SlideShare a Scribd company logo
การสืบพันธุ์
     &
การเจริญเติบโต
แนวความคิดต่างๆ เกี่ยวกับการเกิดของสิ่งมีชีวิต
1. ทฤษฎีการสร้างขึ้นอย่างพิเศษ
   (special creation theory)
   สิ่งมีชีวิตในโลกนี้ถูกสร้างขึ้นด้วยอานาจต่างๆ
   อันพิเศษเหนือกว่าธรรมชาติ เช่น พระเจ้าเป็น
   ผู้สร้างโลกและสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในโลก
2. ทฤษฎีสิ่งมีชีวิตมาจากโลกอื่น
 (cosmosoic theory)
 สิ่งมีชีวิตมาจากดวงดาวหรือโลกอื่นซึ่งอยู่นอก
 โลกของเราออกไป
3. ทฤษฎีสิ่งมีชีวิตเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต
 (spontaneous generation
 theory หรือ abiogenesis
 theory)
4. ทฤษฎีสิ่งมีชีวิตเกิดจากสิ่งมีชีวิต
 (biogenesis theory)
 สิ่งมีชีวิตจะเกิดจากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
 เท่านั้น เพราะพบว่าสิ่งมีชีวิตทั่วไปจะมีพ่อและ
 แม่และลูกที่เกิดมาจะมีลักษณะเหมือนกับพ่อแม่
 ของมันเสมอ
5. สิ่งมีชีวิตเกิดจากสิ่งมีชีวิต
 (biogenesis)
     สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องเกิดมาจากพ่อแม่ที่เป็น
 สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual
reproduction)
      การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการ
สืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยการรวมตัวของเซลล์
สืบพันธุ์ (sex cell) เป็นการ
สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตชั้นต่า
  การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ มีหลายแบบ
คือ
1. การแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
   (Binary fission)
    การสืบพันธุ์แบบนี้พบในพวกโปรติสต์
  เซลล์เดียว เช่น แบคทีเรีย อะมีบา โปร
  โตซัว
2. การแตกหน่อ (Budding)
    เกิดขึ้นตามบริเวณผนังเซลล์รอบนอก โดย
  บริเวณผนังเซลล์ดังกล่าวจะมีการแบ่งเซลล์
  แบบ mitosis เพิ่มจานวนขึ้นเรื่อยๆ
  จนเป็นตุ่มยื่นออกมา (โดยไม่เกิดซ้ากับผนัง
  เซลล์ตาแหน่งเดิม) ซึ่งอาจติดอยู่ หรือหลุดออก
  จากเซลล์แม่หรือตัวแม่ เช่น ยีสต์
3. การสร้างสปอร์ (Sporulation)
    กระบวนการเริ่มโดยเซลล์จะสร้างสปอร์
  มีการแบ่งนิวเคลียสหลายครั้ง จนได้
  นิวเคลียสมากมาย ต่อมามีโปรโต-ปลา
  สซึมมาหุ้ม มีผนังหนาเกิดขึ้นกลายเป็น
  สปอร์ซึ่งทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่
  เหมาะสมได้ดี
4. การงอกใหม่ (Regeneration)
  การสร้างส่วนของร่างกายส่วนที่ขาด
  หายไปขึ้นมาใหม่ให้ครบเหมือนเดิม
  เช่น พลานาเรีย ไฮดรา ดอกไม้ทะเล
  ดาวทะเล
5. พาเธนโนจีนีซิส
  (Parthenogenesis)
  กระบวนการเจริญพัฒนาของไข่
  กลายเป็นตัวอ่อน
   โดยไข่ไม่ได้รับการปฏิสนธิ เช่น
  ผึ้ง ตัวต่อ
6. การหักเป็นส่วนๆ (Fragmentation)
     จัดเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
  แต่ละส่วนที่ขาดออก
  จากกันจะเจริญและเพิ่มจานวนเซลล์
  ขึ้น จนมีลักษณะเหมือนเดิม
  เช่น สาหร่ายสายยาวๆ พยาธิตัวตืด
7. สายสืบพันธุ์ของไวรัส หรือฟาจ (Duplication = การ
   จาลองตัวเอง)
       สามารถเพิ่มจานวนได้เมื่อเข้าไปอยู่ในเซลล์ของ
   สิ่งมีชีวิต กระบวนการเริ่มโดยไวรัสจะใช้ส่วนหาง
   (fiber) เกาะที่ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย แล้วปล่อย
   เอนไซม์ย่อยผนัง จากนั้นจึงปล่อยสารพันธุกรรม
   (DNA หรือ RNA) เข้าสู่เซลล์แบคทีเรียมีการจาลอง
   DNA มากขึ้น มีการสร้างโปรตีนที่เป็นส่วนหัวและ
   ส่วนหาง จากนั้นแต่ละส่วนจะรวมกันเป็นไวรัส
   มากมาย
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์
    (Sexual Reproduction)
Conjugation
 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสิ่งมีชีวิต โดยการมา
จับคู่กันเพื่อแลกเปลี่ยนนิวเคลียส หรือสารทาง
กรรมพันธุ์ซึ่งกันและกัน โดยดูไม่ออกว่าตัวไหน
เป็นเพศผู้เพศเมีย และเซลล์สืบพันธุ์ก็มีลักษณะ
คล้ายๆกัน
Conjugation
in the Paramecium
Fertilization
      หมายถึง การรวมกันของนิวเคลียสของ
สเปิร์ม และนิวเคลียสของไข่ (ซึ่งเป็นเซลล์
สืบพันธุ์ของสัตว์เพศผู้และเพศเมีย ซึ่งมีความ
แตกต่างกัน)
Hermaphrodit
 สัตว์ที่เป็นกระเทย มีอวัยวะเพศทั้ง 2
 เพศอยู่ในตัวเดียวกันแต่ไม่สามารถ
 ผสมกันเองภายในตัว ต้องผสมข้าม
 ตัว เนื่องจากไข่และอสุจิเจริญไม่
 พร้อมกัน
สัตว์บกชั้นสูงส่วนใหญ่ จะมีการปฏิสนธิภายในตัว
โดยที่ตัวผู้กับตัวเมียจะมาจับคู่กัน แล้วตัวผู้จะ
ปล่อยอสุจิเข้าไปผสมกับไข่ภายในร่างกายของตัว
เมียได้ไซโกต เจริญเป็นเอมบริโอต่อไปซึ่งอาจเจริญ
นอกตัวแม่ เช่น สัตว์เลื้อยคลาน นก เป็ด ไก่บาง
ชนิดตัวอ่อนเจริญภายในตัวแม่ ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนม (การสืบพันธุ์แบบนี้จะมีโอกาสในการปฏิสนธิ
สูงแต่จะมีจานวนลูกหลานได้น้อย)
การสืบพันธุ์ของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
Binary fission
conjugation

พารามีเซียม 2 เซลล์มา
จับคู่กันเพื่อแลกเปลี่ยน
สารพันธุกรรม
budding
1.   ถ้าไฮดราหรือพลานาเรีย ถูกตัดเป็นชิ้นเล็ก จานวนมาก แต่ละชิ้นนั้นจะ
     เจริญเติบโตเป็นไฮดราหรือพลานาเรียใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ กระบวนการนี้เรียกว่า
     ก. การสืบพันธุ์
     ข. Regeneration
     ค. Parthenogenesis
     ง. Fragmentation

2. โครงสร้างใดมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับ Amoeboid Movement และการทางานของ
      เซลล์กล้ามเนื้อ2. ข้อใดกล่าวถึงการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ไม่ถูกต้อง
      ก. เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
      ข. มีโอกาสเกิดการแปรผกผันของลักษณะในรุ่นลูกสูง
      ค. มีไซโกตเกิดขึ้นจากการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศ
      เมีย
      ง. เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้สามารถเคลื่อนที่ด้วยตัวเอง แต่เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
      เคลื่อนที่ด้วยตัวเองไม่ได้
3. การคุมกาเนิดแบบถาวรในคนทาอย่างไรได้ผลดีที่สุด
    ก. ตัดมดลูกและอัณฑะออก
    ข. ตัดรังไข่และหลอดสร้างอสุจิออก
    ค. ใช้รังสีฉายทาลาย
    ง. ตัดท่อนาไข่ในหญิงและตัดท่ออสุจิในชาย

4. ถ้าตัดรังไข่ของหญิงปกติออกข้างหนึ่ง ผลที่เกิดขึ้นตามมาข้อใดเป็นไปได้มากที่สุด
    ก. มีการตกไข่ทุก 56 วัน
    ข. หนึ่งรอบของการมีประจาเดือนจะเป็น 56 วัน
    ค. การตกไข่และการมีประจาเดือนจะเหมือนเดิม
    ง. เป็นไปได้ทั้ง 1 2 และ 3

5. เมื่อเปรียบเทียบ Sperm cell แล้ว Egg cell ของคนมีอะไรมากกว่า
    ก. Chromosome
    ข. Cytoplasm
    ค. mitochondria
    ง. Centriole
6. เมื่อพารามีเซียมสืบพันธุ์โดยการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน (Binary
    fission) พบว่า
    ก. เฉพาะ Micronucleus เท่านั้นที่แบ่งตัวแบบไมโทซิส
    ข. เฉพาะ Macronucleus เท่านั้นที่แบ่งตัวแบบไมโทซิส
    ค. ทั้ง Micronucleus และ Macronucleus จะแบ่งตัวแบบไมโทซิส
    ง. Macronucleus จะแบ่งตัวแบบไมโทซิส และ Micronucleus จะ
    แบ่งตัวแบบไมโอซิส
9. การปฏิสนธิภายนอก (External fertilization) มีโอกาสเกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัย
    อยู่ ณ ที่ใดมาก ที่สุด
    ก. สระน้า
    ข. ทุ่งหญ้าเขียวชอุ่ม
    ค. ทะเลทรายที่แห้งแล้ง
    ง. ป่าดงดิบตามเทือกเขาสูง

10. สิ่งมีชีวิตใดต่อไปนี้สามารถสืบพันธุ์ได้อย่างสมบูรณ์โดยไม่ต้องใช้กระบวนการแบ่ง
    เซลล์แบบไมโอซิส
    ก. ผึ้ง
    ข. อะมีบา
    ค. ตั๊กแตน
    ง. แมลงหวี่
การสืบพันธุ์ของคน
ระบบสืบพันธุ์ หมายถึง การเพิ่ม
จานวน หรื อการให้กาเนิดลูกหลาน
ที่เหมือนพ่อแม่หรื อบรรพบุรุษ

      • ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
      • ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
อวัยวะเพศชาย
กระบวนการสร้างอสุจิ
•   ไพร์มอร์เดียล เจริมเซลล์   (2n)
•   ไมโทซิส
•   สเปอร์มาโทโกเนียม          (2n)
•   สเปอร์มาโตไซต์ระยะแรก      (2n)
•   ไมโอซิสขั้นที่ 1
•   สเปอร์มาโตไซต์ที่สอง       (n)
•   ไมโอซิสขั้นที่ 2
•   สเปอร์มาติด                 (n)
•   ตัวอสุจิ                    (n)
อวัยวะเพศหญิง
ลักษณะของอสุจิ
ภาพแสดงอสุจิกาลังเข้าสู่ไข่
การปฏิสนธิ
การปฏิสนธิ คือ การรวมตัวของเซลล์เพศผู ้
และเซลล์เพศเมีย ซึ่งจะเกิดขึ้นบริ เวณท่อนา
ไข่ ของเพศหญิง
การเปลี่ยนแปลงของไข่ที่ได้รับการผสม
เมื่อไข่ได้รับการผสมจะ
แบ่งเซลล์ จาก 1 เป็ น 2
และ 4 ตามลาดับ เรี ยก
         ่
ระยะนี้วา ไซโกต
เมื่อเป็ นกลุ่ม เซลล์
เรี ยกว่า เอ็มบริ โอ
การเปลียนแปลงของเอ็มบริโอ
       ่
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอน

More Related Content

What's hot

บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
Thitaree Samphao
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
Preeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
Thitaree Samphao
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
Chay Kung
 

What's hot (20)

บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 

Similar to ระบบสืบพันธุ์ สอน

ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Wichai Likitponrak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
rathachokharaluya
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมwijitcom
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
Wichai Likitponrak
 

Similar to ระบบสืบพันธุ์ สอน (20)

ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
1
11
1
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 

More from Nokko Bio

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
Nokko Bio
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการNokko Bio
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซNokko Bio
 

More from Nokko Bio (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Ans sns
Ans snsAns sns
Ans sns
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
 

ระบบสืบพันธุ์ สอน