SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ข้ อเสนอ
                 เพือการรณรงค์แก้ไขเพิมเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒
                    ่                 ่

           โดยตระหนักว่ามนุษย์ ไม่วาจะชาติกาเนิดใด ดารงตาแหน่งสถานะใด ย่อมมีศกดิ์ศรี ความเป็ นมนุ ษย์
                                         ่                                        ั
มีเสรี ภาพ มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน มีเหตุผล มีความสามารถอดทนอดกลั้นต่อความคิดเห็ นที่แตกต่าง
และในสังคมประชาธิ ปไตย เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นเป็ นเสรี ภาพที่จะขาดเสี ยมิได้ หากจะมีการ
จากัดเสรี ภาพดังกล่าว รัฐต้องกระทาเท่าที่จาเป็ น และจะจากัดจนถึงขนาดกระทบต่อสารัตถะแห่ งเสรี ภาพนั้น
มิได้
           กฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์
พระราชิ นี รั ชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ มี ความไม่เหมาะสมทั้งในแง่ ของโครงสร้ างของ
                                    ้
บทบัญญัติ อัตราโทษ และการบังคับใช้ ประกอบกับกฎหมายดังกล่ าวไม่มีการยกเว้นความผิดในกรณี ที่
บุคคลติชม แสดงความคิดเห็น หรื อแสดงข้อความใดโดยสุ จริ ตเพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งรัฐธรรมนูญและการปกครอง
ในระบอบประชาธิ ป ไตย อี กทั้งในปั จจุ บ นปรากฏชัดว่ากฎหมายดังกล่ าวเปิ ดช่ องให้บุคคลนาไปใช้เป็ น
                                              ั
เครื่ องมือทางการเมือง หรื อนาไปใช้โดยไม่สุจริ ตและไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย
           เพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งเสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นตามความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ คณะนิติราษฎร์
จึงเห็ นควรเสนอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาต
มาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ดังนี้
                                                     ้



                                         ประเด็นที่ ๑
                                   การดารงอยู่ของมาตรา ๑๑๒

ข้ อเสนอ
           ยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๑๑๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา

๑                                                                         www.enlightened-jurists.com
เหตุผล
                                                        ั    ่
       ๑. มาตรา ๑๑๒ แห่ งประมวลกฎหมายอาญาที่ใช้บงคับอยูในปั จจุบนได้รับการบัญญัติข้ ึนโดยคาสั่ง
                                                                        ั
ของคณะปฏิ รูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๔๑ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ ซึ่ งเป็ น “กฎหมาย” ของคณะ
รัฐประหาร บทบัญญัติในมาตรานี้จึงขาดความชอบธรรมทางประชาธิปไตย
       ๒. ข้อเสนอของคณะนิ ติราษฎร์ เป็ นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างของบทบัญญัติต่าง ๆ ในประมวล
กฎหมายอาญาที่ เกี่ ยวข้องกับความผิดฐานหมิ่ นประมาทพระมหากษัตริ ย ์ จึ งจาเป็ นต้องยกเลิ กบทบัญญัติ
มาตรา ๑๑๒ ในลักษณะ ๑ ความผิดเกี่ ยวกับความมันคงแห่ งราชอาณาจักร เพื่อนาไปบัญญัติข้ ึ นใหม่เป็ น
                                                    ่
ลักษณะ... ความผิดเกี่ ยวกับเกี ยรติยศและชื่ อเสี ยงของพระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รัชทายาท และผูสาเร็ จ
                                                                                                ้
ราชการแทนพระองค์



                                          ประเด็นที่ ๒
           ตาแหน่ งแห่ งทีของบทบัญญัติว่าด้ วยความผิดเกียวกับเกียรติยศและชื่อเสี ยงของ
                          ่                             ่
              พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์

ข้ อเสนอ
         ๑. เพิ่มเติมลักษณะ... ความผิดเกี่ ยวกับพระเกียรติของพระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รัชทายาท และ
เกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ไว้ในประมวลกฎหมายอาญา
                ้
         ๒. นาบทบัญญัติเกี่ ย วกับ ความผิดฐานหมิ่ นประมาท ดู หมิ่ น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ าย
พระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ไปบัญญัติไว้ในลักษณะ...
                                            ้
         ๓. แยกความผิดในลักษณะ... เป็ น ๔ ฐานความผิด คือ
              ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริ ย ์
              ความผิดฐานดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์
              ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์
                                                                 ้
              ความผิดฐานดู หมิ่ น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ า ยพระราชิ นี รั ชทายาท และผูส าเร็ จ้
                  ราชการแทนพระองค์

เหตุผล
     โดยสภาพของความผิ ด ความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาท ดู ห มิ่ น หรื อ แสดงความอาฆาตมาดร้ า ย
พระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รัช ทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ในระบอบประชาธิ ปไตยอันมี
                                           ้
๒                                                                           www.enlightened-jurists.com
พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ไม่มีสภาพร้ายแรงถึงขนาดกระทบกระเทือนต่อการดารง
              ์
   ่
อยูของบูรณภาพและความมันคงแห่งราชอาณาจักร
                        ่



                                            ประเด็นที่ ๓
                                     ตาแหน่ งทีได้ รับการคุ้มครอง
                                               ่

ข้ อเสนอ
        แบ่ ง แยกการคุ ้ม ครองส าหรั บ ต าแหน่ ง พระมหากษัต ริ ย ์อ อกจากการคุ ้ม ครองส าหรั บ ต าแหน่ ง
พระราชินี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ดังนี้
                             ้
        มาตรา ... “ผูใดหมิ่นประมาทพระมหากษัตริ ย ์ ต้องระวางโทษ ...
                     ้
        ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทตามวรรคหนึ่งได้กระทาโดยการโฆษณา ผูกระทาต้องระวางโทษ…”
                                                                            ้
        มาตรา ... “ผูใดดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ ต้องระวางโทษ ...”
                       ้
        มาตรา ... “ผูใดหมิ่นประมาทพระราชิ นี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ต้องระวาง
                           ้                                      ้
โทษ ...
        ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทตามวรรคหนึ่งได้กระทาโดยการโฆษณา ผูกระทาต้องระวางโทษ…”
                                                                              ้
        มาตรา ... “ผูใด ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระราชิ นี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการ
                         ้                                                               ้
แทนพระองค์ ต้องระวางโทษ ...”

เหตุผล
       เพื่ อ ให้ ส อดคล้อ งกับ การแบ่ ง แยกการคุ ้ม ครองระหว่า งต าแหน่ ง พระมหากษัต ริ ย ์ก ับ ต าแหน่ ง
พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ในความผิดฐานอื่นๆ กล่าวคือ
                            ้
                    ความผิดฐานปลงพระชนม์พระมหากษัตริ ย ์ (มาตรา ๑๐๗)
                    ความผิดฐานกระทาการประทุษร้ายพระมหากษัตริ ย ์ (มาตรา ๑๐๘)
                    ความผิดฐานปลงพระชนม์พระราชิ นี รัชทายาท และความผิดฐานฆ่าผูสาเร็ จราชการ
                                                                                         ้
                      แทนพระองค์ (มาตรา ๑๐๙)
                    ความผิดฐานกระทาการประทุษ ร้ ายพระราชิ นี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทน
                                                                                  ้
                      พระองค์ (มาตรา ๑๑๐)



๓                                                                             www.enlightened-jurists.com
ประเด็นที่ ๔
                                            อัตราโทษ

ข้ อเสนอ
        ๑. ไม่มีอตราโทษขั้นต่า
                    ั
        ๒. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุกไม่เกินสองปี สาหรับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริ ย ์
และกาหนดโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าความผิดดังกล่าวได้กระทาโดยการโฆษณาให้
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินสี่ แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
        ๓. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุ กไม่เกิ นหนึ่ งปี สาหรั บความผิดฐานดู หมิ่ น หรื อแสดงความ
อาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ และกาหนดโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
        ๔. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุ กไม่เกิ นหนึ่ งปี สาหรั บความผิดฐานหมิ่นประมาทพระราชิ นี
รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ และกาหนดโทษปรับไม่เกิ นสามหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
                  ้
ถ้าความผิดดังกล่าวได้กระทาโดยการโฆษณา ให้ระวางโทษจาคุ กไม่เกิ นสองปี หรื อปรับไม่เกิ นสามแสน
บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
        ๕. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุ กไม่เกิ นหกเดื อน สาหรับความผิดฐานดูหมิ่น หรื อแสดงความ
อาฆาตมาดร้ ายพระราชิ นี รั ชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ และกาหนดโทษปรั บไม่เกิ นหนึ่ ง
                                          ้
หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

เหตุผล
           ๑. ในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ไม่มีการกาหนดอัตราโทษขั้นต่าในความผิดฐานหมิ่นประมาท
พระมหากษัตริ ย ์ ดังนั้น ในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ จึง
                                                               ์
ยิงไม่ควรมีการกาหนดอัตราโทษขั้นต่าในความผิดฐานดังกล่าว
  ่
           ๒. เปิ ดโอกาสให้ศาลได้ใช้ดุลพินิจในการกาหนดโทษจาคุกน้อยเพียงใดก็ได้ตามควรแก่กรณี และ
ในกรณี ท่ีศาลเห็นว่าการกระทานั้นเป็ นความผิด แต่ไม่ควรลงโทษถึงขั้นจาคุก ศาลอาจใช้ดุลพินิจให้ลงโทษ
ปรับแต่เพียงอย่างเดียวก็ได้
           ๓. เป็ นการคุ มครองบุคคลในตาแหน่งพระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการ
                         ้                                                           ้
แทนพระองค์ ให้สมแก่ สถานะแห่ งตาแหน่ ง จึ งกาหนดให้มีอตราโทษขั้นสู งที่ สูงกว่าความผิดฐานหมิ่ น
                                                           ั
ประมาทหรื อดูหมิ่นบุคคลธรรมดา แล้วแต่กรณี และเพื่อให้เกิ ดความสมดุ ลระหว่างความร้ ายแรงของการ
กระทาอันเป็ นความผิดกับโทษที่ผกระทาความผิดนั้นควรได้รับ อันเป็ นไปตามหลักความพอสมควรแก่เหตุ
                                  ู้
ซึ่ งได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ จึงกาหนดให้มีอตราโทษขั้นสู งลดลงจากเดิม
                                                  ั

๔                                                                        www.enlightened-jurists.com
๔. โดยเหตุที่พระมหากษัตริ ยทรงดารงตาแหน่งประมุขของรัฐ ซึ่ งมีสถานะแตกต่างจากพระราชิ นี
                                  ์
รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ จึงกาหนดอัตราโทษให้แตกต่างกัน
                ้
       ๕. โดยเหตุที่ลกษณะของการกระทาความผิดและความเสี ยหายที่เกิดจากการกระทาความผิดฐาน
                       ั
หมิ่นประมาท แตกต่างจากลักษณะของการกระทาความผิดและความเสี ยหายที่เกิดจากการกระทาความผิด
ฐานดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ าย จึงสมควรแยกการกระทาความผิดทั้งสองลักษณะออกจากกัน
และกาหนดอัตราโทษให้แตกต่างกัน



                                              ประเด็นที่ ๕
                                           เหตุยกเว้ นความผิด

ข้ อเสนอ
       เพิ่มเติมเหตุยกเว้นความผิด ดังนี้
       มาตรา ... “ผูใด ติช ม แสดงความคิ ดเห็ น หรื อแสดงข้อความใดโดยสุ จริ ต เพื่ อรัก ษาไว้ซ่ ึ งการ
                       ้
ปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุ ขภายใต้รัฐธรรมนูญ เพื่อธารงไว้ซ่ ึ ง
                                                    ์
รัฐธรรมนูญ เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ หรื อเพื่อประโยชน์สาธารณะ ผูน้ นไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท
                                                                     ้ ั
พระมหากษัตริ ย ์ หรื อหมิ่นประมาทพระราชินี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์”
                                                           ้

เหตุผล
       รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๔๕ รับรองเสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็น และมาตรา
๕๐ รับรองเสรี ภาพในทางวิชาการ ดังนั้น การแสดงความคิดเห็นโดยสุ จริ ตเพื่อการดังกล่าว จึงไม่สมควรเป็ น
ความผิดทางอาญา



                                              ประเด็นที่ ๖
                                             เหตุยกเว้ นโทษ

ข้ อเสนอ
           เพิ่มเติมเหตุยกเว้นโทษ ดังนี้


๕                                                                         www.enlightened-jurists.com
มาตรา ... “ในกรณี ความผิดฐานหมิ่นประมาทตามลักษณะ... ถ้าผูถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิด
                                                                             ้
           ่
พิสูจน์ได้วาข้อความนั้นเป็ นความจริ ง ผูน้ นไม่ตองรับโทษ
                                        ้ ั      ้
        ถ้าข้อที่ กล่ าวหาว่าเป็ นความผิดนั้นเป็ นเรื่ องความเป็ นอยู่ส่วนพระองค์หรื อความเป็ นอยู่ส่ วนตัว
แล้วแต่กรณี และการพิสูจน์น้ นไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน ห้ามมิให้พิสูจน์”
                               ั

เหตุผล
      แม้การกระท านั้นเป็ นความผิด แต่หากการกระทานั้นเป็ นการแสดงข้อความที่ เป็ นจริ ง และเป็ น
ประโยชน์แก่ประชาชน ก็สมควรได้รับการยกเว้นโทษ



                                                  ประเด็นที่ ๗
                                            ผู้มอานาจกล่าวโทษ
                                                ี

ข้ อเสนอ
       ๑. ห้า มบุ ค คลทัวไปกล่ า วโทษว่า มี ก ารกระท าความผิดเกี่ ย วกับ พระเกี ย รติ ข องพระมหากษัตริ ย ์
                        ่
พระราชินี รัชทายาท และเกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์
                                      ้
       ๒. ให้ ส านัก ราชเลขาธิ ก ารเป็ นผู ้ก ล่ า วโทษว่ า มี ก ารกระท าความผิ ด เกี่ ย วกับ พระเกี ย รติ ข อง
พระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และเกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์
                                                        ้

เหตุผล
           ๑. เพื่อมิให้บุคคลทัวไปนาบทบัญญัติดงกล่าวมาใช้เป็ นเครื่ องมือทางการเมืองหรื อนาไปใช้โดยไม่
                               ่              ั
สุ จริ ต
         ๒. โดยเหตุที่สานักราชเลขาธิ การเป็ นหน่ วยงานของรั ฐ มี อานาจหน้าที่ เกี่ ยวกับการเลขานุ การใน
พระองค์พระมหากษัตริ ยตามมาตรา ๔๖ วรรคหนึ่ง (๑) แห่ งพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม
                        ์
                                     ่
พ.ศ.๒๕๔๕ และมีสถานะเป็ นกรม อยูภายใต้การบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง
แห่ งพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ มีกองนิ ติการทาหน้าที่ ดาเนิ นการเกี่ ยวกับ
กฎหมายที่เกี่ ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ยและงานส่ วนพระองค์และดาเนิ นการเกี่ยวกับกฎหมายและ
                                             ์
ระเบียบในความรับผิดชอบของสานักราชเลขาธิ การ จึงสมควรให้สานักราชเลขาธิ การทาหน้าที่ปกป้ องพระ
เกียรติของพระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และเกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์
                                                                 ้


๖                                                                                www.enlightened-jurists.com
หมายเหตุ ข้อเสนอนี้ นอกจากจะเป็ นข้อเสนอเพื่ อการปฏิ รูปประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ แล้ว
คณะนิ ติราษฎร์ ยงมุ่งหวังให้เป็ นมาตรฐานในการปฏิ รูปกฎเกณฑ์เกี่ ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทและ
                    ั
ดู หมิ่ นกรณี อื่น ๆ ในประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ ความผิดฐานหมิ่ นประมาท ดู หมิ่ นหรื อแสดงความ
อาฆาตมาดร้ ายประมุ ข หรื อผูแทนรั ฐต่ างประเทศ (มาตรา ๑๓๓ และมาตรา ๑๓๔) ความผิดฐานดู หมิ่ น
                              ้
เจ้า พนัก งาน (มาตรา ๑๓๖) ความผิ ด ฐานดู ห มิ่ น ศาลหรื อ ผูพิ พ ากษา (มาตรา ๑๙๘) และความผิด ฐาน
                                                            ้
หมิ่นประมาทบุคคลธรรมดา (มาตรา ๓๒๖ และมาตรา ๓๒๘) ให้เป็ นระบบและสอดคล้องกับข้อเสนอนี้ ใน
โอกาสต่อไปด้วย




                                                             คณะนิติราษฎร์ : นิติศาสตร์เพื่อราษฎร
                                                              ท่าพระจันทร์ , ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๔.




๗                                                                     www.enlightened-jurists.com

More Related Content

What's hot

บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วอ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวSukit U-naidhamma
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้วกฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้วYosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 

What's hot (10)

บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
 
การหมั้น
การหมั้นการหมั้น
การหมั้น
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้วกฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
 

Similar to ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์

ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1juniorkorn
 
พ.ร.บ.
พ.ร.บ.พ.ร.บ.
พ.ร.บ.torlarp
 
พ.ร.บ.
พ.ร.บ.พ.ร.บ.
พ.ร.บ.torlarp
 

Similar to ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ (10)

พ.ร.บ
พ.ร.บพ.ร.บ
พ.ร.บ
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พ.ร.บ.
พ.ร.บ.พ.ร.บ.
พ.ร.บ.
 
พ.ร.บ.
พ.ร.บ.พ.ร.บ.
พ.ร.บ.
 

More from Chor Chang

ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์Chor Chang
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดChor Chang
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) Chor Chang
 
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี Chor Chang
 
หนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียนหนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียนChor Chang
 

More from Chor Chang (6)

ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
 
1047
10471047
1047
 
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุดคำร้องถึงอัยการสูงสุด
คำร้องถึงอัยการสูงสุด
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
 
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
แบบฟอร์มถอดถอนรัฐมนตรี
 
หนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียนหนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียน
 

ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์

  • 1. ข้ อเสนอ เพือการรณรงค์แก้ไขเพิมเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ ่ ่ โดยตระหนักว่ามนุษย์ ไม่วาจะชาติกาเนิดใด ดารงตาแหน่งสถานะใด ย่อมมีศกดิ์ศรี ความเป็ นมนุ ษย์ ่ ั มีเสรี ภาพ มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน มีเหตุผล มีความสามารถอดทนอดกลั้นต่อความคิดเห็ นที่แตกต่าง และในสังคมประชาธิ ปไตย เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นเป็ นเสรี ภาพที่จะขาดเสี ยมิได้ หากจะมีการ จากัดเสรี ภาพดังกล่าว รัฐต้องกระทาเท่าที่จาเป็ น และจะจากัดจนถึงขนาดกระทบต่อสารัตถะแห่ งเสรี ภาพนั้น มิได้ กฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รั ชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ มี ความไม่เหมาะสมทั้งในแง่ ของโครงสร้ างของ ้ บทบัญญัติ อัตราโทษ และการบังคับใช้ ประกอบกับกฎหมายดังกล่ าวไม่มีการยกเว้นความผิดในกรณี ที่ บุคคลติชม แสดงความคิดเห็น หรื อแสดงข้อความใดโดยสุ จริ ตเพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งรัฐธรรมนูญและการปกครอง ในระบอบประชาธิ ป ไตย อี กทั้งในปั จจุ บ นปรากฏชัดว่ากฎหมายดังกล่ าวเปิ ดช่ องให้บุคคลนาไปใช้เป็ น ั เครื่ องมือทางการเมือง หรื อนาไปใช้โดยไม่สุจริ ตและไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งเสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นตามความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ คณะนิติราษฎร์ จึงเห็ นควรเสนอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาต มาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ดังนี้ ้ ประเด็นที่ ๑ การดารงอยู่ของมาตรา ๑๑๒ ข้ อเสนอ ยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๑๑๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ๑ www.enlightened-jurists.com
  • 2. เหตุผล ั ่ ๑. มาตรา ๑๑๒ แห่ งประมวลกฎหมายอาญาที่ใช้บงคับอยูในปั จจุบนได้รับการบัญญัติข้ ึนโดยคาสั่ง ั ของคณะปฏิ รูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๔๑ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ ซึ่ งเป็ น “กฎหมาย” ของคณะ รัฐประหาร บทบัญญัติในมาตรานี้จึงขาดความชอบธรรมทางประชาธิปไตย ๒. ข้อเสนอของคณะนิ ติราษฎร์ เป็ นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างของบทบัญญัติต่าง ๆ ในประมวล กฎหมายอาญาที่ เกี่ ยวข้องกับความผิดฐานหมิ่ นประมาทพระมหากษัตริ ย ์ จึ งจาเป็ นต้องยกเลิ กบทบัญญัติ มาตรา ๑๑๒ ในลักษณะ ๑ ความผิดเกี่ ยวกับความมันคงแห่ งราชอาณาจักร เพื่อนาไปบัญญัติข้ ึ นใหม่เป็ น ่ ลักษณะ... ความผิดเกี่ ยวกับเกี ยรติยศและชื่ อเสี ยงของพระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รัชทายาท และผูสาเร็ จ ้ ราชการแทนพระองค์ ประเด็นที่ ๒ ตาแหน่ งแห่ งทีของบทบัญญัติว่าด้ วยความผิดเกียวกับเกียรติยศและชื่อเสี ยงของ ่ ่ พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ข้ อเสนอ ๑. เพิ่มเติมลักษณะ... ความผิดเกี่ ยวกับพระเกียรติของพระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รัชทายาท และ เกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ไว้ในประมวลกฎหมายอาญา ้ ๒. นาบทบัญญัติเกี่ ย วกับ ความผิดฐานหมิ่ นประมาท ดู หมิ่ น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ าย พระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ไปบัญญัติไว้ในลักษณะ... ้ ๓. แยกความผิดในลักษณะ... เป็ น ๔ ฐานความผิด คือ  ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริ ย ์  ความผิดฐานดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์  ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ้  ความผิดฐานดู หมิ่ น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ า ยพระราชิ นี รั ชทายาท และผูส าเร็ จ้ ราชการแทนพระองค์ เหตุผล โดยสภาพของความผิ ด ความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาท ดู ห มิ่ น หรื อ แสดงความอาฆาตมาดร้ า ย พระมหากษัตริ ย ์ พระราชิ นี รัช ทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ในระบอบประชาธิ ปไตยอันมี ้ ๒ www.enlightened-jurists.com
  • 3. พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ไม่มีสภาพร้ายแรงถึงขนาดกระทบกระเทือนต่อการดารง ์ ่ อยูของบูรณภาพและความมันคงแห่งราชอาณาจักร ่ ประเด็นที่ ๓ ตาแหน่ งทีได้ รับการคุ้มครอง ่ ข้ อเสนอ แบ่ ง แยกการคุ ้ม ครองส าหรั บ ต าแหน่ ง พระมหากษัต ริ ย ์อ อกจากการคุ ้ม ครองส าหรั บ ต าแหน่ ง พระราชินี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ดังนี้ ้ มาตรา ... “ผูใดหมิ่นประมาทพระมหากษัตริ ย ์ ต้องระวางโทษ ... ้ ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทตามวรรคหนึ่งได้กระทาโดยการโฆษณา ผูกระทาต้องระวางโทษ…” ้ มาตรา ... “ผูใดดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ ต้องระวางโทษ ...” ้ มาตรา ... “ผูใดหมิ่นประมาทพระราชิ นี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ต้องระวาง ้ ้ โทษ ... ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทตามวรรคหนึ่งได้กระทาโดยการโฆษณา ผูกระทาต้องระวางโทษ…” ้ มาตรา ... “ผูใด ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระราชิ นี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการ ้ ้ แทนพระองค์ ต้องระวางโทษ ...” เหตุผล เพื่ อ ให้ ส อดคล้อ งกับ การแบ่ ง แยกการคุ ้ม ครองระหว่า งต าแหน่ ง พระมหากษัต ริ ย ์ก ับ ต าแหน่ ง พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ในความผิดฐานอื่นๆ กล่าวคือ ้  ความผิดฐานปลงพระชนม์พระมหากษัตริ ย ์ (มาตรา ๑๐๗)  ความผิดฐานกระทาการประทุษร้ายพระมหากษัตริ ย ์ (มาตรา ๑๐๘)  ความผิดฐานปลงพระชนม์พระราชิ นี รัชทายาท และความผิดฐานฆ่าผูสาเร็ จราชการ ้ แทนพระองค์ (มาตรา ๑๐๙)  ความผิดฐานกระทาการประทุษ ร้ ายพระราชิ นี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทน ้ พระองค์ (มาตรา ๑๑๐) ๓ www.enlightened-jurists.com
  • 4. ประเด็นที่ ๔ อัตราโทษ ข้ อเสนอ ๑. ไม่มีอตราโทษขั้นต่า ั ๒. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุกไม่เกินสองปี สาหรับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริ ย ์ และกาหนดโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ถ้าความผิดดังกล่าวได้กระทาโดยการโฆษณาให้ ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินสี่ แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ๓. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุ กไม่เกิ นหนึ่ งปี สาหรั บความผิดฐานดู หมิ่ น หรื อแสดงความ อาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริ ย ์ และกาหนดโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ๔. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุ กไม่เกิ นหนึ่ งปี สาหรั บความผิดฐานหมิ่นประมาทพระราชิ นี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ และกาหนดโทษปรับไม่เกิ นสามหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ้ ถ้าความผิดดังกล่าวได้กระทาโดยการโฆษณา ให้ระวางโทษจาคุ กไม่เกิ นสองปี หรื อปรับไม่เกิ นสามแสน บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ ๕. ลดอัตราโทษขั้นสู งให้เป็ นจาคุ กไม่เกิ นหกเดื อน สาหรับความผิดฐานดูหมิ่น หรื อแสดงความ อาฆาตมาดร้ ายพระราชิ นี รั ชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ และกาหนดโทษปรั บไม่เกิ นหนึ่ ง ้ หมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ เหตุผล ๑. ในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ไม่มีการกาหนดอัตราโทษขั้นต่าในความผิดฐานหมิ่นประมาท พระมหากษัตริ ย ์ ดังนั้น ในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ จึง ์ ยิงไม่ควรมีการกาหนดอัตราโทษขั้นต่าในความผิดฐานดังกล่าว ่ ๒. เปิ ดโอกาสให้ศาลได้ใช้ดุลพินิจในการกาหนดโทษจาคุกน้อยเพียงใดก็ได้ตามควรแก่กรณี และ ในกรณี ท่ีศาลเห็นว่าการกระทานั้นเป็ นความผิด แต่ไม่ควรลงโทษถึงขั้นจาคุก ศาลอาจใช้ดุลพินิจให้ลงโทษ ปรับแต่เพียงอย่างเดียวก็ได้ ๓. เป็ นการคุ มครองบุคคลในตาแหน่งพระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการ ้ ้ แทนพระองค์ ให้สมแก่ สถานะแห่ งตาแหน่ ง จึ งกาหนดให้มีอตราโทษขั้นสู งที่ สูงกว่าความผิดฐานหมิ่ น ั ประมาทหรื อดูหมิ่นบุคคลธรรมดา แล้วแต่กรณี และเพื่อให้เกิ ดความสมดุ ลระหว่างความร้ ายแรงของการ กระทาอันเป็ นความผิดกับโทษที่ผกระทาความผิดนั้นควรได้รับ อันเป็ นไปตามหลักความพอสมควรแก่เหตุ ู้ ซึ่ งได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ จึงกาหนดให้มีอตราโทษขั้นสู งลดลงจากเดิม ั ๔ www.enlightened-jurists.com
  • 5. ๔. โดยเหตุที่พระมหากษัตริ ยทรงดารงตาแหน่งประมุขของรัฐ ซึ่ งมีสถานะแตกต่างจากพระราชิ นี ์ รัชทายาท และผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ จึงกาหนดอัตราโทษให้แตกต่างกัน ้ ๕. โดยเหตุที่ลกษณะของการกระทาความผิดและความเสี ยหายที่เกิดจากการกระทาความผิดฐาน ั หมิ่นประมาท แตกต่างจากลักษณะของการกระทาความผิดและความเสี ยหายที่เกิดจากการกระทาความผิด ฐานดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ าย จึงสมควรแยกการกระทาความผิดทั้งสองลักษณะออกจากกัน และกาหนดอัตราโทษให้แตกต่างกัน ประเด็นที่ ๕ เหตุยกเว้ นความผิด ข้ อเสนอ เพิ่มเติมเหตุยกเว้นความผิด ดังนี้ มาตรา ... “ผูใด ติช ม แสดงความคิ ดเห็ น หรื อแสดงข้อความใดโดยสุ จริ ต เพื่ อรัก ษาไว้ซ่ ึ งการ ้ ปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุ ขภายใต้รัฐธรรมนูญ เพื่อธารงไว้ซ่ ึ ง ์ รัฐธรรมนูญ เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ หรื อเพื่อประโยชน์สาธารณะ ผูน้ นไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท ้ ั พระมหากษัตริ ย ์ หรื อหมิ่นประมาทพระราชินี รัชทายาท หรื อผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์” ้ เหตุผล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๔๕ รับรองเสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็น และมาตรา ๕๐ รับรองเสรี ภาพในทางวิชาการ ดังนั้น การแสดงความคิดเห็นโดยสุ จริ ตเพื่อการดังกล่าว จึงไม่สมควรเป็ น ความผิดทางอาญา ประเด็นที่ ๖ เหตุยกเว้ นโทษ ข้ อเสนอ เพิ่มเติมเหตุยกเว้นโทษ ดังนี้ ๕ www.enlightened-jurists.com
  • 6. มาตรา ... “ในกรณี ความผิดฐานหมิ่นประมาทตามลักษณะ... ถ้าผูถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิด ้ ่ พิสูจน์ได้วาข้อความนั้นเป็ นความจริ ง ผูน้ นไม่ตองรับโทษ ้ ั ้ ถ้าข้อที่ กล่ าวหาว่าเป็ นความผิดนั้นเป็ นเรื่ องความเป็ นอยู่ส่วนพระองค์หรื อความเป็ นอยู่ส่ วนตัว แล้วแต่กรณี และการพิสูจน์น้ นไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน ห้ามมิให้พิสูจน์” ั เหตุผล แม้การกระท านั้นเป็ นความผิด แต่หากการกระทานั้นเป็ นการแสดงข้อความที่ เป็ นจริ ง และเป็ น ประโยชน์แก่ประชาชน ก็สมควรได้รับการยกเว้นโทษ ประเด็นที่ ๗ ผู้มอานาจกล่าวโทษ ี ข้ อเสนอ ๑. ห้า มบุ ค คลทัวไปกล่ า วโทษว่า มี ก ารกระท าความผิดเกี่ ย วกับ พระเกี ย รติ ข องพระมหากษัตริ ย ์ ่ พระราชินี รัชทายาท และเกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ้ ๒. ให้ ส านัก ราชเลขาธิ ก ารเป็ นผู ้ก ล่ า วโทษว่ า มี ก ารกระท าความผิ ด เกี่ ย วกับ พระเกี ย รติ ข อง พระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และเกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ้ เหตุผล ๑. เพื่อมิให้บุคคลทัวไปนาบทบัญญัติดงกล่าวมาใช้เป็ นเครื่ องมือทางการเมืองหรื อนาไปใช้โดยไม่ ่ ั สุ จริ ต ๒. โดยเหตุที่สานักราชเลขาธิ การเป็ นหน่ วยงานของรั ฐ มี อานาจหน้าที่ เกี่ ยวกับการเลขานุ การใน พระองค์พระมหากษัตริ ยตามมาตรา ๔๖ วรรคหนึ่ง (๑) แห่ งพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม ์ ่ พ.ศ.๒๕๔๕ และมีสถานะเป็ นกรม อยูภายใต้การบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง แห่ งพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ มีกองนิ ติการทาหน้าที่ ดาเนิ นการเกี่ ยวกับ กฎหมายที่เกี่ ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ยและงานส่ วนพระองค์และดาเนิ นการเกี่ยวกับกฎหมายและ ์ ระเบียบในความรับผิดชอบของสานักราชเลขาธิ การ จึงสมควรให้สานักราชเลขาธิ การทาหน้าที่ปกป้ องพระ เกียรติของพระมหากษัตริ ย ์ พระราชินี รัชทายาท และเกียรติยศของผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ้ ๖ www.enlightened-jurists.com
  • 7. หมายเหตุ ข้อเสนอนี้ นอกจากจะเป็ นข้อเสนอเพื่ อการปฏิ รูปประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ แล้ว คณะนิ ติราษฎร์ ยงมุ่งหวังให้เป็ นมาตรฐานในการปฏิ รูปกฎเกณฑ์เกี่ ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทและ ั ดู หมิ่ นกรณี อื่น ๆ ในประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ ความผิดฐานหมิ่ นประมาท ดู หมิ่ นหรื อแสดงความ อาฆาตมาดร้ ายประมุ ข หรื อผูแทนรั ฐต่ างประเทศ (มาตรา ๑๓๓ และมาตรา ๑๓๔) ความผิดฐานดู หมิ่ น ้ เจ้า พนัก งาน (มาตรา ๑๓๖) ความผิ ด ฐานดู ห มิ่ น ศาลหรื อ ผูพิ พ ากษา (มาตรา ๑๙๘) และความผิด ฐาน ้ หมิ่นประมาทบุคคลธรรมดา (มาตรา ๓๒๖ และมาตรา ๓๒๘) ให้เป็ นระบบและสอดคล้องกับข้อเสนอนี้ ใน โอกาสต่อไปด้วย คณะนิติราษฎร์ : นิติศาสตร์เพื่อราษฎร ท่าพระจันทร์ , ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๔. ๗ www.enlightened-jurists.com