SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
1.ข้อความเบื้องต้น
2.ความหมายของ
มรดก
3.เวลาที่มรดกตก
ทอดแก่ทายาท
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
5. การรับมรดกของ
พระภิกษุ
6.การเสียสิทธิในการ
รับมรดก
7.พินัยกรรม
8.มรกดที่ไม่มีผู้รับ
การบังคับใช้กฎหมายมรดกก็เช่นเดียวกับกฎหมายครอบครัวที่ได้มีการ
ผ่อนปรนไม่นาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 มรดกไปใช้ใน 5
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล สาหรับ
คดีมีลักษณะครบ3 ประการ
1. คดีนั้นเป็นคดีแพ่งเกี่ยวกับมรดก
2. คู่กรณีทุกฝ่ายต้องนับถือศาสนาอิสลาม
3. คดีนั้น ต้องเกิดในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล คดีดังกล่าว
ข้างต้นจะต้องกฎหมายอิสลามว่าด้วยมรดกมาใช้แทนประมวล กฎหมาย แพ่ง
และพาณิชย์บรรพ 6 เสมอ
1.ข้อความเบื้องต้น
มรดก หรือ กองมรดก ของผู้ตาย หมายถึง ทรัพย์สินของผู้ตายรวมถึงสิทธิ
หน้าที่ และความรับผิดต่างๆ ของผู้ตายที่มีอยู่ขณะตาย เว้นแต่ทรัพย์สิน สิทธิหน้าที่
และความรับผิดนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตัวโดยแท้ของผู้ตายเช่น บ้าน ที่ดิน รถยนต์ เงิน
ฝาก สิทธิของผู้ซื้อที่จะได้รับทรัพย์สินที่ซื้อ หน้าที่ของผู้กู้ที่จะต้องชาระหนี้เงินกู้
ให้แก่ผู้ให้กู้ ความรับผิดของผู้ทาละเมิดที่จะต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่ผู้
ถูกทาละเมิด เป็นต้น
ส่วนทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดที่มีลักษณะ เป็นการเฉพาะตัว
โดยแท้ของผู้ตาย ย่อมไม่เป็นมรดกเช่น สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิของผู้เช่าตาม
สัญญาเช่าทรัพย์ หน้าที่ของลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน และหน้าที่ที่ต้องทาเอง
เฉพาะตัว เช่น ดาเป็นนักร้องชื่อดัง แดงจึงจ้างดาให้ร้องเพลงในงานวันเกิดของตน
ก่อนถึงงานวันเกิดของแดงปรากฏว่าดาได้ถึงแก่ความตายเสียก่อน
2.ความหมายของ
มรดก
ดังนี้ แดง จะไปบังคับทายาทซึ่งอาจเป็นบุตรของดาให้ร้องเพลงแทนบิดาไม่ได้
เพราะถือว่าการร้องเพลงเป็นการเฉพาะตัวของดาเองที่จะต้องใช้ความสามารถในการร้อง
ของตน ซึ่งจะให้คนอื่นมาทาหน้าที่แทนไม่ได้
ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดซึ่งเกิดขึ้นภายหลังเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
ย่อมไม่เป็นมรดกเช่น ดอกผลของทรัพย์สินที่เกิดขึ้นหลังจากเจ้ามรดกถึงแก่ความตายไป
แล้ว บาเหน็จตกทอด หรือเงินบริษัทปรันชีวิตจ่ายให้แก่ทายาทเมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความ
ตายเป็นต้น
อย่างไรก็ดีทายาทไม่ต้องรับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ตนได้รับมาเช่น ดา ซึ่งเป็น
เจ้ามรดกมีเงินอยู่ขณะถึงแก่ความตาย1 ล้านบาท แต่มีหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงินอยู่2 ล้าน
บาท ดังนี้ ทายาทจะต้องรับมรดกไปทั้งเงินจานวน1 ล้านบาท และหน้าที่ในการชาระหนี้
ตามสัญญากู้ยืมเงิน 2ล้านบาทแต่ทายาทมีหน้าที่ชาระหนี้ไม่เกินไปกว่าทรัพย์มรดกที่ตน
ได้รับ คือ ชาระหนี้เงินกู้เพียง1 ล้านบาท ส่วนอีก 1ล้านบาททายาทไม่จาเป็นต้องชาระก็
ได้
2.ความหมายของ
มรดก
3.เวลาที่มรดกตก
ทอดแก่ทายาท
มรดกนั้นจะตกทอดไปยังทายาททันทีเมื่อ
เจ้ามรดกตาย ซึ่งการตายของเจ้ามรดกอาจเป็น
การตายโดยธรรมชาติหรือเป็นการตายโดยผล
ของกฎหมาย
(การสาบสูญ) ก็ได้อย่างไรก็ดี มีข้อสังเกตว่า เจ้า
มรดก ต้องเป็นบุคคลธรรมดาเท่านั้น นิติบุคคล
ไม่สามารถเป็นเจ้ามรดกได้
เมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย มรดกจะตกทอดไปยังทายาทที่มีชีวิตอยู่ ขณะที่
เจ้ามรดกตาย หากทายาทตายก่อนหรือพร้อมกับเจ้ามรดก ทายาทคนดังกล่าวไม่มี
สิทธิรับมรดกซึ่งทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดก แบ่งออกเป็น2 ประเภทได้แก่
(1)ทายาทโดยธรรม
(2) ผู้รับพินัยกรรม
4.1ทายาทโดยธรรม
ทายาทโดยธรรม หมายถึง ทายาทที่มีสิทธิในการรับมรดกตามกฎหมาย อัน
ได้แก่ (1) ญาติ และ (2)คู่สมรสของผู้ตาย ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาเท่านั้นที่จะเป็น
ทายาทโดยธรรมได้ นิติบุคคลไม่อาจเป็นทายาทโดยธรรมได้ซึ่งต่างจากผู้รับ
พินัยกรรมที่อาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
4.1.1 ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ
นั้นส่วนของญาตินั้นกฎหมายได้จัดลาดับไว้โดยให้ญาติสนิทที่สุดมีสิทธิ
ได้รับมรดกก่อนญาติที่ห่างออกไป ซึ่งกฎหมายได้กาหนดลาดับญาติที่มีสิทธิได้รับ
มรดกก่อนหลังไว้ดังนี้
ลาดับที่ 1 ผู้สืบสันดาน ได้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมาย นอกจากนี้ยังรวมถึง
บุตรบุญธรรมและบุตรนอกกฎหมาย
ลาดับที่2 บิดามารดา ต้องเป็นบิดามารดาที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดก
เท่านั้น มีข้อสังเกตว่า ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้ตายที่เป็นบุตรบุญ
ธรรม
ตัวอย่าง เช่น
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
แดงเป็นบิดาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของดาโดยแดงได้รับรองว่าว่าดาเป็นบุตร
ของตนโดยพฤตินัยแล้ว หากต่อมาดาถึงแก่ความตาย แดงย่อมไม่มีสิทธิรับมรดก
ดาในฐานะทายาทโดยธรรม เพราะแดงยังคงเป็นบิดาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของดา
อยู่การรับรองดาว่าเป็นบุตรของแดงโดยพฤตินัยไม่ได้ทาให้แดง กลายเป็นบิดาที่
ชอบด้วยกฎหมายแต่อย่างใด แต่หากแดงถึงแก่ความตาย ดาย่อมมีสิทธิได้รับมรดก
ของแดงในฐานะทายาทโดยธรรม เพราะดาเป็นบุตรนอกกฎหมายที่แดงได้รับรอง
แล้ว ดาจึงเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
บิดาไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ดา
ตาย
แดงย่อมไม่มีสิทธิรับมรดก
ตาย รับ
ทายาทโดยธรรม
ลาดับที่ 3 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกับ
เจ้ามรดกที่มีสิทธิได้รับมรดกนั้นให้ถือตามความเป็นจริง ไม่ได้ถือตามกฎหมาย
ลาดับที่ 4 พี่น้องร่วมแต่บิดาหรือร่วมแต่มารดา พี่น้องร่วมแต่บิดาหรือร่วม
แต่มารดาเดียวกันกับเจ้ามรดกที่มีสิทธิได้รับมรดกนั้นให้ถือตามความเป็นจริง
เช่นเดียวกับทายาทลาดับที่ 3
ลาดับที่ 5 ปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งปู่ ย่า ตา ยาย ที่จะมีสิทธิรับมรดกจะต้องเป็นปู่ ย่า
ตา ยาย ที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของมรดกเท่านั้น
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
ในการพิจารณาว่าทายาทโดยธรรมประเภท ญาติจะได้รับมรดกเพียงใดนั้น
ย่อมเป็นไปตามหลัก ญาติสนิทตัดญาติห่าง กล่าวคือ หากญาติลาดับก่อนยังมีชีวิต
อยู่ญาติลาดับก่อนย่อมมีสิทธิได้รับมรดก ทาให้ญาติลาดับหลังไม่มีสิทธิได้รับ
มรดกเลย อย่างไรก็ตาม หลักญาติสนิทตัดญาติห่าง มีข้อยกเว้นว่า ในกรณีที่ทายาท
ลาดับที่ 1 และลาดับที่ 2 ยังมีชีวิตอยู่ทั้งคู่ทายาททั้งสองลาดับมีสิทธิได้รับมรดกใน
สัดส่วนที่เท่ากัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งทายาทลาดับที่ 1 ไม่ตัดทายาทลาดับที่ 2
ทั้งนี้ หากทายาทโดยธรรมในลาดับเดียวกันมีหลายคน ทายาทเหล่านั้นก็จะได้รับ
มรดกในสัดส่วนที่เท่ากัน
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
ตัวอย่าง เช่น
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
แต่หากกรณีเปลี่ยนไป คือ บิดา
มารดาของเจ้ามรดกยังมีชีวิตอยู่ใน
ขณะที่เจ้ามรดกตาย ดังนี้ทั้ง 4 คน
เจ้า
ตาย
ลูก
ลูก
12 ล้าน
6
ล้าน
6
ล้าน
ไม่ได้
ลาดับ
ถัดลง
ไป
เจ้าตาย
พ่อ
แม่
ลูก
ลูก
ลาดับที่ 1
ลาดับที่2
3
ล้าน
หากกรณีเปลี่ยนไป คือ เจ้ามรดกไม่มีบุตร และบิดามารดาก็ตายไปแล้ว
ขณะเจ้ามรดกตาย เจ้ามรดกมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 3 คนรับ 4 ล้าน
4.1.2 ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส
คู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดกเป็นทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิรับ
มรดกเสมอ แต่คู่สมรสจะได้รับมรดกมากน้อยเท่าใดนั้นต้องพิจารณาว่าต้องรับ
มรดกร่วมกับทายาทโดยธรรมในประเภทญาติในลาดับใด กล่าวคือ ถ้าเจ้ามรดกมี
ทายาทโดยธรรมประเภทญาติในลาดับต้นๆคู่สมรสก็จะได้รับส่วนแบ่งมรดกมาก
ขึ้น เช่น ถ้าผู้มีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตายเป็นทายาทโดยธรรมประเภทญาติใน
ลาดับที่ 1 คือ บุตร คู่สมรสที่มีชีวิตอยู่มีสิทธิได้รับมรดกเสมือนหนึ่งว่าเป็นทายาท
ชั้นบุตรกล่าวคือ คู่สมรสมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งเท่ากับบุตร
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
คู่สมรส ลูก
ลาดับที่ 1
หรือในกรณีที่ผู้มีสิทธิรับมรดกของผู้ตายเป็นทายาทโดยธรรมประเภทญาติ
ในลาดับที่ 2 หรือลาดับที่ 3 คือ บิดามารดา หรือพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันคู่
สมรสที่มีชีวิตอยู่มีสิทธิได้รับมรดกกึ่งหนึ่งของมรดกทั้งหมด หรือในกรณีที่ผู้มี
สิทธิรับมรดกของผู้ตายเป็นทายาทโดยธรรมประเภทญาติในลาดับที่ 4 หรือลาดับ
ที่ 5 หรือลาดับที่ 6 คือ พี่น้องร่วมแต่บิดาหรือร่วมแต่มารดา หรือปู่ ย่า ตา ยาย หรือ
ลุง ป้า น้า อา คู่สมรสที่มีชีวิตอยู่มีสิทธิได้รับมรดกสองในสามส่วนของมรดก
ทั้งหมด หรือในกรณีที่เจ้ามรดกไม่มีทายาทโดยธรรมประเภทญาติที่มีสิทธิรับ
มรดกเลย คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่มีสิทธิได้รับมรดกทั้งหมด
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
4.2 ผู้รับพินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรม หมายถึง บุคคลซึ่งผู้ตายทาพินัยกรรมยกทรัพย์สิน
อันเป็นทรัพย์มรดกให้ผู้รับพินัยกรรมนั้นอาจเป็นญาติพี่น้องของผู้ตายหรือ
บุคคลภายนอกก็ได้ และอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ เช่น ดาทา
พินัยกรรมยกทรัพย์ทั้งหมดของตนให้แก่แดงเพื่อนของตน ต่อมาดาถึงแก่ความตาย
แดงจึงได้รับมรดกทั้งหมดของดาในฐานะผู้รับพินัยกรรม
4.ผู้มีสิทธิได้รับ
มรดก
เมื่อพระภิกษุมรณภาพ ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาระหว่างเวลาที่บวชอยู่
ให้ตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลาเนาของพระภิกษุนั้น เว้นแต่พระภิกษุจะได้ทา
พินัยกรรมยกทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ผู้อื่น ส่วนทรัพย์สินที่ได้มาก่อนบวชเป็น
พระภิกษุไม่ตกเป็นสมบัติของวัดแต่ให้เป็นมรดกตกทอดแก่ทายาทของพระภิกษุ
นั้น ตกทอดแก่ทายาทของพระภิกษุนั้น
5. การรับมรดกของ
พระภิกษุ
ตัวอย่าง ก่อนบวชเป็นพระภิกษุ “แดง” มีที่ดินแปลงหนึ่งจานวน 10 ไร่
และมีเงินฝากในธนาคาร 1 ล้านบาท เมื่อ “แดง” บวชเป็นพระภิกษุแล้ว พระภิกษุ
“แดง” ได้ซื้อที่ดินอีกแปลงหนึ่งจานวน 20 ไร่ และได้รับปัจจัยจากญาติโยมเป็น
เงินจานวน 2 ล้านบาท หากต่อมาพระภิกษุ “แดง” ถึงแก่มรณภาพโดยไม่ได้ทา
พินัยกรรมไว้ ดังนี้ ที่ดินแปลงที่มีเนื้อที่ 10 ไร่ และเงินฝากในธนาคารจานวน 10
ล้านบาท ย่อมเป็นมรดกตกทอดแก่ทายาทโดยธรรมของพระภิกษุ “แดง” เพราะ
เป็นทรัพย์สินที่พระภิกษุ “แดง” มีอยู่ก่อนบวช ส่วนที่ดินแปลงที่มีเนื้อที่ 20 ไร่
และเงินปัจจัยจานวน 20 ล้านบาท ย่อมตกเป็นสมบัติของวัดที่พระภิกษุ “แดง” มี
ภูมิลาเนา เพราะเป็นทรัพย์สินที่พระภิกษุ “แดง” ได้มาในระหว่างที่บวชเป็น
พระภิกษุอยู่
5. การรับมรดกของ
พระภิกษุ
การเสียสิทธิในการรับมรดกเป็นกรณีที่ทายาทโดยธรรมหรือรับพินัยกรรม
ไม่มีสิทธิได้รับมรดกอีกต่อไปเมื่อมีเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง 3 ประการดังต่อไปนี้
6.1 การถูกจัดไม่ให้รับมรดก
ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมถูกกาจัดไม่ได้รับมรดกเมื่อ ได้ยักย้าย
หรือปิดบังทรัพย์มรดก หรือ ได้รับกระทาการอันไม่สมควรที่จะรับมรดกของผู้ตาย
เช่น มีคาพิพากษาถึงที่สุดว่าทายาทฆ่าหรือพยายามฆ่าเจ้ามรดก
6.2 การถูกตัดไม่ให้รับมรดก
การถูกตัดไม่ให้รับมรดกเป็นกรณีที่เจ้าของมรดกแสดงเจตนาไม่ให้ทายาท
โดยชอบธรรมคนใดคนหนึ่งมีสิทธิ ได้รับมรดกโดยการทาเป็นพินัยกรรมหรือทา
เป็นหนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น ดาเจ้ามรดกทาพินัยกรรมโดยระบุว่า
แดงซึ่งเป็นบุตรที่ประพฤติตนสุรุ่ยสุร่ายไม่มีสิทธิได้รับมรดก
6.การเสียสิทธิในการ
รับมรดก
6.3 การสละมรดก
การสละมรดกเป็นกรณีที่ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมแสดงเจตนา
อย่างชัดแจ้งเป็นหนังสือมอบไว้ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือเป็นหนังสือ
ประนีประนอมยอมความ โดยระบุว่าตนไม่ประสงค์จะรับมรดกทั้งหมดของผู้ตาย
ดังนั้น การสละมรดกจะสละเพียงบางส่วนไม่ได้ และการสละมรดกต้องกระทา
ภายหลังเจ้ามรดกตายแล้วเท่านั้น เช่น ตาล เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย ทีทายาทของ
ตาลได้หนังสือมอบไว้ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่โดยระบุว่าตนจะไม่รับมรดกของ
ตาล เลยเนื่องจากตนเป็นมหาเศรษฐีอยู่แล้ว การกระทาของ ที เรียกว่า “การสละ
มรดก” มีผลให้ ที ไม่มีสิทธิได้รับมรดกของ ตาล
6.การเสียสิทธิในการ
รับมรดก
7.1 ความหมายของพินัยกรรม
พินัยกรรม หมายถึง นิติกรรมซึ่งบุคคลได้แสดงเจตนาฝ่ายเดียวกาหนดการ
เผื่อตายในเรื่องทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ตลอดจนความรับผิดชอบของตนเมื่อตน
ได้ตายไปแล้ว โดยพินัยกรรมต้องทาตามแบบที่กฎหมายกาหนดเท่านั้นและ
พินัยกรรมจะมีผลเมื่อผู้ทาพินัยกรรมตาย
7.พินัยกรรม
เช่น ตาล ทาพินัยกรรมยกทรัพย์สินทั้งหมดของตนให้แก่ ที บิดาของตน
และยกศพของตนให้กับโรงพยาบาลศิริราชเพื่อประโยชน์ในการศึกษา พินัยกรรมที่
ตาลทาขึ้นจะมีผลเมื่อ ตาลตาย กรณีที่เจ้าที่มรดกทาพินัยกรรมไว้หลายฉบับและมี
ข้อความขัดแย้งกัน ให้ถือตามพินัยกรรมฉบับหลังสุด
7.2 ผู้ทาพินัยกรรม
(1.)ฉผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อย 15 ปีบริบูรณ์ หากพินัยกรรม
กระทาโดยบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 15 ปีบริบูรณ์ พินัยกรรมนั้นจะเป็นโมฆะ
(2.)คนไร้ความสามารถจะทาพินัยกรรมไม่ได้ พินัยกรรมที่ทาขึ้นโดยคนไร้
ความสามารถย่อมตกเป็นโมฆะ
(3.)พินัยกรรมที่ทาขึ้นโดยคนวิกลจริตจะตกเป็นโมฆะก็ต่อเมื่อพิสูจน์ได้ว่าผู้
นั้นทาพินัยกรรมในขณะที่จริตวิกล หากผู้นั้นทาพินัยกรรมในขณะที่ไม่ได้จริต
วิกล พินัยกรรม นั้นมีผลสมบูรณ์
7.พินัยกรรม
อนึ่ง มีข้อสังเกตว่า “คนเสมือนไร้ความสามารถ”
สามารถทาพินัยกรรมได้โดยไม่ต้องได้รับความ
ยินยอมจากผู้พิทักษ์ พินัยกรรมที่คนเสมือนไร้
ความสามารถทาย่อมมีผลสมบูรณ์
7.3 บุคคลที่ไม่สามารถเป็นผู้รับพินัยกรรมได้
บุคคลที่ไม่สามารถเป็นผู้รับพินัยกรรมได้มี 4 ประเภท คือ
(1) ผู้เขียนพินัยกรรมและคู่สมรสของผู้เขียนพินัยกรรม
(2) พยานในพินัยกรรมและคู่สมรสของพยานในพินัยกรรม
(3) พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งได้จดแจ้งข้อความแห่งพินัยกรรมแบบทาด้วยวาจาและคู่
สมรสของพนักงานเจ้าหน้าที่นั้นและ
(4) ในกรณีที่ผู้เยาว์ทาพินัยกรรม ผู้ปกครองของผู้เยาว์ รวมไปถึงคู่สมรส บุพการี
หรือผู้สืบสันดาน หรือพี่น้องของผู้ปกครองจะเป็นผู้รับพินัยกรรมไม่ได้ เว้นแต่
ผู้ปกครองได้ทาแถลงการณ์ปกครองแล้ว
7.พินัยกรรม
7.4 บุคคลที่ไม่สามารถเป็นพยานในการทกาพินัยกรรมได้
บุคคลที่ไม่สามารถเป็นพยานในการทกาพินัยกรรมได้มี 3 ประเภท คือ
(1) บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(2) คนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ และ
(3) บุคคลที่หูหนวก หรือเป็นใบ้หรือตาบอดทั้งสองข้าง
7.พินัยกรรม
7.5 แบบของพินัยกรรม
พินัยกรรมต้องทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกาหนด หากมิได้ทาให้
ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกาหนดไว้พินัยกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะ โดย
กฏหมายกาหนดแบบของพินัยกรรมไว้5 แบบ ดังนี้
7.5.1 พินัยกรรมแบบธรรมดา
พินัยกรรมแบบธรรมดามีหลักเกณฑ์3 ประการ คือ
(1) ต้องทาเป็นหนังสือซึ่งจะเขียนหรือพิมพ์ก็ได้หรือให้คนอื่นเขียนหรือพิมพ์แทนก็ได้
(2) ต้องลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ทาพินัยกรรม
(3) ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนและพยานนั้นลง
ลายมือชื่อกากับไว้ด้วย
7.พินัยกรรม
7.5.2 พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับมีหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือ
(1) ต้องทาเป็นหนังสือโดยผู้ทาพินัยกรรมต้องเขียนข้อความในพินัยกรรมทั้งฉบับ
ด้วยลายมือของตนเอง จะใช้เครื่องพิมพ์ไม่ได้
(2) ลงวันที่ เดือน ปี ในขณะที่ทาพินัยกรรม
(3) ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อไว้ใยพินัยกรรมโดยไม่จาเป็นต้องมีพยาน
7.พินัยกรรม
7.5.3 พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมืองมีหลักเกณฑ์ 4 ประการ
(1) ผู้ทาพินัยกรรมต้องไปแจ้งข้อความที่ตนประสงค์จะให้ใส่ไว้ในพินัยกรรมของ
ตนแก่นายอาเภอหรือผู้อานวยการเขตต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน
(2) นายอาเภอหรือผู้อานวยการเขตต้องจดข้อความที่ผู้ทาพินัยกรรมแจ้งให้ทราบ
และอ่านข้อความนั่นให้ผู้ทาพินัยกรรมและพยานฟัง
(3) ผู้ทาพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อในพินัยกรรม
(4) นายอาเภอหรือผู้อานวยการเขตลงลายมือชื่อและลง วัน เดือน ปี พร้อมกับจดลง
ในพินัยกรรม ว่าพินัยกรรมถูกต้องและประทับตราตาแหน่ง
7.พินัยกรรม
7.5.4พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
พินัยกรรมแบบเอกสารลับมีหลักเกณฑ์ 4 ประการ คือ
(1) ผู้ทาพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม
(2) ผู้ทาพินัยกรรมต้องปิดผนึกพินัยกรรมนั้นและลงลายมือชื่อบนรอยปิดผนึกนั้น
(3) ผู้ทาพินัยกรรมต้องนาพินัยกรรมที่ปิดผนึกนั้นไปแสดงต่อนายอาเภอหรือ
ผู้อานวยการเขต และพยานอย่างน้อย 2 คน และให้ถ้อยคาต่อบุคคลทั้งหมดว่าเป็น
พินัยกรรมของตนเอง
(4) นายอาเภอหรือพนักงานเขตจดถ้อยคาของผู้ทาพินัยกรรมและลงวัน เดือน ปี ที่
ทาพินัยกรรมไว้บนซองและประทับตรา ให้นายอาเภอพยานลงลายมือชื่อบนซอง
7.พินัยกรรม
7.5.5 พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจา
พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจามีหลักเกณฑ์ 4 ประการ
(1) ต้องมีพฤติการณ์พิเศษซึ่งผู้ทาพินัยกรรมไม่สามารถจะทาพินัยกรรมไม่สามารถ
จะพิมพ์ตามแบบอื่นได้ เช่น ผู้ทาพินัยกรรมอยู่ในอันตรายใกล้ตาย หรืออยู่ใน
สงคราม
(2) ผู้ทาพินัยกรรมต้องแสดงเจตนาทาพินัยกรรมต่อพยานอย่างน้อย 2 คน
(3) พยานทั้งสองคนต้องไปแสดงตนต่อนายอาเภอหรือผู้อานวยการเขตโดยไม่
ชักช้าและแจ้งข้อความที่ผู้ทาพินัยกรรมได้สั่งไว้ด้วยวาจา แจ้งวัน เดือน ปี สถานที่
ที่ทาพินัยกรรมและพฤติการณ์พิเศษนั่นต่อนายอาเภอหรือผู้อานวยการเขตด้วย
(4) นายอาเภอหรือผู้อานวยการเขตต้องจดข้อความที่พยานนามาแจ้ง และพยาน 2
คนนั้นต้องลงลายมือชื่อไว้
7.พินัยกรรม
เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรม
มรดกของบุคคลนั้นตกแก่แผ่นดิน
8.มรกดที่ไม่มีผู้รับ
นายตาล ตาย!
ตกเป็นขอแผ่นดิน
ไม่มีทายาท
จบการ นาเสนอ
Thank you
1. เมื่อแป้ งถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรม หรือผู้รับพินัยกรรม มรดกของ
บุคคลนั้นตกแก่ใคร
 ก. นายตาลซึ่งเป็น คู่รักกันตอนสมัครเรียน
 ข. ตกเป็นของพี่น้องร่วมสาบาน
 ค. ตกเป็นของแผ่นดิน
 ง. บริจาคเงินทั้งหมดให้ผู้ประสบภัยในประเทศ
ค. ตกเป็นของแผ่นดิน
อธิบาย : เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรม มรดก
ของบุคคลนั้นตกแก่แผ่นดิน
2. เทียนชัยเป็นนักเต้นชื่อดัง อ.โยจึงจ้างเทียนชัยให้เต้นในงานวันเกิดของตน ก่อนถึงงาน
วันเกิดของอ.โยปรากฏว่าเทียนชัยได้ถึงแก่ความตายเสียก่อน อ.โย จะไปบังคับ เปเป้ ซึ่ง
เป็นทายาทหรือเป็นบุตรของเทียนชัยให้เต้นแทนได้หรือไม่
 ก. ได้เพราะถือว่า เปเป้ เป็นบุตรโดยชอบธรรม
 ข. ได้เพราะ เทียนชัย ได้ตกลงกับ อ.โย เอาไว้ก่อนตายจึงสามารถที่จะเรียกร้องให้ เปเป้
ซึ่งเป็นบุตรของ เทียนชัย มาเต้นแทนได้
 ค. ไม่ได้เพราะถือว่าการเต้นเป็นการเฉพาะตัวของ เทียนชัย เองที่จะต้องใช้
ความสามารถในการเต้นของตน ซึ่งจะให้คนอื่นมาทาหน้าที่แทนไม่ได้
 ง. ไม่ได้เพราะ อ.โย ได้ตกลงกับ เทียนชัย ผู้เป็นบิดา ซึ่งเปเป้ไม่ได้ทราบเรื่องการเต้น
ค. ไม่ได้ เพราะถือว่าการเต้นเป็นการเฉพาะตัวของ เทียนชัย เองที่จะต้องใช้
ความสามารถในการเต้นของตน ซึ่งจะให้คนอื่นมาทาหน้าที่แทนไม่ได้
อธิบาย : ส่วนทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดที่มีลักษณะ เป็นการ
เฉพาะตัวโดยแท้ของผู้ตาย ย่อมไม่เป็นมรดกเช่น สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิของ
ผู้เช่าตามสัญญาเช่าทรัพย์ หน้าที่ของลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงาน และหน้าที่ที่
ต้องทาเองเฉพาะตัว
3. ปวินเป็นบิดาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของนายดีม โดยปวินได้รับรองว่าดีมเป็นบุตรของ
ตนโดยพฤตินัยแล้ว หากต่อมาดีมถึงแก่ความตาย ปวินย่อมไม่มีสิทธิรับมรดกของดีม
แต่หากปวินถึงแก่ความตาย ดีมย่อมมีสิทธิได้รับมรดกของปวิน จากข้อความ ถามว่า
เพราะเหตุใด ปวินจึงไม่มีสิทธิในมรดกของนายดีม แต่เมื่อนายปวินตายนายดีมย่อมมี
สิทธิได้รับมรดก
 ก. นายดีมไม่ได้ทาพินัยกรรมให้กับนายปวิน แต่เมื่อนายปวินตายนายดีมย่อมมีสิทธิ
ได้รับมรดกในฐานะทายาทลาดับที่ 1
 ข. นายปวินเป็นบิดาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของดีม แต่เมื่อนายปวินตายนายดีมย่อมมี
สิทธิได้รับมรดกเพราะปวินได้รับรองว่านายดีมเป็นบุตรของตนโดยพฤตินัยแล้ว
 ค. นายดีมไม่ได้ทาพินัยกรรมให้กับนายปวิน แต่เมื่อนายปวินตาย นายดีมย่อมมีสิทธิ
ได้รับมรดก เพราะปวินได้รับรองว่าดีมเป็นบุตรของตนโดยพฤตินัยแล้ว
 ง. นายดีมไม่ได้ทาพินัยกรรมให้กับนายปวิน นายปวินได้ทาพินัยกรรมให้แก่นายดีม
บุตรชายโดยชอบธรรม
ข. นายปวินเป็นบิดาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของดีม แต่เมื่อนายปวินตายนายดีมย่อมมี
สิทธิได้รับมรดกเพราะปวินได้รับรองว่านายดีมเป็นบุตรของตนโดยพฤตินัยแล้ว
4. ตาลซึ่งเป็นเจ้าของมรดกตาย โดยภรรยาและบิดามารดาของตาลถึงแก่ความตายแล้ว
และในขณะตายนั้นตาลมีเงินเป็นเงิน 12 ล้านบาท ตาลมีบุตร 2 คน ดังนั้น บุตรทั้ง 2 ที่
เป็นทายาลาดับที่ 1 จะได้รับเงิน ในสัดส่วนเท่าใด และทายาทลาดับถัดลงไป มีอยู่ 2
คน จะมีสิทธิได้รับเงินของนายตาลหรือไม่
 ก. จะได้รับในสัดส่วน 3 ส่วน 1 โดยผู้เป็นพี่ จะได้รับ 3 ส่วน เป็นเงิน 9 ล้านบาท
น้องจะได้รับ 3 ล้านบาท ทายาทลาดับถัดลงไปจะไม่มีสิทธิได้รับเงิน
 ข. จะได้รับในสัดส่วนที่เท่ากัน เป็นเงิน คนละ 6 ล้านบาท ทายาทลาดับถัดลงไปจะไม่
มีสิทธิได้รับเงิน
 ค. จะได้รับในสัดส่วนที่เท่ากันทั้ง บุตร 2 คนและทายาทลาดับถัดไป 2 คน จะได้รับ
คนละ 3 ล้านบาท
 ง. จะได้รับในสัดส่วน 3 ส่วน 1 ฝ่ายบุตรลาดับที่ 1 จะได้รับเงิน 9 ล้านบาท แบ่งคนละ
4.5 ล้านบาท ส่วนทายาทลาดับถัดไป จะได้รับ 1 ส่วนคือ 3 ล้านบาทแบ่งแล้วจะได้รับ
เงินคนละ 1.5 ล้านบาท
ข.จะได้รับในสัดส่วนที่เท่ากัน เป็นเงิน คนละ 6 ล้านบาท ทายาทลาดับถัดลงไปจะไม่มี
สิทธิได้รับเงิน
5. นางกิ๊ฟหม้ายสามีตาย มีบุตรหนึ่งคนชื่อนายที ต่อมานางกิ๊ฟได้มาอยู่กินกับนายบอย ทุ่งหลวง ฉัน
สามีภรรยา เกิดบุตรหนึ่งคนชื่อเด็กชายตั๊ก นายบอย ทุ่งหลวง ผู้เป็นบิดายินยอมให้เด็กชายตั๊กใช้
นามสกุลและอุปการะเลี้ยงดูให้การศึกษาตลอดมาอย่างเปิดเผย จนกระทั่งนายตั๊กโตขึ้นมา มีงาน
ทาและมีภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมายชื่อนางแหม่ม ต่อมานางกิ๊ฟตาย นายบอย ทุ่งหลวง จึงไป
บวชเป็นพระภิกษุ และต่อมานายตั๊กตาย มีมรดก 300,000 บาท จงแบ่งมรดกของนายตั๊ก
 ก. ตกเป็นของ นายบอย ทุ่งหลวง เป็นเงินทั้งหมด 300,000 บาท
 ข. ตกเป็นของนางแหม่มซึ่งเป็นคู่สมรส และตกเป็นของบอย ทุ่งหลวง โดยแบ่ง 2 ส่วนใน 3 ให้
แหม่มซึ่งเป็นคู่สมรส ได้200,000 บาทบอย ทุ่งหลวงได้100,000 บาท
 ค. ตกเป็นของนายทีซึ่งเป็นพี่ชายร่วมสายเลือดทางมารดา และตกเป็นของบอย ทุ่งหลวง โดย
แบ่ง 2 ส่วน ได้เงินเท่ากัน 200,000 บาท
 ง. ตกเป็นของนายทีซึ่งเป็นพี่ชายร่วมสายเลือด และตกเป็นของนางแหม่ม โดยแบ่ง 2 ส่วนใน 3
ให้แหม่มซึ่งเป็นคู่สมรส 200,000 บาท นายทีพี่ชายได้100,000 บาท
ง. ตกเป็นของนายทีซึ่งเป็นพี่ชายร่วมสายเลือด และตกเป็นของนางแหม่มด้วย แบ่ง2 ส่วนใน 3
ให้แหม่มซึ่งเป็นคู่สมรส 200,000 บาท นายทีพี่ชายได้ 100,000 บาท
อธิบาย : นายตั๊กเป็นบุตรนอกกฎหมายที่นายบอยทุ่งหลวงบิดาได้รับรองแล้ว นาย
ตั๊กจึงเป็นผู้สืบสันดานของนายบอย ทุ่งหลวง แต่นายตั๊กไม่ใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
ของนายบอย ทุ่งหลวง และนายบอยทุ่งหลวงไม่ใช่บิดาโดยธรรมของนายตั๊กเพราะ
ทายาทโดยธรรมลาดับที่ 2 บิดามารดา หมายถึงบิดามารดาที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น
ดังนั้นนายบอย ทุ่งหลวงไม่ใช่บิดาโดยธรรมของนายตั๊ก
นายตั๊กมีภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมายคือนางแหม่มและมีพี่ร่วมมารดาคือนายที มรดกของ
นายตั๊ก 300,000 บาท ตกแก่นางแหม่มคู่สมรส 2 ส่วนใน 3 คือ 200,000 บาท และนายที
พี่ชายร่วมมารดา100,000 บาท
กฎหมายมรดก

More Related Content

What's hot

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์พัน พัน
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 

What's hot (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
มรดก
มรดกมรดก
มรดก
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 

Viewers also liked

บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วอ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
การสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสการสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสbilly ratchadamri
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวSukit U-naidhamma
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาSukit U-naidhamma
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...อ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 

Viewers also liked (20)

การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรมการรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
 
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้วบุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
บุตรที่บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร กับ บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
 
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดกหนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
 
การสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสการสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรส
 
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดกหนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
 
มรดก 1
มรดก 1มรดก 1
มรดก 1
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
 
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
 
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
 
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
 
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯกฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
 
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญาประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญา
 

Similar to กฎหมายมรดก

หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
สื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไปสื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไปพัน พัน
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาbilly ratchadamri
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาbilly ratchadamri
 

Similar to กฎหมายมรดก (8)

ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
สื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไปสื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไป
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
การหมั้น
การหมั้นการหมั้น
การหมั้น
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 

More from Yosiri

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้าYosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรYosiri
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์Yosiri
 

More from Yosiri (18)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 

กฎหมายมรดก