SlideShare a Scribd company logo
 
วันสำคัญทางพุทธศาสนา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดย ครูประพิศ  ฝาคำ
มาฆบูชา
มาฆบูชา ,[object Object],[object Object]
หลักธรรม ,[object Object],[object Object]
ประวัติ ,[object Object]
[object Object],ปกติขึ้น  15  ค่ำเดือน  6
ย่อมาจาก  “ วิสาขปุณณมีบูชา ”  เป็นวันบูชาเพื่อน้อมระลึกถึงวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซึ่งเกิดขึ้นในวันและเดือนเดียวกัน คือ ในวันเพ็ญ  ( ขึ้น ๑๕ ค่ำ )  เดือนหก หรือเดือนเวสาขะ องค์การสหประชาชาติได้เล็งเห็นความสำคัญของวันนี้ จึงประกาศให้เป็น  “  วันสำคัญสากลโลก  ”  ( Vesak Day ) วันวิสาขบูชา
อริยสัจธรรม ๔  ประกอบไปด้วย  ทุกข์  ความทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก เช่น ความเกิด ความแก่ ความตาย ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ การประจวบกับสิ่งที่ไม่รัก การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวัง ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์  สมุทัย  เหตุแห่งทุกข์เกิดขึ้น คือ  “  ตัณหา  ”  กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา  นิโรธ  ความดับทุกข์ ภาวะที่ตัณหาสิ้นไป จิตหลุดพ้นจากกิเลส เครื่องเศร้าหมองทั้งปวง นิพพาน  มรรค  ทางปฏิบัติถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบ ๘ ประการ เรียกว่า มัชฌิมาปฏิทา คือ เห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ กระทำชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และตั้งจิตมั่นชอบ หลักธรรม
การจัดงานวันวิสาขบูชาในประเทศไทย ได้เริ่มกระทำมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ดังตำนาน  “  อันพระนครสุโขทัยธานี ถึงวันวิสาขนักขัตฤกษ์ครั้งใด ก็สว่างไสวด้วยแสงประทีป เทียน ดอกไม้เพลิงง ...  ”  ในสมัยอยุธยาไม่ปรากฏหลักฐาน ส่วนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ ได้ทรงฟื้นฟูพิธีวิสาขบูชาให้เป็นแบบแผนขึ้น และกระทำสืบต่อกันมาจนปัจจุบัน ประวัติ
[object Object]
วันอาสาฬหบูชา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หลักธรรม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประวัติ ,[object Object]
เข้าพรรษา
เข้าพรรษา “ เข้าพรรษา ”  แปลว่า  “ พักฝน ”  หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ประจำ ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน มีกำหนด ๔เดือน เริ่มตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ประกอบไปด้วย ๑ .  ปุริมพรรษา คือ พรรษาแรก หรือพรรษาต้น โดยเริ่มตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ๒ .  ปัจฉิมพรรษา คือ พรรษาหลัง เริ่มตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือเพิ่มเดือน ๘ เข้ามาอีกเดือนหนึ่ง เป็นแปดสองหน ในปีนั้นให้ถือวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ หลัง เป็นวันเข้าปุริมพรรษา การที่แยกพรรษาเป็น๒ระยะ เพื่อให้พระสงฆ์ที่จำพรรษาในวันปุริมพรรษาไม่ทัน ด้วยเหตุจำเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถเลื่อนไปจำพรรษาในวันปัจฉิมพรรษา
ประวัติ โดยเหตุที่พระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่จะต้องจาริกโปรดสัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนแก่ประชาชนไปในที่ต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องมีที่อยู่ประจำ แม้ในฤดูฝน ชาวบ้านจึงตำหนิว่าไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอื่นๆ จนเสียหาย พระพุทธเจ้าจึงทรงวางระเบียบการจำพรรษาให้พระภิกษุอยู่ประจำที่ตลอด ๓ เดือน ในฤดูฝน
ประโยชน์ในการเข้าพรรษาของภิกษุ ๑ .  เป็นช่วงที่ชาวบ้านประกอบอาชีพทำไร่นา หากภิกษุสงฆ์เดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆ อาจไปเหยียบต้นกล้า หรือสัตว์เล็กสัตว์น้อยให้ได้รับความเสียหายล้มตาย   ๒ .  หลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา ๘  -  ๙ เดือน พระภิกษุสงฆ์จะได้หยุดพักผ่อน   ๓ .  เป็นเวลาที่พระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา   ๔ .  เพื่อจะได้มีโอกาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป   ๕ .  เพื่อให้พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตรหล่อเทียนเข้าพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา
กิจกรรมต่างๆที่ควรปฏิบัติ ♥  ร่วมกิจกรรมทำเทียนจำนำพรรษา  ♥   ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้ำฝน และจตุปัจจัย แก่ภิษุสามเณร  ♥   ร่วมทำบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล  ♥   อธิษฐาน งดเว้นอบายมุขต่างๆ
ออกพรรษา
ออกพรรษา คือวันสิ้นสุดระยะการจำพรรษา ตรงกับวันขึ้น  ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑   เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  “ วันมหาปวารณา ”   คำว่า  “  ปวารณา  ”  แปลว่า  “  อนุญาต  ”  หรือ  “  ยอมให้  ”  คือ เป็นวันที่เปิดโอกาสให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ในข้อที่ผิดพลั้งล่วงเกินระหว่างที่จำพรรษาอยู่ด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นวิธีการคอยสังวร คือ ตามระวัง ไม่ประมาท ไม่ยอมให้ความเลวร้ายเกิดขึ้นได้ในหมู่สงฆ์ คำกล่าวปวารณา     “  สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฎเฐนะ วา สุเตนะ วาปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส์มันโต อะนุกัทปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปฎิกะริสสามิ  ”  แปลว่า ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ กระผมขอปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นหรือได้ฟังก็ตาม ขอท่านทั้งหลายโปรดอนุเคราะห์ ว่ากล่าวตักเตือนกระผมด้วย เมื่อกระผมมองเห็นแล้ว จักประพฤติตัวเสียเลยใหม่ให้ดี   มีการทำบุญอันเป็นประเพณีที่นิยมกระทำกันมานานแล้วในวันออกพรรษา ซึ่งเรียกว่า  "  ตักบาตรเทโว "  หรือเรียกชื่อเต็มตามคำพระว่า  " เทโวโรหนะ "  แปลว่าการหยั่งลงจากเทวโลก หรือการตักบาตรนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  "  ตักบาตรดาวดึงส์ "  และการตักบาตรเทโวนี้ จะกระทำในวันขึ้น ๑๕ เดือน ๑๑ หรือวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑
วันอัฏฐมีบูชา
คือ วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖  เป็นวันที่ถือกันว่าตรงกับวันถวายพระเพลิง พระพุทธสรีระ  เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว ๘ วัน มัลลกษัตริย์แห่งนครกุสินารา พร้อมด้วยประชาชน และพระสงฆ์อันมีพระมหากัสสปเถระเป็นประธาน ได้พร้อมกันกระทำการถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีแห่งกรุงกุสินารา เมื่อวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๘ ซึ่งนิยมเรียกกันว่าวันอัฏฐมีนั้นเวียนมาบรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชนบางส่วน โดยเฉพาะพระสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาแห่งวัดนั้น ๆ ได้พร้อมกันประกอบพิธีบูชาขึ้น เป็นการเฉพาะภายในวัด เช่นที่ปฏิบัติกันอยู่ในวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ เป็นต้น แต่จะปฏิบัติกันมาแต่เมื่อใด ไม่พบหลักฐาน ปัจจุบันนี้ก็ยังถือปฏิบัติกันอยู่     การประกอบพิธีอัฏฐมีบูชานั้น นิยมทำกันในตอนค่ำและปฏิบัติอย่างเดียวกันกับประกอบพิธีวิสาขบูชา ต่างแต่คำบูชาเท่านั้น  อัฏฐมีบูชา
วันธรรมสวนะ
หมายถึง วันประชุมถือศีลฟังธรรมในพุทธศาสนา  (  ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม )  กำหนดเดือนทางจันทรคติละ  4  วัน ได้แก่ วันขึ้น  8  ค่ำ ,  วันขึ้น  15  ค่ำ   ( วันเพ็ญ ) ,  วันแรม  8  ค่ำ ,  วันแรม  15  ค่ำ  (  หากเดือนใดเป็นเดือนขาด ถือเอาวันแรม  14  ค่ำ )  ในวันพระ พุทธศาสนิกชนถือเป็นวันสำคัญ ควรไปวัดเพื่อทำบุญ ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ และฟังธรรม สำหรับผู้ที่เคร่งครัดในศาสนาอาจถือศีลแปดในวันพระด้วย นอกจากนี้ชาวพุทธยังถือว่าวันพระไม่ควรทำบาปใดๆ การทำบาปหรือไม่ถือศีลห้าในวันพระถือว่าเป็นบาปยิ่งในวันอื่น วันธรรมสวนะ
ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลว่านักบวชศาสนาอื่น มีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาของเขา แต่ว่าศาสนาพุทธยังไม่มีพระพุทธองค์จึงทรงอนุญาติให้ภิกษุสงฆ์ประชุมสนทนาและแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวัน ๘ ค่ำ ๑๔ ค่ำ และ ๑๕ ค่ำ              พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็น วันธรรมสวนะ  (  สำหรับวัน ธรรมสวนะนี้ เมืองไทยมีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย  ) ประวัติ
 

More Related Content

What's hot

อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
Panda Jing
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา25Sura
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์Panda Jing
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
Songsarid Ruecha
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
The Vatican
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
Panda Jing
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕Rose Banioki
 

What's hot (19)

140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๕
 

Similar to Buddha1

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
utumporn charoensuk
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์guest810ca5
 
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdfภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Similar to Buddha1 (20)

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
num28
num28num28
num28
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
วั
วัวั
วั
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdfภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Buddha1

  • 1.  
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. ย่อมาจาก “ วิสาขปุณณมีบูชา ” เป็นวันบูชาเพื่อน้อมระลึกถึงวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซึ่งเกิดขึ้นในวันและเดือนเดียวกัน คือ ในวันเพ็ญ ( ขึ้น ๑๕ ค่ำ ) เดือนหก หรือเดือนเวสาขะ องค์การสหประชาชาติได้เล็งเห็นความสำคัญของวันนี้ จึงประกาศให้เป็น “ วันสำคัญสากลโลก ” ( Vesak Day ) วันวิสาขบูชา
  • 9. อริยสัจธรรม ๔ ประกอบไปด้วย ทุกข์ ความทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก เช่น ความเกิด ความแก่ ความตาย ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ การประจวบกับสิ่งที่ไม่รัก การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวัง ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ สมุทัย เหตุแห่งทุกข์เกิดขึ้น คือ “ ตัณหา ” กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา นิโรธ ความดับทุกข์ ภาวะที่ตัณหาสิ้นไป จิตหลุดพ้นจากกิเลส เครื่องเศร้าหมองทั้งปวง นิพพาน มรรค ทางปฏิบัติถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบ ๘ ประการ เรียกว่า มัชฌิมาปฏิทา คือ เห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ กระทำชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และตั้งจิตมั่นชอบ หลักธรรม
  • 10. การจัดงานวันวิสาขบูชาในประเทศไทย ได้เริ่มกระทำมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ดังตำนาน “ อันพระนครสุโขทัยธานี ถึงวันวิสาขนักขัตฤกษ์ครั้งใด ก็สว่างไสวด้วยแสงประทีป เทียน ดอกไม้เพลิงง ... ” ในสมัยอยุธยาไม่ปรากฏหลักฐาน ส่วนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ ได้ทรงฟื้นฟูพิธีวิสาขบูชาให้เป็นแบบแผนขึ้น และกระทำสืบต่อกันมาจนปัจจุบัน ประวัติ
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 16. เข้าพรรษา “ เข้าพรรษา ” แปลว่า “ พักฝน ” หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ประจำ ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน มีกำหนด ๔เดือน เริ่มตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ประกอบไปด้วย ๑ . ปุริมพรรษา คือ พรรษาแรก หรือพรรษาต้น โดยเริ่มตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ๒ . ปัจฉิมพรรษา คือ พรรษาหลัง เริ่มตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือเพิ่มเดือน ๘ เข้ามาอีกเดือนหนึ่ง เป็นแปดสองหน ในปีนั้นให้ถือวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ หลัง เป็นวันเข้าปุริมพรรษา การที่แยกพรรษาเป็น๒ระยะ เพื่อให้พระสงฆ์ที่จำพรรษาในวันปุริมพรรษาไม่ทัน ด้วยเหตุจำเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถเลื่อนไปจำพรรษาในวันปัจฉิมพรรษา
  • 17. ประวัติ โดยเหตุที่พระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่จะต้องจาริกโปรดสัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนแก่ประชาชนไปในที่ต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องมีที่อยู่ประจำ แม้ในฤดูฝน ชาวบ้านจึงตำหนิว่าไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอื่นๆ จนเสียหาย พระพุทธเจ้าจึงทรงวางระเบียบการจำพรรษาให้พระภิกษุอยู่ประจำที่ตลอด ๓ เดือน ในฤดูฝน
  • 18. ประโยชน์ในการเข้าพรรษาของภิกษุ ๑ . เป็นช่วงที่ชาวบ้านประกอบอาชีพทำไร่นา หากภิกษุสงฆ์เดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆ อาจไปเหยียบต้นกล้า หรือสัตว์เล็กสัตว์น้อยให้ได้รับความเสียหายล้มตาย ๒ . หลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา ๘ - ๙ เดือน พระภิกษุสงฆ์จะได้หยุดพักผ่อน ๓ . เป็นเวลาที่พระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ๔ . เพื่อจะได้มีโอกาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป ๕ . เพื่อให้พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตรหล่อเทียนเข้าพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา
  • 19. กิจกรรมต่างๆที่ควรปฏิบัติ ♥ ร่วมกิจกรรมทำเทียนจำนำพรรษา ♥ ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้ำฝน และจตุปัจจัย แก่ภิษุสามเณร ♥ ร่วมทำบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล ♥ อธิษฐาน งดเว้นอบายมุขต่างๆ
  • 21. ออกพรรษา คือวันสิ้นสุดระยะการจำพรรษา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ วันมหาปวารณา ” คำว่า “ ปวารณา ” แปลว่า “ อนุญาต ” หรือ “ ยอมให้ ” คือ เป็นวันที่เปิดโอกาสให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ในข้อที่ผิดพลั้งล่วงเกินระหว่างที่จำพรรษาอยู่ด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นวิธีการคอยสังวร คือ ตามระวัง ไม่ประมาท ไม่ยอมให้ความเลวร้ายเกิดขึ้นได้ในหมู่สงฆ์ คำกล่าวปวารณา   “ สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฎเฐนะ วา สุเตนะ วาปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส์มันโต อะนุกัทปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปฎิกะริสสามิ ” แปลว่า ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ กระผมขอปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นหรือได้ฟังก็ตาม ขอท่านทั้งหลายโปรดอนุเคราะห์ ว่ากล่าวตักเตือนกระผมด้วย เมื่อกระผมมองเห็นแล้ว จักประพฤติตัวเสียเลยใหม่ให้ดี   มีการทำบุญอันเป็นประเพณีที่นิยมกระทำกันมานานแล้วในวันออกพรรษา ซึ่งเรียกว่า " ตักบาตรเทโว " หรือเรียกชื่อเต็มตามคำพระว่า " เทโวโรหนะ " แปลว่าการหยั่งลงจากเทวโลก หรือการตักบาตรนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า " ตักบาตรดาวดึงส์ " และการตักบาตรเทโวนี้ จะกระทำในวันขึ้น ๑๕ เดือน ๑๑ หรือวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑
  • 23. คือ วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ เป็นวันที่ถือกันว่าตรงกับวันถวายพระเพลิง พระพุทธสรีระ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว ๘ วัน มัลลกษัตริย์แห่งนครกุสินารา พร้อมด้วยประชาชน และพระสงฆ์อันมีพระมหากัสสปเถระเป็นประธาน ได้พร้อมกันกระทำการถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีแห่งกรุงกุสินารา เมื่อวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๘ ซึ่งนิยมเรียกกันว่าวันอัฏฐมีนั้นเวียนมาบรรจบแต่ละปี พุทธศาสนิกชนบางส่วน โดยเฉพาะพระสงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาแห่งวัดนั้น ๆ ได้พร้อมกันประกอบพิธีบูชาขึ้น เป็นการเฉพาะภายในวัด เช่นที่ปฏิบัติกันอยู่ในวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ เป็นต้น แต่จะปฏิบัติกันมาแต่เมื่อใด ไม่พบหลักฐาน ปัจจุบันนี้ก็ยังถือปฏิบัติกันอยู่   การประกอบพิธีอัฏฐมีบูชานั้น นิยมทำกันในตอนค่ำและปฏิบัติอย่างเดียวกันกับประกอบพิธีวิสาขบูชา ต่างแต่คำบูชาเท่านั้น อัฏฐมีบูชา
  • 25. หมายถึง วันประชุมถือศีลฟังธรรมในพุทธศาสนา ( ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม ) กำหนดเดือนทางจันทรคติละ 4 วัน ได้แก่ วันขึ้น 8 ค่ำ , วันขึ้น 15 ค่ำ ( วันเพ็ญ ) , วันแรม 8 ค่ำ , วันแรม 15 ค่ำ ( หากเดือนใดเป็นเดือนขาด ถือเอาวันแรม 14 ค่ำ ) ในวันพระ พุทธศาสนิกชนถือเป็นวันสำคัญ ควรไปวัดเพื่อทำบุญ ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ และฟังธรรม สำหรับผู้ที่เคร่งครัดในศาสนาอาจถือศีลแปดในวันพระด้วย นอกจากนี้ชาวพุทธยังถือว่าวันพระไม่ควรทำบาปใดๆ การทำบาปหรือไม่ถือศีลห้าในวันพระถือว่าเป็นบาปยิ่งในวันอื่น วันธรรมสวนะ
  • 26. ในสมัยพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลว่านักบวชศาสนาอื่น มีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคำสั่งสอนในศาสนาของเขา แต่ว่าศาสนาพุทธยังไม่มีพระพุทธองค์จึงทรงอนุญาติให้ภิกษุสงฆ์ประชุมสนทนาและแสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวัน ๘ ค่ำ ๑๔ ค่ำ และ ๑๕ ค่ำ            พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าวเป็น วันธรรมสวนะ ( สำหรับวัน ธรรมสวนะนี้ เมืองไทยมีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ) ประวัติ
  • 27.