SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
www.เนติ.com

                              การรั บมรดกของบุตรบุญธรรม
                                                                                            อ.เป สิททิกรณ์ 1
                                                                                                ้          0




1. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
        กรณีที่มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมาย มาตรา 1627 ให้ถือวาบตรบญ
                                                                                   ่ ุ ุ
ธรรมเป็ นผู้สืบสันดานของผู้รับบุตรบุญธรรมเหมือนกับบุตรชอบด้ วยกฎหมายด้ วย บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิ
รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรมที่เป็ นผู้สืบสันดานตามมาตรา 1629 (1) โดยบตร   ุ
บุญธรรมมีสิทธิได้ รับส่วนแบ่งมรดกเท่ากับบุตรชอบด้ วยกฎหมายและบุตรนอกกฎหมายของผู้รับบุตรบุญ
ธรรมเพราะเป็ นทายาทโดยธรรมในลําดับเดียวกันตามมาตรา 1633
          ฎ. 1231-1232/2510 บุตรบุญธรรมที่มิได้ มีการจดทะเบียนตามกฎหมาย ไม่มีสิทธิรับมรดกของ
ผู้รับบุตรบุญธรรม

         ฎ. 587/2523 บุตรผู้เยาว์ทงสามของผู้ร้อง เป็ นบุตรบุญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตาย
                                    ั้
จึงถือว่าเป็ นผู้สืบสันดานของผู้ตายเหมือนกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 1627 และเป็ นทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิได้ รับมรดกในลําดับที่ 1 ตามมาตรา1629



2. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของค่ ูสมรสของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
 กรณี         ที่ผ้ รับบุตรบุญธรรมมีคสมรส คูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมต้ องให้ ความยินยอมในการจด
                    ู                ู่     ่
ทะเบียนรับบุตรบุญธรรมด้ วยตามมาตรา 1598/25 แต่การให้ ความยินยอมนี ้มิได้ ทําคูสมรสของผู้รับบุตร
                                                                                 ่
บญธรรมมีฐานะเป็นผ้ รับบตรบญธรรมอีกคนหนึ่งด้วย ดงนี ้ บตรบญธรรมจึงไมมีฐานะเป็นผ้ สืบสนดานและ
  ุ                       ู ุ ุ                       ั ุ ุ                ่          ู ั
ไม่มีสิทธิรับมรดกของคูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม
                           ่
         ตัวอย่ าง นายหนึ่ง และ นางสอง เป็ นสามีภริยาที่ชอบด้ วยกฎหมาย นายหนึ่งได้ จดทะเบียนรับ
เดกชายเอกเป็นบตรบญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมาย นางสองให้ ความยินยอมแก่นายหนึ่งในการจด
   ็              ุ ุ
ทะเบียนรับเด็กชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมแล้ ว เดกชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมถือวาเป็นผ้ สืบสนดานและมี
                                               ็                         ่      ู ั
สิทธิรับมรดกของนายหนึ่งซึ่งเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรมแตเ่ พียงผ้ เู ดียว

1
 ผู้บริหารสถาบันติวกฎหมายสมาร์ ทลอว์ติวเตอร์ : ติวสอบตรงนิติศาสตร์ , ติวกฎหมายป.ตรี, ตัวทนาย ภาคทฤษฎี
                                                                                       ๋
ภาคปฏิบติ ตวปี, ติวเนติบณฑิตไทย สอบถาม/สมครติว โทร. 086-987-5678, www.SmartLawTutor.com
          ั ั๋          ั                    ั

                                                     1

                    “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                          ั     SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
         ฎ. 1397/2511 บุตรบุญธรรมย่อมเป็ นบุตรบุญธรรมของผู้ที่จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเท่านัน ไม่
                                                                                             ้
เป็ นบุตรบุญธรรมของคูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมด้ วย แม้ ผ้ รับบุตรบุญธรรมถึงแก่ความตายการเป็ นบุตร
                     ่                                    ู
บญธรรมก็ไมขาด
  ุ          ่
       อย่างไรก็ตาม ถ้ าคูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมได้ จดทะเบียนรับเป็ นบุตรบุญธรรมของตนด้ วยตาม
                          ่
มาตรา 1598/26 คูสมรสย่อมมีฐานะเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรม กรณีเช่นนี บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิรับมรดกของ
                  ่                                             ้
คูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรมที่เป็ นผู้สืบสันดานตามมาตรา 1627 และ 1629 (1)
  ่
         ตัวอย่ าง นายหนึ่ง และ นางสอง เป็ นสามีภริยาที่ชอบด้ วยกฎหมาย นายหนึ่งได้ จดทะเบียนรับ
เดกชายเอกเป็นบตรบญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมาย นางสองได้ ให้ ความยินยอมแก่นายหนึ่งและได้ จด
    ็             ุ ุ
ทะเบียนรับเด็กชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมของตนด้ วย เดกชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมและถือวาเป็น
                                                     ็                               ่
ผู้สืบสันดานของนายหนึ่งและนางสอง เด็กชายจึงมีสิทธิรับมรดกของของนายหนึ่งและนายสองได้



3. ค่ ูสมรสของบุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
         ในทํานองเดียว ถ้ าบุคคลซึ่งจะเป็ นบุตรบุญธรรมมีคสมรส คูสมรสก็ต้องให้ ความยินยอมในการเป็ น
                                                         ู่     ่
บุตรบุญธรรมด้ วยตามมาตรา 1598/25 แต่การให้ ความยินยอมนี ้มิได้ ทําให้คสมรสของบุตรบุญธรรมมี
                                                                      ู่
ฐานะเป็นบตรบุญธรรมอีกคนหนึ่งด้ วยแต่อย่างใด คูสมรสของบุตรบุญธรรมจึงไม่ใช่ผ้ สืบสันดานและไม่มี
            ุ                                     ่                             ู
สิทธิรับมีมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมของผู้รับบุตรบุญธรรม

          ตัวอย่ าง นายหนึ่งต้องการจดทะเบียนรับนายเอกเป็นบตรบญธรรมของตน แตนายเอกมีภริยาที่
                                                             ุ ุ                ่
ชอบด้ วยกฎหมายคือนางโท และนางโทได้ ให้ ความยินยอมแก่นายเอกในการเป็ นบุตรบุญธรรมของนาย
หนึ่งแล้ ว เฉพาะนายเอกเพียงผู้เดียวที่มีฐานะเป็ นบุตรบุญธรรมของนายหนึ่ง ส่วนนางโทมิได้ เป็ นบุตรบุญ
ธรรมจึงไม่ใช่ผ้ สืบสันดานและไม่มีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งในฐานะทายาทโดยธรรม
                ู



4. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกแทนท่ผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
                                 ี
         มาตรา 1643 กําหนดให้ผ้ มีสิทธิรับมรดกแทนทีตามมาตรา 1639 ต้องเป็นผ้ สืบสนดานโดยตรง
                                ู                  ่                        ู ั
เท่านัน และคําว่า “ผ้ สืบสนดานโดยตรง” หมายความถึง ผู้สืบสันดานโดยสายโลหิตอันแท้ จริง หรือ
       ้              ู ั
ผู้สืบสันดานในทางสืบสายโลหิตโดยแท้ จริงของบุคคลซึ่งจะเป็ นทายาทตามมาตรา 1629 (1) (3) (4) (6)
สวนบตรบญธรรมโดยสภาพแล้ วไม่ใช่ผ้ สืบสายโลหิตอนแท้จริงของผู้รับบุตรบุญธรรม และมาตรา 1627 ก็
   ่ ุ ุ                             ู           ั

                                                 2

                  “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                        ั   SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
ให้ถือวาบตรบญธรรมเป็นเพียง "ผู้ สืบสันดาน" มิใช่ “ผ้ สืบสนดานโดยตรง” แต่อย่างใด บุตรบุญธรรมจึง
           ่ ุ ุ                                     ู ั
ไม่ใช่ผ้ สืบสันดานโดยตรงและไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ผ้ รับบุตรบุญธรรม
         ู                                            ู
        ตัวอย่ าง นายรวยเป็นบิดาของนายสอง นายสองได้จดทะเบียนรับนายสามเป็นบตรบญธรรมโดย
                                                                              ุ ุ
ชอบด้ วยกฎหมาย ต่อมานายหนึ่งถึงแก่ความตายด้ วยอุบติเหตุ นายรวยทราบเรื่องเสียใจมากจึงตรอมใจ
                                                 ั
ตายตาม นายสามมีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งในฐานะผู้สืบสันดานตามมาตรา 1627 และ 1629 (1)
แตไม่มีสิทธิรับมรดกของนายรวยแทนที่นายหนึ่งเพราะนายสองมิใช่ผ้ สืบสันดานโดยตรงของนายหนึ่ง
  ่                                                          ู
           ฎ.2495/2540 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1643ที่กําหนดให้ สิทธิที่จะรับมรดก
แทนที่กนได้ เฉพาะแก่ผ้ สืบสันดานโดยตรงนันหมายความถึงผู้สืบสันดานโดยสายโลหิตอันแท้ จริงเท่านัน
         ั             ู                 ้                                                         ้
ส่วนบุตรบุญธรรมแม้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1627จะให้ถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนกบ
                                                                            ่     ู ั                ั
บุตรที่ชอบด้ วยกฎหมายก็ตามก็หมายความเพียงว่าบุตรบุญธรรมเป็ นทายาทโดยธรรมตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1629(1)และมีสิทธิได้ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมเท่านันหามีผลทําให้
                                                                                        ้
บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกแทนที่ผ้ รับบุตรบุญธรรมด้ วยไม่เพราะไม่ใช่เป็ นผู้สืบสันดานโดยตรงตาม
                                  ู
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1643ดังนันเมื่อผู้ร้องเป็ นบุตรบุญธรรมของจ. ซึ่งเป็ นพี่น้องร่วม
                                                    ้
บิดามารดาเดียวกันกับเจ้ ามรดกและจ. ถึงแก่ความตายไปก่อนเจ้ ามรดกแล้ วเช่นนี ้ผู้ร้องย่อมไม่มีสิทธิรับ
มรดกของเจ้ามรดกแทนที่จ. ได้ เพราะผู้ร้องไม่ใช่ผ้ สืบสันดานโดยตรงของจ. ผู้ร้องจึงไม่ใช่ทายาทหรือผู้มี
                                                 ู
ส่วนได้ เสียในทรัพย์มรดกของเจ้ ามรดกในอันที่จะร้ องต่อศาลขอให้ ตงผู้จดการมรดกของเจ้ ามรดกตาม
                                                                ั้ ั
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1713

         ฎ. 773/2528 ผู้สืบสันดานโดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1643หมายถึง
ผู้สืบสันดานในทางสืบสายโลหิตโดยแท้ จริง บตรบญธรรมนนกฎหมายถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนกบ
                                            ุ ุ          ั้           ่   ู ั               ั
บุตร ที่ชอบด้ วยกฎหมาย มีสิทธิได้ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมแต่บตรบุญธรรมหาใช่ผ้ สืบสันดาน
                                                                   ุ              ู
โดยตรงของผู้รับบุตรบุญธรรมไม่ จึงไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ผ้ รับบุตรบุญธรรม
                                                            ู



5. บุตรของบุตรบุญธรรรมมีสิทธิรับมรดกแทนท่บุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
                                         ี
        ในกรณีที่บตรบุญธรรมตายก่อนผู้รับบุตรบุญธรรมหรื อถูกกําจัดมิให้ รับมรดกก่อนผู้รับบุตรบุญ
                  ุ
ธรรมถึงแก่ความตาย ถ้ าบุตรบุญธรรมมีผ้ สืบสันดานโดยตรง อันได้ แก่ บุตรชอบด้ วยกฎหมาย และ บุตร
                                      ู
นอกกฎหมายที่บิดา(บุตรบุญธรรม)รับรองแล้ ว เช่นนี ้ บุตรของบุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกแทนที่บตรบุญ
                                                                                            ุ
ธรรมได้

                                                  3

                  “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                        ั   SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
        ตัวอย่ าง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรมโดยถกต้องตามกฎหมาย นายหนึ่งมี
                                                 ุ ุ             ู
นายสองเป็ นบุตรชอบด้ วยกฎหมายและนายสามเป็ นบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ ว นายหนึ่งถึงแก่
ความตายเพราะถูกนายโหดฆ่าตาย ต่อมานายรวยไปแก้ แค้ นจึงถูกนายโหดฆ่าตายเช่นกัน นายสองและ
นายสามมีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งได้ในฐานะทายาทโดยธรรมที่เป็นผ้ สืบสนดานตามมาตรา 1629 (1)
                                                              ู ั
และ มีสิทธิรับมรดกของนายรวยแทนที่นายหนึ่งเพราะนายสองและนายสามเป็ นผู้สืบสันดานโดยตรงของ
นายหนึ่ง

         ฎ. 290/2494 บุตรบุญธรรมตายก่อนผู้รับบุตรบุญธรรม บุตรของบุตรบุญธรรมย่อมมีสิทธิรับมรดก
แทนที่กนได้ตามสิทธิทกฎหมายให้ ไว้ ตามประมวลแพ่งฯ มาตรา 1639
       ั             ี่



6. บุตรบุญธรรมสืบมรดกของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
 มาตรา 1607               กําหนดว่า การถูกกําจัดมิให้ รับมรดกนันเป็ นการเฉพาะตัว ผ้ สืบสนดานของทายาทที่
                                                                    ้                 ู ั
ถกกําจดสืบมรดกตอไปเหมือนหนึ่งวาทายาทนนตายแล้วให้ ซึ่งมีข้อสังเกตว่า กรณีสืบมรดกนันกฎหมาย
   ู     ั              ่                   ่       ั้                                            ้
ใช้ ถ้อยคําว่า "ผู้ สืบสันดาน" มิใช่ “ผู้ สืบสันโดยตรง” ดงนี ้ บุตรบุญธรรมซึ่งมาตรา 1627 ให้ถือวาเป็น
                                                         ั                                      ่
ผู้สืบสันดานจึงน่าจะมีสิทธิสืบมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมได้

         ตัวอย่ าง นายรวยเป็นบิดาของนายหนึ่งและนายสอง นายหนึ่งจดทะเบียนรับนายเอกเป็นบตร
                                                                                      ุ
บุญธรรมโดยถูกต้ องตามกฎหมาย ต่อมานายรวยตายมีทรัพย์มรดก 2,000,000 บาท แต่นายหนึ่งยักย้ าย
หรือปิ ดบังทรัพย์มรดกของนายรวยทังหมด นายหนึ่งจึงถูกกําจัดมิให้ รับมรดกเลยตามมาตรา1605
                                 ้
นายเอกมีสิทธิสืบมรดกของนายรวย 1,000,000 บาท ส่วนนายสองมีสิทธิได้ รับมรดกของนายรวยเพียง
1,000,000 บาท



7. ผ้ รับบุตรบุญธรรมรับมรดกของบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
      ู
 มาตรา 1627 บญญัติ
                ั              ไว้เพียงวา ให้ บตรบุญธรรมมีสิทธิได้ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม
                                        ่       ุ
เช่นเดยวกบบตรชอบด้ วยกฎหมาย แต่มิได้บญญัติให้ถือวา "ผู้ รับบุตรบุญธรรม" มีฐานะเป็นบิดาหรือ
        ี ั ุ                                 ั         ่
มารดาของบุตรบุญธรรม อีกทัง มาตรา 1598/29 ก็บญญัติไว้ชดเจนวา “การรับบุตรบุญธรรมไม่ก่อให้ เกิด
                               ้                    ั        ั        ่
สิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรมเพราะเหตุการณ์รับบุตรบุญธรรมนัน” ด้วยเหตนี ้  ้    ุ
ผู้รับบุตรบุญธรรมจึงไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรม อย่างไรก็ตาม กฎหมาย

                                                  4

                   “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                         ั   SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
มิได้ ห้ามผู้รับบุตรบุญธรรมรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะผู้รับพินยกรรม บุตรบุญธรรมจึงสามารถทํา
                                                               ั
พินยกรรมยกทรัพย์มรดกของตนให้ แก่ผ้ รับบุตรบุญธรรมได้
    ั                                ู
       ตัวอย่ าง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรม ตอมานายหนึ่งตายมีมรดก
                                                ุ ุ       ่
1,000,000 บาท นายรวยไม่มีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งเลย
        ตัวอย่ าง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรม ก่อนตายนายหนึ่งทําพินยกรรมยก
                                                 ุ ุ                           ั
ทรัพย์มรดกให้ นายรวย 500,000 บาท ตอมานายหนึ่งตายมีทรัพย์มรดก 1,000,000 บาท นายรวยมีสิทธิรับ
                                   ่
มรดกของนายหนึ่งในฐานะผู้รับพินยกรรมเพียง 500,000 บาท
                              ั



8. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของบิดามารดาผ้ ูให้กําเนิดได้หรือไม่ ?
 กรณีที่มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม บิดามารดาผู้ให้ กําเนิดเพียงแต่         หมดอานาจปกครอง
                                                                                       ํ
เท่านัน มิได้บญญัติให้ การเป็ นบิดามารดาสิ ้นสุดลงแต่อย่างใด อีกทัง มาตรา 1598/28 ก็บญญัติไว้ ชดเจน
       ้      ั                                                   ้                      ั     ั
ว่า บุตรบุญธรรมยังคงมีสิทธิและหน้ าทีในครอบครัวที่ได้กําเนิดมาเช่นเดิม ด้ วยเหตุนี ้ บตรบญธรรมจึงยงมี
                                       ่                                              ุ ุ         ั
ฐานะเป็ นผู้สืบสันดานและมีสิทธิได้ รับมรดกของบิดาชอบด้ วยกฎหมายและมารดาชอบด้ วยกฎหมายตาม
มาตรา 1629 (1) เช่นเดิม

        ตัวอย่ าง นายหลอและนางสวยจดทะเบียนสมรสกนถกต้องตามกฎหมายมีบตร 1 คน คือ
                       ่                          ั ู               ุ
นายหนึ่ง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรมโดยชอบด้วยกฎหมาย นายหลอและนางสวย
                                        ุ ุ                           ่
ถึงแก่ความตายมีทรัพย์มรดก 1,000,000 บาท ย่อมตกทอดแก่นายหนึ่ง



9. บิดาและมารดาผ้ ูให้กําเนิดมีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ?
 กรณีที่มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม บิดามารดาผู้ให้ กําเนิดเพียงแต่หมดอํานาจปกครอง
เท่านัน การเป็ นบิดามารดามิได้สิ ้นสุดลงแต่อย่างใด ตามมาตรา 1598/28 บิดาที่ชอบด้ วยกฎหมายและ
      ้
มารดาชอบด้ วยกฎหมายจึงยังมีฐานะเป็ น “บิดามารดา” อนเป็ นทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1629 (2)
                                                       ั
และมีสิทธิรับมรดกของบุตรเช่นเดิม




                                                  5

                   “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                         ั   SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
       ตัวอย่ าง นายหล่อและนางสวยจดทะเบียนสมรสกันมีบตร 1 คน คือ นายหนึ่ง ตอมานายรวยจด
                                                       ุ                  ่
ทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรมของตน นายรวยยกที่ดินของตนให้แก่นายหนึ่งจํานวน1 แปลง มลคา
                       ุ ุ                                                          ู ่
1,000,000 บาท ตอมานายหนึ่งตาย ที่ดินแปลงนี ้เป็นมรดกตกทอดแก่นายหลอและนางสวยในญานะ
                 ่                                               ่
ทายาทโดยธรรมลําดับ 2 คือ บิดาชอบด้ วยกฎหมายและมารดาชอบด้ วยกฎหมาย



                                 คาพิพากษาฎีกาท่ น่าสนใจ
                                  ํ              ี


           ฎ. 4734/2548 การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมตาม ป.พ.พ. มาตรา 1583 (เดิม) และ 1585 (เดิม)
ประกอบ พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 มาตรา 22 ที่ต้องได้ รับความยินยอมจากบิดามารดานัน          ้
มิได้บงคบวา ความยินยอมต้องทําเป็นหนงสือหรือต้องมีลายมือชื่อของบิดามารดาให้ความยินยอมแต่
      ั ั ่                                   ั
อย่างใด เมื่อข้ อเท็จจริ งได้ ความว่า ม. ซึ่งเป็ นมารดาของเด็กหญิง อ. และเดกชาย ส. ได้ให้ความยินยอมใน
                                                                           ็
การที่ผ้ ตายจดทะเบียนรับเด็กหญิง อ. และเดกชาย ส. เป็ นบุตรบุญธรรม แม้ ม. จะไมได้ลงลายมือชื่อใน
         ู                                        ็                                 ่
ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม การรับบุตรบุญธรรมของผู้ตายก็ชอบด้ วยบทกฎหมายดังกล่าว
         เดกหญิง อ. และเดกชาย ส. มีฐานะอย่างเดียวกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตายตาม ป.พ.พ.
            ็              ็
มาตรา 1586 (เดิม) หรื อ 1598/28 (ใหม) และถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนบตรที่ชอบด้วยกฎหมายตาม
                                      ่       ่      ู ั                   ุ
มาตรา 1627 ย่อมเป็นทายาทโดยธรรมอนดบ (1) ตามมาตรา 1629 ผู้ร้องซึ่งเป็ นทายาทโดยธรรมอันดับ
                                        ั ั
(3) จึงไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย ตามมาตรา 1630 วรรคหนึ่ง ผู้ร้องจึงไม่เป็ นทายาทและผู้มีสวนได้ เสียใน
                                                                                          ่
มรดกของผ้ ตาย ไมมีอํานาจร้องขอจดการมรดก
              ู      ่             ั
          ฎ.7636/2546 เมื่อประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 บรรพ 5 และบรรพ 6
แล้ ว แม้ จะมีบทบัญญัติมาตรา 1586 บญญัติวา "บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้ วย
                                     ั     ่
กฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม ฯลฯ" และมาตรา 1627 บญญัติไว้ด้วยวา "… บตรบญธรรมให้ถือวาเป็น
                                                       ั           ่         ุ ุ          ่
ผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมาย ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี ้" ก็ตาม แตบตร     ่ ุ
บญธรรมในบทบญญัติดงกลาวก็หมายความเฉพาะบตรบญธรรมที่จดทะเบียนเป็นบตรบญธรรมตาม
     ุ           ั      ั ่                      ุ ุ                             ุ ุ
มาตรา 1585 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เท่านัน การที่ผ้ ตายรับผู้คดค้ านที่ 1 มาเลี ้ยงอย่างบุตร
                                                         ้      ู          ั
บญธรรมทงไปแจ้งตอกํานนวา ผ้ คดค้านที่ 1 เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถนายน 2498 วา เป็นบตร แม้จะกระทําก่อน
   ุ         ั้      ่    ั ่ ู ั                           ุ          ่          ุ
พระราชบัญญัติให้ ใช้ บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ ตรวจชําระใหม่ พ.ศ.
2519 แต่ก็ต้องปฏิบติตามพระราชบัญญัติให้ ใช้ บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
                   ั
บรรพ 5 พทธศกราช 2477 ทังการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมนัน จะต้ องปฏิบติตามเงื่อนไขใน
            ุ ั             ้                                 ้          ั
                                                  6

                   “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                         ั   SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 การที่ผ้ ตายกับผู้คดค้ านที่ 2 แจ้ งการเกิดของผู้คดค้ านที่
                                                            ู         ั                              ั
1 วาเป็นบตรตอกํานนตําบลโคกปีบ จึงมิใช่เป็นการจดทะเบียนรับบตรบญธรรมตามกฎหมาย อนจะถือวา
      ่    ุ ่          ั                                               ุ ุ                        ั       ่
ผู้คดค้ านที่ 1 เป็ นบุตรบุญธรรมของผู้ตาย ผู้คดค้ านที่ 1 จึงมิใช่ทายาทหรือเป็ นผู้มีสวนได้ เสียในการจะร้ อง
    ั                                         ั                                       ่
ต่อศาลขอให้ ตงตนเองเป็ นผู้จดการมรดก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1713 วรรคหนึ่ง
                 ั้            ั
         ฎ. 3419/2529 โจทก์ที่ 2 เป็นบตรบญธรรมของเจ้ามรดกถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนกบบตรที่
                                          ุ ุ                            ่     ู ั                 ั ุ
ชอบด้ วยกฎหมายของเจ้ ามรดกเป็ นทายาทอันดับ 1 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629
จําเลยซึ่งเป็ นบุตรน้ องสาวของเจ้ ามรดกเป็ นทายาทอันดับ 3 ย่อมไม่มีสิทธิรับมรดกรายนี ้ แม้ จําเลยจะ
ครอบครองที่ดินมรดกบางแปลงตังแต่เจ้ ามรดกยังมีชีวิตอยู่ ก็หาใช่มีสวนได้ เสียโดยตรงในทรัพย์มรดกไม่
                                        ้                                  ่
แม้ ศาลได้ มีคําสังตังจําเลยเป็ นผู้จดการมรดกแล้ ว หากปรากฏในภายหลังว่าจําเลยไม่มีสวนได้ เสียในทรัพย์
                  ่ ้                 ั                                                    ่
มรดก โจทก์ที่ 2 ซึ่งพิสจน์ฟังได้ วาตนมีสิทธิดีกว่าจําเลยย่อมเป็ นผู้มีสวนได้ เสียฟองหรือร้ องขอให้ ศาลถอด
                         ู          ่                                  ่          ้
ถอนจําเลยออกจากการเป็ นผู้จดการมรดกได้ และศาลย่อมมีอํานาจที่จะถอดถอนและสังตังโจทก์ที่ 2 เป็น
                                 ั                                                      ่ ้
ผู้จดการมรดกแทนจําเลยได้
    ั

         ฎ.1937/2526 โจทก์ซึ่งเป็ นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่า และมิได้ จดทะเบียนเป็ นบุตรบุญธรรม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ ตรวจชําระใหม่ มาตรา 1598/27 ไม่มีสิทธิรับมรดก
ของผู้รับบุตรบุญธรรมซึ่งถึงแก่กรรมหลังจากที่ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจ
ชําระใหม่แล้ ว
          ฎ. 587/2523 บุตรผู้เยาว์ทงสามของผู้ร้อง เป็ นบุตรบุญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตาย จึง
                                   ั้
ถือว่าเป็ นผู้สืบสันดานของผู้ตายเหมือนกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 1627 และเป็ นทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิได้ รับมรดกในลําดับที่ 1 ตามมาตรา1629. ผู้
คดค้านที่ 1 เป็ นเพียงน้ องร่วมบิดามารดาเดียวกับผู้ตาย ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย ตามมาตรา1630 จึง
  ั
ไมใช่ผ้ มีสวนได้เสียที่จะร้องตอศาลขอให้ตงผ้ จดการมรดกได้ตามมาตรา 1713
    ่ ู ่                      ่         ั้ ู ั

           ฎ. 241/2522 เจ้ ามรดกได้ จดทะเบียนรับจําเลยที่ 2 เป็ นบุตรบุญธรรม จําเลยที่ 2 จึงมีฐานะอย่าง
เดียวกับบุตรชอบด้ วยกฎหมายของเจ้ ามรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1586, 1627
เมื่อเจ้ ามรดกถึงแก่กรรมโดยมิได้ ทําพินยกรรม มรดกจึงตกได้ แก่จําเลยที่ 2 แต่ผ้ เู ดียว โจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็ นพี่
                                       ั
น้ องร่วมบิดามารดากับเจ้ ามรดกหามีสิทธิได้ รับมรดกไม่




                                                       7

                    “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                          ั       SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
        ฎ. 956/2509 คําว่าสืบสันดานตามพจนานุกรมหมายความว่าสืบเชื ้อสายมาโดยตรง และตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1586, 1587, 1627 แสดงวา บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะแตกต่าง
                                                                ่
กับบุตรชอบด้ วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม และผู้รับบุตรบุญธรรมก็มีฐานะต่างกับบุพการี โดยตรงของ
บุตรบุญธรรมอยู่หลายประการ มาตรา 1586, 1627 เป็ นบทบัญญัติพิเศษให้ สิทธิบางประการแก่บตรบุญ
                                                                                        ุ
ธรรมในทางแพ่งเกี่ยวกับสัมพันธ์ทางครอบครัวและมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมเท่านัน ต้ องใช้ โดยเคร่งครัด
                                                                             ้
เฉพาะการตีความถ้ อยคําในประมวลกฎหมายอาญาก็ต้องตีความโดยเคร่งครัด จึงหาชอบที่จะนํา
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดงกล่าวมาใช้ ตีความคําว่า ผู้สืบสันดาน ตามมาตรา 71
                                                 ั
วรรค 2 ไม่ บุตรบุญธรรมจึงไม่ใช่ผ้ สืบสันดานกระทําต่อบุพการีตามมาตรา 71 จึงยอมความไมได้
                                  ู                                                  ่

       ฎ. 431/2485 บุตรบุญธรรมที่จะมีสิทธิได้ รับมรดกต้ องได้ จดทะเบียนตามกฎหมายไว้ . การ
ลงทะเบียนสํามะโนครัววาเป็นบตร ไมถือวาเป็นการจดทะเบียนบตรบญธรรมตามกฎหมาย
                      ่    ุ     ่ ่                          ุ ุ




                                                8

                  “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                        ั   SmartLawTutor.com”

More Related Content

What's hot

6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdfssuser1621fc
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่porpanpnr
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่Lilrat Witsawachatkun
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนkroojaja
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 editสุขใจ สุขกาย
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้greatzaza007
 

What's hot (20)

ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่แผ่นพับปลาบู่
แผ่นพับปลาบู่
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 

Viewers also liked

กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาSukit U-naidhamma
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาbilly ratchadamri
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...อ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 

Viewers also liked (20)

กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดกหนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
 
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดกหนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
 
มรดก
มรดกมรดก
มรดก
 
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
 
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
การหมั้น
การหมั้นการหมั้น
การหมั้น
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
 
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
 
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯกฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
 
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญาประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญา
 
การสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯ
การสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯการสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯ
การสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯ
 
คำฟ้อง
คำฟ้องคำฟ้อง
คำฟ้อง
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
 

Similar to การรับมรดกของบุตรบุญธรรม

Similar to การรับมรดกของบุตรบุญธรรม (10)

หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
มรดก 1
มรดก 1มรดก 1
มรดก 1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
 
การสมรส
การสมรสการสมรส
การสมรส
 
การสมรส
การสมรสการสมรส
การสมรส
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
 

การรับมรดกของบุตรบุญธรรม

  • 1. www.เนติ.com การรั บมรดกของบุตรบุญธรรม อ.เป สิททิกรณ์ 1 ้ 0 1. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? กรณีที่มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมาย มาตรา 1627 ให้ถือวาบตรบญ ่ ุ ุ ธรรมเป็ นผู้สืบสันดานของผู้รับบุตรบุญธรรมเหมือนกับบุตรชอบด้ วยกฎหมายด้ วย บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรมที่เป็ นผู้สืบสันดานตามมาตรา 1629 (1) โดยบตร ุ บุญธรรมมีสิทธิได้ รับส่วนแบ่งมรดกเท่ากับบุตรชอบด้ วยกฎหมายและบุตรนอกกฎหมายของผู้รับบุตรบุญ ธรรมเพราะเป็ นทายาทโดยธรรมในลําดับเดียวกันตามมาตรา 1633 ฎ. 1231-1232/2510 บุตรบุญธรรมที่มิได้ มีการจดทะเบียนตามกฎหมาย ไม่มีสิทธิรับมรดกของ ผู้รับบุตรบุญธรรม ฎ. 587/2523 บุตรผู้เยาว์ทงสามของผู้ร้อง เป็ นบุตรบุญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตาย ั้ จึงถือว่าเป็ นผู้สืบสันดานของผู้ตายเหมือนกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา 1627 และเป็ นทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิได้ รับมรดกในลําดับที่ 1 ตามมาตรา1629 2. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของค่ ูสมรสของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? กรณี ที่ผ้ รับบุตรบุญธรรมมีคสมรส คูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมต้ องให้ ความยินยอมในการจด ู ู่ ่ ทะเบียนรับบุตรบุญธรรมด้ วยตามมาตรา 1598/25 แต่การให้ ความยินยอมนี ้มิได้ ทําคูสมรสของผู้รับบุตร ่ บญธรรมมีฐานะเป็นผ้ รับบตรบญธรรมอีกคนหนึ่งด้วย ดงนี ้ บตรบญธรรมจึงไมมีฐานะเป็นผ้ สืบสนดานและ ุ ู ุ ุ ั ุ ุ ่ ู ั ไม่มีสิทธิรับมรดกของคูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม ่ ตัวอย่ าง นายหนึ่ง และ นางสอง เป็ นสามีภริยาที่ชอบด้ วยกฎหมาย นายหนึ่งได้ จดทะเบียนรับ เดกชายเอกเป็นบตรบญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมาย นางสองให้ ความยินยอมแก่นายหนึ่งในการจด ็ ุ ุ ทะเบียนรับเด็กชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมแล้ ว เดกชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมถือวาเป็นผ้ สืบสนดานและมี ็ ่ ู ั สิทธิรับมรดกของนายหนึ่งซึ่งเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรมแตเ่ พียงผ้ เู ดียว 1 ผู้บริหารสถาบันติวกฎหมายสมาร์ ทลอว์ติวเตอร์ : ติวสอบตรงนิติศาสตร์ , ติวกฎหมายป.ตรี, ตัวทนาย ภาคทฤษฎี ๋ ภาคปฏิบติ ตวปี, ติวเนติบณฑิตไทย สอบถาม/สมครติว โทร. 086-987-5678, www.SmartLawTutor.com ั ั๋ ั ั 1 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 2. www.เนติ.com ฎ. 1397/2511 บุตรบุญธรรมย่อมเป็ นบุตรบุญธรรมของผู้ที่จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเท่านัน ไม่ ้ เป็ นบุตรบุญธรรมของคูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมด้ วย แม้ ผ้ รับบุตรบุญธรรมถึงแก่ความตายการเป็ นบุตร ่ ู บญธรรมก็ไมขาด ุ ่ อย่างไรก็ตาม ถ้ าคูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมได้ จดทะเบียนรับเป็ นบุตรบุญธรรมของตนด้ วยตาม ่ มาตรา 1598/26 คูสมรสย่อมมีฐานะเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรม กรณีเช่นนี บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิรับมรดกของ ่ ้ คูสมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรมที่เป็ นผู้สืบสันดานตามมาตรา 1627 และ 1629 (1) ่ ตัวอย่ าง นายหนึ่ง และ นางสอง เป็ นสามีภริยาที่ชอบด้ วยกฎหมาย นายหนึ่งได้ จดทะเบียนรับ เดกชายเอกเป็นบตรบญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมาย นางสองได้ ให้ ความยินยอมแก่นายหนึ่งและได้ จด ็ ุ ุ ทะเบียนรับเด็กชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมของตนด้ วย เดกชายเอกเป็ นบุตรบุญธรรมและถือวาเป็น ็ ่ ผู้สืบสันดานของนายหนึ่งและนางสอง เด็กชายจึงมีสิทธิรับมรดกของของนายหนึ่งและนายสองได้ 3. ค่ ูสมรสของบุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? ในทํานองเดียว ถ้ าบุคคลซึ่งจะเป็ นบุตรบุญธรรมมีคสมรส คูสมรสก็ต้องให้ ความยินยอมในการเป็ น ู่ ่ บุตรบุญธรรมด้ วยตามมาตรา 1598/25 แต่การให้ ความยินยอมนี ้มิได้ ทําให้คสมรสของบุตรบุญธรรมมี ู่ ฐานะเป็นบตรบุญธรรมอีกคนหนึ่งด้ วยแต่อย่างใด คูสมรสของบุตรบุญธรรมจึงไม่ใช่ผ้ สืบสันดานและไม่มี ุ ่ ู สิทธิรับมีมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมของผู้รับบุตรบุญธรรม ตัวอย่ าง นายหนึ่งต้องการจดทะเบียนรับนายเอกเป็นบตรบญธรรมของตน แตนายเอกมีภริยาที่ ุ ุ ่ ชอบด้ วยกฎหมายคือนางโท และนางโทได้ ให้ ความยินยอมแก่นายเอกในการเป็ นบุตรบุญธรรมของนาย หนึ่งแล้ ว เฉพาะนายเอกเพียงผู้เดียวที่มีฐานะเป็ นบุตรบุญธรรมของนายหนึ่ง ส่วนนางโทมิได้ เป็ นบุตรบุญ ธรรมจึงไม่ใช่ผ้ สืบสันดานและไม่มีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งในฐานะทายาทโดยธรรม ู 4. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกแทนท่ผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? ี มาตรา 1643 กําหนดให้ผ้ มีสิทธิรับมรดกแทนทีตามมาตรา 1639 ต้องเป็นผ้ สืบสนดานโดยตรง ู ่ ู ั เท่านัน และคําว่า “ผ้ สืบสนดานโดยตรง” หมายความถึง ผู้สืบสันดานโดยสายโลหิตอันแท้ จริง หรือ ้ ู ั ผู้สืบสันดานในทางสืบสายโลหิตโดยแท้ จริงของบุคคลซึ่งจะเป็ นทายาทตามมาตรา 1629 (1) (3) (4) (6) สวนบตรบญธรรมโดยสภาพแล้ วไม่ใช่ผ้ สืบสายโลหิตอนแท้จริงของผู้รับบุตรบุญธรรม และมาตรา 1627 ก็ ่ ุ ุ ู ั 2 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 3. www.เนติ.com ให้ถือวาบตรบญธรรมเป็นเพียง "ผู้ สืบสันดาน" มิใช่ “ผ้ สืบสนดานโดยตรง” แต่อย่างใด บุตรบุญธรรมจึง ่ ุ ุ ู ั ไม่ใช่ผ้ สืบสันดานโดยตรงและไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ผ้ รับบุตรบุญธรรม ู ู ตัวอย่ าง นายรวยเป็นบิดาของนายสอง นายสองได้จดทะเบียนรับนายสามเป็นบตรบญธรรมโดย ุ ุ ชอบด้ วยกฎหมาย ต่อมานายหนึ่งถึงแก่ความตายด้ วยอุบติเหตุ นายรวยทราบเรื่องเสียใจมากจึงตรอมใจ ั ตายตาม นายสามมีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งในฐานะผู้สืบสันดานตามมาตรา 1627 และ 1629 (1) แตไม่มีสิทธิรับมรดกของนายรวยแทนที่นายหนึ่งเพราะนายสองมิใช่ผ้ สืบสันดานโดยตรงของนายหนึ่ง ่ ู ฎ.2495/2540 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1643ที่กําหนดให้ สิทธิที่จะรับมรดก แทนที่กนได้ เฉพาะแก่ผ้ สืบสันดานโดยตรงนันหมายความถึงผู้สืบสันดานโดยสายโลหิตอันแท้ จริงเท่านัน ั ู ้ ้ ส่วนบุตรบุญธรรมแม้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1627จะให้ถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนกบ ่ ู ั ั บุตรที่ชอบด้ วยกฎหมายก็ตามก็หมายความเพียงว่าบุตรบุญธรรมเป็ นทายาทโดยธรรมตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1629(1)และมีสิทธิได้ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมเท่านันหามีผลทําให้ ้ บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกแทนที่ผ้ รับบุตรบุญธรรมด้ วยไม่เพราะไม่ใช่เป็ นผู้สืบสันดานโดยตรงตาม ู ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1643ดังนันเมื่อผู้ร้องเป็ นบุตรบุญธรรมของจ. ซึ่งเป็ นพี่น้องร่วม ้ บิดามารดาเดียวกันกับเจ้ ามรดกและจ. ถึงแก่ความตายไปก่อนเจ้ ามรดกแล้ วเช่นนี ้ผู้ร้องย่อมไม่มีสิทธิรับ มรดกของเจ้ามรดกแทนที่จ. ได้ เพราะผู้ร้องไม่ใช่ผ้ สืบสันดานโดยตรงของจ. ผู้ร้องจึงไม่ใช่ทายาทหรือผู้มี ู ส่วนได้ เสียในทรัพย์มรดกของเจ้ ามรดกในอันที่จะร้ องต่อศาลขอให้ ตงผู้จดการมรดกของเจ้ ามรดกตาม ั้ ั ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1713 ฎ. 773/2528 ผู้สืบสันดานโดยตรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1643หมายถึง ผู้สืบสันดานในทางสืบสายโลหิตโดยแท้ จริง บตรบญธรรมนนกฎหมายถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนกบ ุ ุ ั้ ่ ู ั ั บุตร ที่ชอบด้ วยกฎหมาย มีสิทธิได้ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมแต่บตรบุญธรรมหาใช่ผ้ สืบสันดาน ุ ู โดยตรงของผู้รับบุตรบุญธรรมไม่ จึงไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ผ้ รับบุตรบุญธรรม ู 5. บุตรของบุตรบุญธรรรมมีสิทธิรับมรดกแทนท่บุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? ี ในกรณีที่บตรบุญธรรมตายก่อนผู้รับบุตรบุญธรรมหรื อถูกกําจัดมิให้ รับมรดกก่อนผู้รับบุตรบุญ ุ ธรรมถึงแก่ความตาย ถ้ าบุตรบุญธรรมมีผ้ สืบสันดานโดยตรง อันได้ แก่ บุตรชอบด้ วยกฎหมาย และ บุตร ู นอกกฎหมายที่บิดา(บุตรบุญธรรม)รับรองแล้ ว เช่นนี ้ บุตรของบุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกแทนที่บตรบุญ ุ ธรรมได้ 3 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 4. www.เนติ.com ตัวอย่ าง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรมโดยถกต้องตามกฎหมาย นายหนึ่งมี ุ ุ ู นายสองเป็ นบุตรชอบด้ วยกฎหมายและนายสามเป็ นบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ ว นายหนึ่งถึงแก่ ความตายเพราะถูกนายโหดฆ่าตาย ต่อมานายรวยไปแก้ แค้ นจึงถูกนายโหดฆ่าตายเช่นกัน นายสองและ นายสามมีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งได้ในฐานะทายาทโดยธรรมที่เป็นผ้ สืบสนดานตามมาตรา 1629 (1) ู ั และ มีสิทธิรับมรดกของนายรวยแทนที่นายหนึ่งเพราะนายสองและนายสามเป็ นผู้สืบสันดานโดยตรงของ นายหนึ่ง ฎ. 290/2494 บุตรบุญธรรมตายก่อนผู้รับบุตรบุญธรรม บุตรของบุตรบุญธรรมย่อมมีสิทธิรับมรดก แทนที่กนได้ตามสิทธิทกฎหมายให้ ไว้ ตามประมวลแพ่งฯ มาตรา 1639 ั ี่ 6. บุตรบุญธรรมสืบมรดกของผ้ ูรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? มาตรา 1607 กําหนดว่า การถูกกําจัดมิให้ รับมรดกนันเป็ นการเฉพาะตัว ผ้ สืบสนดานของทายาทที่ ้ ู ั ถกกําจดสืบมรดกตอไปเหมือนหนึ่งวาทายาทนนตายแล้วให้ ซึ่งมีข้อสังเกตว่า กรณีสืบมรดกนันกฎหมาย ู ั ่ ่ ั้ ้ ใช้ ถ้อยคําว่า "ผู้ สืบสันดาน" มิใช่ “ผู้ สืบสันโดยตรง” ดงนี ้ บุตรบุญธรรมซึ่งมาตรา 1627 ให้ถือวาเป็น ั ่ ผู้สืบสันดานจึงน่าจะมีสิทธิสืบมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมได้ ตัวอย่ าง นายรวยเป็นบิดาของนายหนึ่งและนายสอง นายหนึ่งจดทะเบียนรับนายเอกเป็นบตร ุ บุญธรรมโดยถูกต้ องตามกฎหมาย ต่อมานายรวยตายมีทรัพย์มรดก 2,000,000 บาท แต่นายหนึ่งยักย้ าย หรือปิ ดบังทรัพย์มรดกของนายรวยทังหมด นายหนึ่งจึงถูกกําจัดมิให้ รับมรดกเลยตามมาตรา1605 ้ นายเอกมีสิทธิสืบมรดกของนายรวย 1,000,000 บาท ส่วนนายสองมีสิทธิได้ รับมรดกของนายรวยเพียง 1,000,000 บาท 7. ผ้ รับบุตรบุญธรรมรับมรดกของบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? ู มาตรา 1627 บญญัติ ั ไว้เพียงวา ให้ บตรบุญธรรมมีสิทธิได้ รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม ่ ุ เช่นเดยวกบบตรชอบด้ วยกฎหมาย แต่มิได้บญญัติให้ถือวา "ผู้ รับบุตรบุญธรรม" มีฐานะเป็นบิดาหรือ ี ั ุ ั ่ มารดาของบุตรบุญธรรม อีกทัง มาตรา 1598/29 ก็บญญัติไว้ชดเจนวา “การรับบุตรบุญธรรมไม่ก่อให้ เกิด ้ ั ั ่ สิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรมเพราะเหตุการณ์รับบุตรบุญธรรมนัน” ด้วยเหตนี ้ ้ ุ ผู้รับบุตรบุญธรรมจึงไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะทายาทโดยธรรม อย่างไรก็ตาม กฎหมาย 4 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 5. www.เนติ.com มิได้ ห้ามผู้รับบุตรบุญธรรมรับมรดกของบุตรบุญธรรมในฐานะผู้รับพินยกรรม บุตรบุญธรรมจึงสามารถทํา ั พินยกรรมยกทรัพย์มรดกของตนให้ แก่ผ้ รับบุตรบุญธรรมได้ ั ู ตัวอย่ าง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรม ตอมานายหนึ่งตายมีมรดก ุ ุ ่ 1,000,000 บาท นายรวยไม่มีสิทธิรับมรดกของนายหนึ่งเลย ตัวอย่ าง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรม ก่อนตายนายหนึ่งทําพินยกรรมยก ุ ุ ั ทรัพย์มรดกให้ นายรวย 500,000 บาท ตอมานายหนึ่งตายมีทรัพย์มรดก 1,000,000 บาท นายรวยมีสิทธิรับ ่ มรดกของนายหนึ่งในฐานะผู้รับพินยกรรมเพียง 500,000 บาท ั 8. บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของบิดามารดาผ้ ูให้กําเนิดได้หรือไม่ ? กรณีที่มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม บิดามารดาผู้ให้ กําเนิดเพียงแต่ หมดอานาจปกครอง ํ เท่านัน มิได้บญญัติให้ การเป็ นบิดามารดาสิ ้นสุดลงแต่อย่างใด อีกทัง มาตรา 1598/28 ก็บญญัติไว้ ชดเจน ้ ั ้ ั ั ว่า บุตรบุญธรรมยังคงมีสิทธิและหน้ าทีในครอบครัวที่ได้กําเนิดมาเช่นเดิม ด้ วยเหตุนี ้ บตรบญธรรมจึงยงมี ่ ุ ุ ั ฐานะเป็ นผู้สืบสันดานและมีสิทธิได้ รับมรดกของบิดาชอบด้ วยกฎหมายและมารดาชอบด้ วยกฎหมายตาม มาตรา 1629 (1) เช่นเดิม ตัวอย่ าง นายหลอและนางสวยจดทะเบียนสมรสกนถกต้องตามกฎหมายมีบตร 1 คน คือ ่ ั ู ุ นายหนึ่ง นายรวยจดทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรมโดยชอบด้วยกฎหมาย นายหลอและนางสวย ุ ุ ่ ถึงแก่ความตายมีทรัพย์มรดก 1,000,000 บาท ย่อมตกทอดแก่นายหนึ่ง 9. บิดาและมารดาผ้ ูให้กําเนิดมีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ ? กรณีที่มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม บิดามารดาผู้ให้ กําเนิดเพียงแต่หมดอํานาจปกครอง เท่านัน การเป็ นบิดามารดามิได้สิ ้นสุดลงแต่อย่างใด ตามมาตรา 1598/28 บิดาที่ชอบด้ วยกฎหมายและ ้ มารดาชอบด้ วยกฎหมายจึงยังมีฐานะเป็ น “บิดามารดา” อนเป็ นทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1629 (2) ั และมีสิทธิรับมรดกของบุตรเช่นเดิม 5 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 6. www.เนติ.com ตัวอย่ าง นายหล่อและนางสวยจดทะเบียนสมรสกันมีบตร 1 คน คือ นายหนึ่ง ตอมานายรวยจด ุ ่ ทะเบียนรับนายหนึ่งเป็นบตรบญธรรมของตน นายรวยยกที่ดินของตนให้แก่นายหนึ่งจํานวน1 แปลง มลคา ุ ุ ู ่ 1,000,000 บาท ตอมานายหนึ่งตาย ที่ดินแปลงนี ้เป็นมรดกตกทอดแก่นายหลอและนางสวยในญานะ ่ ่ ทายาทโดยธรรมลําดับ 2 คือ บิดาชอบด้ วยกฎหมายและมารดาชอบด้ วยกฎหมาย คาพิพากษาฎีกาท่ น่าสนใจ ํ ี ฎ. 4734/2548 การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมตาม ป.พ.พ. มาตรา 1583 (เดิม) และ 1585 (เดิม) ประกอบ พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 มาตรา 22 ที่ต้องได้ รับความยินยอมจากบิดามารดานัน ้ มิได้บงคบวา ความยินยอมต้องทําเป็นหนงสือหรือต้องมีลายมือชื่อของบิดามารดาให้ความยินยอมแต่ ั ั ่ ั อย่างใด เมื่อข้ อเท็จจริ งได้ ความว่า ม. ซึ่งเป็ นมารดาของเด็กหญิง อ. และเดกชาย ส. ได้ให้ความยินยอมใน ็ การที่ผ้ ตายจดทะเบียนรับเด็กหญิง อ. และเดกชาย ส. เป็ นบุตรบุญธรรม แม้ ม. จะไมได้ลงลายมือชื่อใน ู ็ ่ ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม การรับบุตรบุญธรรมของผู้ตายก็ชอบด้ วยบทกฎหมายดังกล่าว เดกหญิง อ. และเดกชาย ส. มีฐานะอย่างเดียวกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตายตาม ป.พ.พ. ็ ็ มาตรา 1586 (เดิม) หรื อ 1598/28 (ใหม) และถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนบตรที่ชอบด้วยกฎหมายตาม ่ ่ ู ั ุ มาตรา 1627 ย่อมเป็นทายาทโดยธรรมอนดบ (1) ตามมาตรา 1629 ผู้ร้องซึ่งเป็ นทายาทโดยธรรมอันดับ ั ั (3) จึงไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย ตามมาตรา 1630 วรรคหนึ่ง ผู้ร้องจึงไม่เป็ นทายาทและผู้มีสวนได้ เสียใน ่ มรดกของผ้ ตาย ไมมีอํานาจร้องขอจดการมรดก ู ่ ั ฎ.7636/2546 เมื่อประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 บรรพ 5 และบรรพ 6 แล้ ว แม้ จะมีบทบัญญัติมาตรา 1586 บญญัติวา "บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้ วย ั ่ กฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม ฯลฯ" และมาตรา 1627 บญญัติไว้ด้วยวา "… บตรบญธรรมให้ถือวาเป็น ั ่ ุ ุ ่ ผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมาย ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี ้" ก็ตาม แตบตร ่ ุ บญธรรมในบทบญญัติดงกลาวก็หมายความเฉพาะบตรบญธรรมที่จดทะเบียนเป็นบตรบญธรรมตาม ุ ั ั ่ ุ ุ ุ ุ มาตรา 1585 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เท่านัน การที่ผ้ ตายรับผู้คดค้ านที่ 1 มาเลี ้ยงอย่างบุตร ้ ู ั บญธรรมทงไปแจ้งตอกํานนวา ผ้ คดค้านที่ 1 เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถนายน 2498 วา เป็นบตร แม้จะกระทําก่อน ุ ั้ ่ ั ่ ู ั ุ ่ ุ พระราชบัญญัติให้ ใช้ บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ ตรวจชําระใหม่ พ.ศ. 2519 แต่ก็ต้องปฏิบติตามพระราชบัญญัติให้ ใช้ บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ั บรรพ 5 พทธศกราช 2477 ทังการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมนัน จะต้ องปฏิบติตามเงื่อนไขใน ุ ั ้ ้ ั 6 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 7. www.เนติ.com พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 การที่ผ้ ตายกับผู้คดค้ านที่ 2 แจ้ งการเกิดของผู้คดค้ านที่ ู ั ั 1 วาเป็นบตรตอกํานนตําบลโคกปีบ จึงมิใช่เป็นการจดทะเบียนรับบตรบญธรรมตามกฎหมาย อนจะถือวา ่ ุ ่ ั ุ ุ ั ่ ผู้คดค้ านที่ 1 เป็ นบุตรบุญธรรมของผู้ตาย ผู้คดค้ านที่ 1 จึงมิใช่ทายาทหรือเป็ นผู้มีสวนได้ เสียในการจะร้ อง ั ั ่ ต่อศาลขอให้ ตงตนเองเป็ นผู้จดการมรดก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1713 วรรคหนึ่ง ั้ ั ฎ. 3419/2529 โจทก์ที่ 2 เป็นบตรบญธรรมของเจ้ามรดกถือวาเป็นผ้ สืบสนดานเหมือนกบบตรที่ ุ ุ ่ ู ั ั ุ ชอบด้ วยกฎหมายของเจ้ ามรดกเป็ นทายาทอันดับ 1 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 จําเลยซึ่งเป็ นบุตรน้ องสาวของเจ้ ามรดกเป็ นทายาทอันดับ 3 ย่อมไม่มีสิทธิรับมรดกรายนี ้ แม้ จําเลยจะ ครอบครองที่ดินมรดกบางแปลงตังแต่เจ้ ามรดกยังมีชีวิตอยู่ ก็หาใช่มีสวนได้ เสียโดยตรงในทรัพย์มรดกไม่ ้ ่ แม้ ศาลได้ มีคําสังตังจําเลยเป็ นผู้จดการมรดกแล้ ว หากปรากฏในภายหลังว่าจําเลยไม่มีสวนได้ เสียในทรัพย์ ่ ้ ั ่ มรดก โจทก์ที่ 2 ซึ่งพิสจน์ฟังได้ วาตนมีสิทธิดีกว่าจําเลยย่อมเป็ นผู้มีสวนได้ เสียฟองหรือร้ องขอให้ ศาลถอด ู ่ ่ ้ ถอนจําเลยออกจากการเป็ นผู้จดการมรดกได้ และศาลย่อมมีอํานาจที่จะถอดถอนและสังตังโจทก์ที่ 2 เป็น ั ่ ้ ผู้จดการมรดกแทนจําเลยได้ ั ฎ.1937/2526 โจทก์ซึ่งเป็ นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายเก่า และมิได้ จดทะเบียนเป็ นบุตรบุญธรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ ตรวจชําระใหม่ มาตรา 1598/27 ไม่มีสิทธิรับมรดก ของผู้รับบุตรบุญธรรมซึ่งถึงแก่กรรมหลังจากที่ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจ ชําระใหม่แล้ ว ฎ. 587/2523 บุตรผู้เยาว์ทงสามของผู้ร้อง เป็ นบุตรบุญธรรมโดยชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตาย จึง ั้ ถือว่าเป็ นผู้สืบสันดานของผู้ตายเหมือนกับบุตรที่ชอบด้ วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา 1627 และเป็ นทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิได้ รับมรดกในลําดับที่ 1 ตามมาตรา1629. ผู้ คดค้านที่ 1 เป็ นเพียงน้ องร่วมบิดามารดาเดียวกับผู้ตาย ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย ตามมาตรา1630 จึง ั ไมใช่ผ้ มีสวนได้เสียที่จะร้องตอศาลขอให้ตงผ้ จดการมรดกได้ตามมาตรา 1713 ่ ู ่ ่ ั้ ู ั ฎ. 241/2522 เจ้ ามรดกได้ จดทะเบียนรับจําเลยที่ 2 เป็ นบุตรบุญธรรม จําเลยที่ 2 จึงมีฐานะอย่าง เดียวกับบุตรชอบด้ วยกฎหมายของเจ้ ามรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1586, 1627 เมื่อเจ้ ามรดกถึงแก่กรรมโดยมิได้ ทําพินยกรรม มรดกจึงตกได้ แก่จําเลยที่ 2 แต่ผ้ เู ดียว โจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็ นพี่ ั น้ องร่วมบิดามารดากับเจ้ ามรดกหามีสิทธิได้ รับมรดกไม่ 7 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 8. www.เนติ.com ฎ. 956/2509 คําว่าสืบสันดานตามพจนานุกรมหมายความว่าสืบเชื ้อสายมาโดยตรง และตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1586, 1587, 1627 แสดงวา บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะแตกต่าง ่ กับบุตรชอบด้ วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม และผู้รับบุตรบุญธรรมก็มีฐานะต่างกับบุพการี โดยตรงของ บุตรบุญธรรมอยู่หลายประการ มาตรา 1586, 1627 เป็ นบทบัญญัติพิเศษให้ สิทธิบางประการแก่บตรบุญ ุ ธรรมในทางแพ่งเกี่ยวกับสัมพันธ์ทางครอบครัวและมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรมเท่านัน ต้ องใช้ โดยเคร่งครัด ้ เฉพาะการตีความถ้ อยคําในประมวลกฎหมายอาญาก็ต้องตีความโดยเคร่งครัด จึงหาชอบที่จะนํา บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดงกล่าวมาใช้ ตีความคําว่า ผู้สืบสันดาน ตามมาตรา 71 ั วรรค 2 ไม่ บุตรบุญธรรมจึงไม่ใช่ผ้ สืบสันดานกระทําต่อบุพการีตามมาตรา 71 จึงยอมความไมได้ ู ่ ฎ. 431/2485 บุตรบุญธรรมที่จะมีสิทธิได้ รับมรดกต้ องได้ จดทะเบียนตามกฎหมายไว้ . การ ลงทะเบียนสํามะโนครัววาเป็นบตร ไมถือวาเป็นการจดทะเบียนบตรบญธรรมตามกฎหมาย ่ ุ ่ ่ ุ ุ 8 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”