SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
•เป็นเงื่อนไขของกฎหมาย ที่จะไม่ลงโทษผู้กระทาใดๆ ที่
กฎหมายให้อานาจกระทาได้
•แสดงออกมาให้บทบัญญัติว่า “ผู้นั้นไม่มีความผิด”
•ต้องครบองประกอบในโครงสร้าง 1 เสียก่อน
การกระทาที่กฎหมายให้กระทาได้
1. กฎหมายอาญา
2. กฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรอื่นๆ
3. กฎหมายจารีตประเพณี
4. การกระทาที่เกิดจากความยินยอม
ป้องกัน
มาจากแนวคิดว่า รัฐไม่สามารถให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนได้
อย่าทันท่วงทีในทุกกรณี จึงต้องให้อานาจแก่ประชาชนผู้บริสุทธิ์
ในการขจัดภัยที่กาลังจะมาด้วยการให้สิทธิป้องกัน
มีหลักเกณฑ์ 4 ประการ ตามที่กฎหมายอาญา ม.68 บัญญัติ ดังนี้
มีภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดด้วยกฎหมาย
1. มีภยันตราย คือ มีภัยที่เป็นความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์
สิน ซึ่งเป็นสิทธิของบุคคล
2. เป็นภัยอันละเมิดด้วยกฎหมาย
ภยันตรายใกล้ถึง
 มาจากแล้วคิดว่าแม้จะเกิดภัย แต่ถ้าหายอยู่ห่างไกล ผู้ที่จะรับย่อมมี
หนทางที่จะขจัดภัยได้(ทาให้สังคมสงบสุขมากกว่าให้คนมาตั้งหลัก
บังคับกันเอง หรือ ยังไม่ขึ้นเหตุอันสมควรให้อานาจประชาชน)
 แต่อย่างไรก็ตาย ผู้รับภัยไม่จาเป็นต้องหนี
 ดูจากความใกล้ชิดของภัย เช่น ระยะเวลา ระยะทาง
 ป้องกันภัยไว้ล่วงหน้าก็ได้
ผู้กระทาจะต้องกระทาเพื่อป้องกันสิทิิ
 ได้ทั้งสิทธิของตนเอง และผู้อื่น (หากไม่ระบุแล้ว อาจมีคนใช้ช่องว่างนี้
ไปทาร้ายหรือก่อเหตุกันได้)
 “ เพื่อ ” เป็นมูลเหตุจูงใจในการกระทาผิด หรือ เจตนาพิเศษ
 ต้องกระทาต่อผู้ก่อภัย
การกระทาที่ไม่เกิดขอบเขต
1. เป็นการกระทาป้องกัน ด้วยวิธีทางที่น้อยที่สุดที่จะทาได้ และ
2. ผู้ป้องกันต้องกระทาการป้องกันโดยได้สัดส่วนกับภัยที่เกิดขึ้น

More Related Content

What's hot

ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์Supisara Jaibaan
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมChi Wasana
 

What's hot (20)

ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
 

Similar to อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด

Similar to อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด (10)

Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
Final presentation
Final presentationFinal presentation
Final presentation
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 

More from Kanin Wongyai

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedKanin Wongyai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 

More from Kanin Wongyai (13)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 

อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด

Editor's Notes

  1. ตำรวจยิงคนร้าย
  2. เรือง ป้องกัน 68 / 305 ทำแท้ง / แสดงความคิดเห็น 305 / 329 /331 รัฐธรรมนูญ เอกสิทธิ สส ไม่หมิ่น แพ่ง ตัดไม้ล้ำ 1347 ทำลายเพื่อป้องกันภัย 450 ทำโทษบุตร 1567 วิอาญา จับกุม คุมขัง วิแพ่ง บังคับคดี รื้อถอน พรบ ควบคุมอาคาร สรรพกร ป้องกันปราบปรามยา ฟอกเงิน ครุทำโทษ เล่นกีฬา ยินยอม ไม่ผิดกฎหมายและศีลธรรม ลองของ ไล่ผีตีจนตาย อ เกียต น 308 ยอมให้ผ่าตัด ยอมให้ชำเรา
  3. อ เกียติ หน้า 266
  4. 1.ต้องถึงขั้นภัย แค่ ท้าทาย แล้วไปต่อย ไม่เป็นภัย เป็นสมัครใจวิวาท อ เกียต 266 2.ต้องไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตำรวจเข้าไปจับกุม ไม่มีเหตุไม่มีหมาย แต่ลองคิดว่าตำรวจผิดใหมถ้าสำคัญผิด ชอบนี่จากกฎหมายอื่น จากจารีต พ่อตี สวนพ่อตาย ฎีกาพระตีศิษย์วัดสวนพระตาย - ละเมิดด้วยกฎหมายใดก็ได้ แพ่ง เป็นชู้ - ต้องไม่มีส่วนร่วมในการกระทำผิด เข้าไปกระทำผิดก่อน บุกรุก เจ้าบ้านจะยิง โจรยิงสวน หรือ สมัครใจเข้าดวลมีดกัน หรือ ยั่วให้เกิด หรือ ยินยอม ให้ทำ สมัครใจสู้ขาดตอนไปแล้ว ลองเทียบ คนบ้าไล่จับ กับ ตำรวจไล่จับ ลองแหย่ โครงสร้าง 3
  5. ไม่หนี อ เกีขติ น. 279 ป้องกันภัยล่วงหน้าต้องกระวัง ปล่อยไฟ โจรตาย ไม่ผิด แต่ถ้าเป็นเด็กวิ่งเล่น ผิด 280
  6. กระทำต่อผู้ก่อภัย ฆ่าหมาที่จะกัด พังประตูบ้านเจ้าของหมา / คนอื่นเพื่อหลบ
  7. ตามที่กฎหมายเขียน “จำต้อง” ข้อสังเกต “วิธีทาง” เท่ากัน ดูแต่วิธีการ ไม่ดูผลที่เกิด เช่น ชกมาชกกลับ แต่ดันตาบอด วิธี ชก กับ มีดฟัน มีดฟัน กับยิง