาณาจักรไดในความผิดที่เปนผลโดยตรงตอความ สงบเรียบรอยและความมั่นคงแหงราชอาณาจักร รวมทั้งในระหวางรัฐตางๆ โดยไมคํานึงถึงสัญชาติของ ผูกระทําผิด 3. รัฐบาลมีอํานาจลงโทษคนในสัญชาติที่กระทําความผิดตอบุคคลในสัญชาติ แมกระทํานอกราช อาณาเขตก็ตาม ทั้งนี้ภายใตขอบเขตที่จํากัด 4. การกระทําความผิดอันเดียวอาจตกอยูในอํานาจของศาลหลายรัฐ ดังนั้น หากมีการดําเนินคดี เดียวกันซ้ําอีกครั้งหนึ่ง ก็จะเกิดความไมเปนธรรมที่ผูกระทําความผิด อาจถูกลงโทษสองครั้งในความผิด เดียวกัน จึงตองอาศัยหลักการคํานึงถึงคําพิพากษาของศาลตางประเทศประกอบดวย 3.3.1 หลักดินแดน ในกรณีใดบางที่กฎหมายใหถือวาเปนการกระทําความผิดในราชอาณาจักร จงอธิบาย กรณีที่กฎหมายใหถือวาเปนการกระทําความผิดในราชอาณาจักรมีดังตอไปนี้ (1) กระทําความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทยไมวาอยูที่ใด(แตตองอยูนอกราชอาณาจักร) ตามมาตรา 4 วรรค 2 (2) การกระทําความผิดบางสวนในราชอาณาจักร และบางสวนนอกราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก (3) การกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และผลแหงการกระทําเกิดขึ้นในราชอาณาจักร โดยผูกระทําประสงคใหผลเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก (4) การกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และผลแหงการกระทําผิดเกิดในราชอาณาจักรโดย ลักษณะแหงการกระทํา ผลนั้นควรเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก (5) การกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และผลของการกระทําเกิดขึ้นในราชอาณาจักร โดยยอมจะเล็งเห็นไดวา ผลนั้นจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก (6) การตระเตรียมการนอกราชอาณาจักร ซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด ถาหากการกระทํา นั้นจะไดกระทําตลอดไปจนถึงขั้นความผิดสําเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรค 2 (7) การพยายามกระทําการนอกราชอาณาจักร ซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด ถาหากการ กระทํานั้นจะไดกระทําตลอดไปจนจนถึงขั้นความผิดสําเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ตามมาตรา 5 วรรค 2 (8) ตัวการรวม ผูใช หรือผูสนับสนุน ไดกระทํานอกราชอาณาจักรโดยความผิดนั้นไดกระทําใน ราชอาณาจักรหรือกฎหมายใหถือวาไดกระทําในราชอาณาจักร ตามมาตรา 6 ก วางยาพิษ ข โดยผสมกับเบียรใหดื่ม ขณะโดยสารเครื่องบินไทยซึ่งบินอยูเหนือนานฟา ฟลิปปนส ข ลงที่ฮองกง และรักษาตัวในโรงพยาบาลฮองกง 3 วัน อาการยังไมดีขึ้น จึงเดินทางไปรักษา ตัวที่ญี่ปุนและถึงแกความตายในโรงพยาบาลญี่ปุน ดังนี้ ก ตองรับโทษในประเทศไทยหรือไม ตาม ปอ. มาตรา 4 ผูใดกระทําความผิดในราชอาณาจักร ตองรับโทษตามกฎหมาย การกระทําความผิดในเรือไทย หรืออากาศยานไทย ไมรูวาจะอยู ณ ที่ใด ใหถือวากระทํา ความผิดในราชอาณาจักร ตามปญหา ก วางยาพิษ ข โดยผสมกับเบียรให ข ดื่ม ขณะโดยสารเครื่องบินไทยในเมื่อ ก ได กระทําความผิดในอากาศยานไทย ฉะนั้นไมวาจะอยู ณ ที่ใด กฎหมายใหถือวาเปนการกระทําความผิดใน ราชอาณาจักร ตามมาตรา 4วรรค 2 สําหรับ ข ผูเสียหายจะไปรักษาหรือถึงแกความตายที่ใดก็ไมสําคัญ เพราะการกระทําความผิดไดเกิดขึ้นและสิ้นสุดลงแลว ในอากาศยานไทย และความตายเปนเพียงสุดทาย ของการกระทําเทานั้น ดังนั้น ก จึงตองรับโทษในประเทศไทยตามบทบัญญัติดังกลาว