SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
วิชา 000 155 พันธะทางสังคมของพลเมือง
CIVIC SOCIAL ENGAGEMENT
หน่วยที่ 1 สัปดาห์ที่ 1
ผู้เตรียมสื่อ
รศ.มณีรัตน์ ภัทรจินดา
ผศ.ดร.ปรียา หวังสมนึก
วัตถุประสงค์วิชา
1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ แนวคิด หลักการและองค์ความรู้เกี่ยวกับพันธะทางสังคมของพลเมือง วิธีการสร้างและ
การถ่ายทอดอุดมการณ์ทางสังคม (Social Ideology) ของพลเมือง
1.2 ตระหนักถึงกระบวนการพัฒนาจิตสาธารณะ (Public Mind) และจิตสานึกทางศีลธรรม (Moral
Conscientiousness) ของพลเมือง รวมถึงการมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ มีความเมตตา กรุณาต่อผู้อื่น มี
ความอ่อนน้อมถ่อมตน เข้าใจตนเองและผู้อื่น รู้จักให้ มีความกตัญญูรู้คุณต่อบุคคล สถาบันและท้อง
ถิ่นที่อาศัย
1.3 สามารถวิเคราะห์รูปแบบการพัฒนาและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมอย่างสันติวิธีตามบรรทัดฐาน (Social
Norms) และภาระรับผิดชอบทางสังคมของพลเมือง (CivicAccountability)
1.4 สามารถพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม และแก้ปัญหาเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างยุติธรรมและสันติสุข
1.5 สามารถจัดทาโครงงานพัฒนาสาธารณะอย่างมีส่วนร่วมกับหน่วยงาน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หรือองค์กรพัฒนาเอกชนและทางานเป็นทีมได้ ซึ่งหมายถึงการเป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการบริหาร
จัดการที่ดี ยอมรับและให้เกียรติในความคิดเห็นและความเป็นบุคคลของผู้อื่น กล้าแสดงความรับผิดชอบเมื่อ
มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้
1.6 สามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อจัดทารายงานและทาโครงงานรวมถึงการใช้
เทคโนโลยีในการสื่อสารและนาเสนอโครงงานได้อย่างเหมาะสม
ผู้สอน
 ................................
 คณะ.......................
(ส่วนนี้ผู้สอนปรับเองค่ะ)
แนะนาวิชา
000 155
พันธะทางสังคมของพลเมือง
3 (3-0-6)
หัวข้อและจานวนชั่วโมง
หัวข้อ จำนวนสัปดำห์ที่เรียน จำนวนชั่วโมง
1 ความเชื่อ ความศรัทธาและอุดมการณ์ทางสังคม 1 3
2 แนวคิด หลักการและองค์ความรู้เกี่ยวกับพันธะ
ทางสังคมของพลเมือง
2,3,4 9
3 วิธีการสร้างและการถ่ายทอดอุดมการณ์ทางสังคม
ของพลเมือง
5,6 6
4 กระบวนการพัฒนาจิตสาธารณะและจิตสานึก
ทางศีลธรรมของพลเมือง
7,8 6
5 รูปแบบการพัฒนาและพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
อย่างสันติวิธี
9,10,11 9
6 บรรทัดฐานและภาระรับผิดชอบทางสังคมของ
พลเมือง
12,13 6
7 การพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคมเพื่อการอยู่
ร่วมกันอย่างยุติธรรมและสันติสุข
14,15 6
แผนการประเมินผล
ที่ ลักษณะการประเมิน สัปดาห์ที่
ประเมิน
สัดส่วนคะแนน
1 โครงงาน 4,5,7,9,15 45
2 ใบงาน ทุกสัปดาห์ 5
3 รายงาน 15 5
4 การนาเสนอผลงาน 1,5,7,9,14 10
5 การประเมินตนเองและประเมินเพื่อน
(ประเมินย่อยเพื่อพัฒนาผู้เรียน)
46,11,15 10
6 การสอบปลายภาค 16 25
รวม 100
การวัดและประเมินผล
เกณฑ์การประเมินผลการให้ระดับคะแนน (เกรด) รายวิชา
ศึกษาทั่วไปของสานักวิชาศึกษาทั่วไป
ใช้อิงเกณฑ์ 85-100 = A 80-84 = B+
75-79 = B 70-74 = C+
65-69 = C 60-64 = D+
55-59 = D <=54 = F
7
กิจกรรม การเรียนการสอน : นักศึกษา
1. เข้าร่วมการเรียนการสอน ครบทุกคาบ
2. ศึกษารายละเอียดวิชา ลงตารางเวลาเรียนและกิจกรรม
3. ร่วมดาเนินกิจกรรมของกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ
4. มีการประสานงาน ผลการดาเนินโครงการร่วมกับ
อาจารย์ประจา section อย่างต่อเนื่อง
5. ดาเนินการเตรียมนาเสนอผลงานกลุ่ม
6. สรุปผลงานในรูปแบบโครงงานและชิ้นงาน
วินัยของการเรียนในวิชา 000155 พันธะทางสังคมของพลเมือง
เข้าเรียนและทากิจกรรมครบถ้วน (มีการเช็คชื่อเข้า
เรียน)
แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (กรณีแต่ง
ชุดอื่นต้องแจ้งเหตุผลที่เหมาะสม : เช็คการแต่ง
กาย)
ทากิจกรรมอย่างตั้งใจเพื่อหวังผลการเรียนรู้ที่เกิด
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม (ไม่กินแรงเพื่อน)
หน่วยที่ 1
ความเชื่อ ความศรัทธา
และอุดมการณ์ทางสังคม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ หน่วยที่ 1
1. ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิชาศึกษาทั่วไป
2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าในวิชา 000 155
3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความ
เชื่อ ความ ศรัทธาและอุดมการณ์ทางสังคม
ความคาดหวังต่อการเรียนวิชา 000 155
พันธะทางสังคมของพลเมือง
นาเสนอหน้าชั้นเรียน
ส่งใบงานให้ผู้สอน
นศ.สรุปผลการเรียนรู้ที่ 1
กิจกรรมนักศึกษา ทำใบงำนที่ 1
กลุ่มของฉัน : ในวิชา 000155
ให้นักศึกษาแบ่งออกเป็นกลุ่ม
กลุ่มละ 10 คน
ดาเนินกิจกรรม “กติกา” ใน
การอยู่ร่วมกัน ด้วยใบงานที่ 2
กติกา : ของนักศึกษา ในวิชา 000155
ผู้เรียนทุกกลุ่มนาเสนอหน้าชั้นเรียนกลุ่มละ 3-
5 นาที
นศ.นาเสนอ “กติกาของกลุ่มฉัน”
นักศึกษาทั้งชั้น ร่วมอภิปราย เสนอกติกาของ
วิชา 000155 ที่ใช้ร่วมกันทั้งห้อง
นักศึกษาสรุปผลการเรียนรู้ของกิจกรรม
รับฟังผู้สอน :
ความเชื่อ ความศรัทธาและ
อุดมการณ์ทางสังคม
(ใช้เอกสารประกอบที่1)
ความแตกต่างระหว่าง ความเชื่อ
(BELIEF) ความศรัทธา (FAITH)กับ
อุดมการณ์ (IDEOLOGY)
ความเชื่อ (BELIEF)
หมายถึง การยอมรับต่างๆ ว่าเป็นจริง มีอยู่
จริง และมีอานาจที่จะบันดาลให้เกิดผลดี
หรือผลร้ายต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
ถึงแม้ว่าสิ่งนั้นจะไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า
เป็นความจริงด้วยเหตุผล แต่เป็นที่ยอมรับ
กันในกลุ่มชนหรือสังคม
ความศรัทธา (FAITH)
คือ พลังแห่งความเชื่อมั่น ศรัทธาเป็นพลังช่วยให้ความ
อยาก ความปรารถนาประสบความสาเร็จให้ง่ายขึ้น
เป็นความเชื่อมั่นที่เพียบพร้อมไปด้วยความรู้ที่แท้จริง
 ในแต่ละความเชื่อความศรัทธาต้องผ่านการวิเคราะห์ มี
การพิสูจน์อย่างมีเหตุผล ทั้งทางจิตและกายภาพ เรียกว่า
เป็นความศรัทธาที่แท้จริง
ตัวอย่าง ความแตกต่าง ความเชื่อกับศรัทธา : บทความ
 " สมมุติว่ามีชายคนหนึ่ง กาลังจะเดินบนเชือกเส้นเดียว ระหว่าง ตึก 100 ชั้น 2 ตึก ก่อนจะเดินก็ถาม
คนที่อยู่ข้างล่าง ที่ดูอยู่ว่า ท่านเชื่อหรือไม่ว่าเราทาได้ ต่างคนก็บอกว่าเชื่อบ้างไม่เชื่อบ้าง ชายคนนั้นก็
เดินไปรอบหนึ่ง แล้วก็ถามอีกว่า คราวนี้ท่านเชื่อหรือยัง ก็ยังมีคนไม่เชื่ออีก เพราะจานวนคนดู ก็
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ปากต่อปาก จากคนที่เห็นครั้งแรก ก็บอกว่าเขาทาได้ คนที่มาดูใหม่ก็ไม่เชื่อว่าจะเป็น
จริง คราวนี้ ชายคนดังกล่าว ก็เดินไป-กลับ คนที่ดูอยู่ก็เชื่อ ว่าเขาทาได้ คนที่มาดูใหม่ก็ไม่เชื่อ ชายคน
นั้น ก็เดินไปกลับอีกทีคราวนี้ไม่ได้เดินตัวเปล่า เขาเดินพร้อมกลับถังใส่น้าอีก 2 ใบ เค้าก็เดินได้
สาเร็จ คราวนี้ทุกคนที่นั่นก็เชื่อว่าเขาทาได้ แต่เรื่องไม่จบแค่นั้น ชายคนดังกล่าว รับสมัครคนที่ดูอยู่
เชื่อว่าเขาทาได้ มาให้เขาหิ้วแทนถังน้า ปรากฏว่าไม่มีเลยแม้แต่คนเดียว" มีคนเข้าไปถาม ก็อธิบาย
ว่า คนที่ดูเหล่านั้น มีความเชื่อว่าชายคนนั้นทาได้ แต่ไม่มีความศรัทธา ว่าชายคนนั้นทาได้ ก็เลยไม่มี
คนกล้าไปให้หิ้วแทนถังน้า ”
อุดมการณ์ (IDEOLOGY)
ชัยอนันต์ สมุทรวณิช อธิบายว่า อุดมการณ์
เป็นเรื่องของความเชื่อโดยไม่จาเป็นว่าความ
เชื่อนั้นจะเป็นความเชื่อที่ถูกต้องด้วยเหตุผล
หรือสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงเสมอไป
ความเชื่อที่จะเรียกว่าเป็นอุดมการณ์นั้นจะต้อง
เป็นระบบความคิดที่มีลักษณะสาคัญดังต่อไปนี้
 ความเชื่อนั้นได้รับการยอมรับร่วมกันในกลุ่มชน
 ความเชื่อนั้นจะต้องเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสาคัญต่อกลุ่ม
ชน เข่น หลักเกณฑ์ในการดาเนินชีวิต
 ความเชื่อนั้นจะต้องเป็นความเชื่อที่คนหันเข้าหา และใช้
เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตัว และดาเนินชีวิต
อย่างสม่าเสมอและในหลายๆโอกาส
 ความเชื่อนั้นต้องมีส่วนช่วยในการยึดเหนี่ยวในกลุ่มเข้าไว้
ด้วยกัน หรือช่วยสนับสนุนหรือให้คนนามาใช้เป็นข้ออ้าง
ในการทากิจการต่างๆ ได้
IDEOLOGY
 ideology, a form of social or political philosophy in
which practical elements are as prominent as
theoretical ones. It is a system of ideas that aspires
both to explain the world and to change it.
 Generally speaking, it is a value system through which
we perceive, explain and accept the world.
 Particular categories of ideology are discussed in
socialism, communism, anarchism, fascism,
nationalism, liberalism, and conservatism.
IN MOST INSTANCES, ONE CAN REPLACE THE WORD
"BELIEVE" WITH THE WORD "THINK" OR "USE".
 For example:
 "I believeit will rain tonight."
 can transpose into:
 "I think it will rain tonight."
 "We should believe a theory as long as the evidence supports a proposition."
 can transpose into:
 "We should usea theory as long as the evidence supports a proposition."
Americans believe in liberty,
democracy, equality and civic
duty.
"Don't believe anything. Regard things on a
scale of probabilities.
The things that seem most absurd, put under
'Low Probability', and the things that seem most
plausible, you put under 'High Probability'.
Never believe anything. Once you believe
anything, you stop thinking about it."
--Robert A. Wilson
YOUR ATTITUDES AND BELIEFS
นักศึกษาทาใบงานย่อยที่ 2.1
TOP 10 THINGS YOU CAN'T PROVE
BUT
PEOPLE BELIEVE ANYWAY
 http://www.youtube.com/watch?v=inTrUtt6BUM
 1.22 นาที
 http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=2947&read=true
&count=true
ความเชื่อของคนในสังคมต่างๆ
ความเชื่อ : ตัวเลขสาคัญต่อความเชื่อหรือไม่
การเคารพในความเชื่อและทัศนคติของคนในสังคม
https://www.google.co.th/search
Faith, by definition, in some way
leads the believer beyond simple
human understanding.
ศรัทธานั้นยิ่งใหญ่กว่าความเชื่อ
เพราะศรัทธาไม่จาเป็นต้องอาศัย
เหตุผล
CRISIS OF FAITH
นักศึกษาทาใบงานย่อยที่ 2.2
วิกฤตศรัทธา
Crisis of faith (วิกฤตศรัทธา) is a term commonly applied,
especially in Western culture, to periods of intense doubt
and internal conflict about one's preconceived beliefs or
life decisions.
A crisis of faith can be contrasted to simply a period of
doubt in that a crisis of faith demands reconciliation or
reevaluation before one can continue believing in
whichever tenet is in doubt or continuing in whatever life
path is in question.
วิกฤตศรัทธา
หมายถึง ถึงจะทาดีก็ไม่มีใครเชื่อถือ
ถ้ามีการ์ตูนที่เอาพระพุทธเจ้าและพระ
เยซูมาล้อกันขาๆ จะรับได้หรือไม่
IDEOLOGY : ต้นกาเนิดและลักษณะ
 ideology, a form of social or political philosophy in
which practical elements are as prominent as
theoretical ones. It is a system of ideas that aspires
both to explain the world and to change it.
 Generally speaking, it is a value system through which
we perceive, explain and accept the world.
 Particular categories of ideology are discussed in
socialism, communism, anarchism, fascism,
nationalism, liberalism, and conservatism.
According to the
political theorist
Robert Dahl, all
individuals are
ideologues in the
sense that we all map
out our own
interpretations of what
the world is and how it
should be.
LEFT-RIGHT IN THE 20TH CENTURY
DOMINANT IDEOLOGIES
 Dominant Ideologies support the existing
social and political arrangements (e.g.
Conservatism in the United States after 9/11)
 Ideologies that dominate in a society are ones
that carry the message of the elites through the
Agents of Socialization such as:
 Governments (Political Parties, Pressure
Groups)
 The Schools
 The Media
 Families and Peer Groups
THE MAJOR COMPONENTS OF IDEOLOGIES
 The state of human nature
 The role of the individual in
society
 The role of the state
 The sources and limits of
political authority
 The preferred economic and
social order
Iranian President Mahmoud
Ahmadinejad
IDEOLOGIES: HUMAN NATURE
Are human beings born to be basically
good or basically bad (innate), or is
behavior the result of social
conditioning?
For conservatives, human behavior is
unchangeable. The role of
government is to control the
undesirable consequences of human
behavior (Thomas Hobbes)
For Liberals, humans are inherently
good. As a result, we don’t need to be
so tightly controlled by government
IDEOLOGIES: ROLE OF THE
INDIVIDUAL
 Is it the role of the individual to serve
the interests of the government, or the
role of the government to serve the
needs of the individual?
 With Communism, the welfare of the
individual is subordinate to the interests
of the state.
 For Liberals, the role of the government
is to provide the conditions for
individual freedom (e.g. Constitution
guarantees individual rights). The
rights of the individual in many cases
takes precedence over the rights of the
state (e.g. private property).
Free Trade and Economic
Liberalism
IDEOLOGIES: ROLE OF THE STATE
 In some ideologies, the state
is essentially a symbol of evil
in society (e.g. Anarchism).
Individual liberty is
threatened by the existence
of strong government control.
This is the theory of
“Absolute power corrupts
absolutely”
 Most modern ideologies (e.g.
social democracy) maintain
that a strong government
(with limits) is necessary in
order to maintain social order
and living standards (e.g.
public healthcare and
education)
What limits should be placed on individual
Freedom?
IDEOLOGIES: LIMITS ON POLITICAL
AUTHORITY
 In some ideologies (Western
democracies), political authority is
derived by the consent of the
governed (e.g. through elections).
 For fascists and Marxist-Leninists,
political authority is derived by the
will of the state or dictators.
Consensus is needed in order to
guarantee social order and progress
 For democrats, consent is needed
by the people to justify their power.
The people decide to give up their
individual power to the state. This is
also known as the concept of
political legitimacy.
What limits were placed on their power?
IDEOLOGIES: THE PREFERRED
ECONOMIC AND SOCIAL ORDER
 Ideologies have to deal with the
fundamental question of who
controls the wealth in society.
Should wealth be equally shared, or
should some individuals be allowed
to possess more wealth than
others?
 For communists, private ownership
is not allowed. They are committed
to providing an equitable distribution
of wealth
 For capitalists, people need to
compete with one another in order
to have an incentive for material
gain. Economic and social
inequities are allowed to exist
Microsoft’s
Bill Gates
Wall Street
Billionaire
Warren
Buffett
THE ORIGINS OF POLITICAL ATTITUDES
 Role of the family
 Schooling & information
 Ideology
 Job (Income)
 Race & ethnicity
 Religious tradition
 Gender
 Region
WHAT IS YOUR POLITICAL IDEOLOGY
นักศึกษาทาใบงานย่อยที่ 2.3
เคยได้ยินเพลงนี้ หรือไม่
(ร้องเพลงด้วยกัน)
(ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=WlNDydixtok)
เด็กเอ๋ย เด็กดี ต้องมีหน้าที่สิบอย่างด้วยกัน
หนึ่ง นับถือศาสนา
สอง รักษาธรรมเนียมมั่น
สาม เชื่อพ่อแม่ครูบาอาจารย์
สี่ วาจานั้น ต้องสุภาพอ่อนหวาน
ห้า ยึดมั่นกตัญญู
หก เป็นผู้รู้รักการงาน
เจ็ด ต้องศึกษาให้เชี่ยวชาญ ต้องมานะบากบั่น ไม่เกียจไม่คร้าน
แปด รู้จักออมประหยัด
เก้า ต้องซื่อสัตย์ตลอดกาล น้าใจนักกีฬากล้าหาญ จะเหมาะกับกาลสมัย
ชาติพัฒนา
สิบ ทาตนให้เป็นประโยชน์ รู้บาปบุญคุณโทษ สมบัติชาติต้องรักษา เด็ก
สมัยชาติพัฒนาจะเป็นเด็กที่พา ชาติไทยเจริญ
•หน้าที่ 10 อย่างของการเป็นเด็กดี
•ทาได้ครบถ้วน สมบูรณ์ หรือไม่
•ทาได้ง่าย !
โดยเฉพาะ : ข้อที่สิบ
ทาตนให้เป็นประโยชน์
รู้บาปบุญคุณโทษ
สมบัติชาติต้องรักษา
เด็กสมัยชาติพัฒนาจะเป็นเด็กที่พา
ชาติไทยเจริญ
ต้องเป็นบุคคลที่
มุ่งสู่การ
เป็น
พลเมืองดี
มีความ
ศรัทธา
มีความเชื่อ
มีอุดมการณ์
ทางการเมือง
จาก พรบ. 2542 : ความเป็นพลเมืองดี
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย
ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม
และวัฒนธรรมในการดารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ได้อย่างมีความสุข
การศึกษาไทยกับการพัฒนาพลเมือง
ลักษณะความเป็นพลเมืองที่พึงประสงค์ของเยาวชนไทย
การเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศเป็นเป้ าหมายสาคัญสาหรับการ
สร้างสังคมไทยในอนาคต
ผลผลิตทางการศึกษาเพื่อให้เป็นคนเก่ง ดี และมีความสุข
เป้ าหมายหลักของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้คู่
คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดี
พลเมืองของประเทศ
หากประเทศใดมีพลเมืองที่มีความรู้ ความสามารถ
มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ประเทศนั้นย่อมมีศักยภาพที่จะแข่งขันกับประเทศ
อื่นอย่างเข้มแข็ง
(ที่มา : รศ.ดร.ศักดิ์ชัย นิรัญทวี,2548)
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของความเป็นพลเมืองดีของเยาวชนไทย มี 3 มิติ
1) ด้านความรู้ความเข้าใจ ในหลักและระเบียบการปกครองประเทศและ
ท้องถิ่น สิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น การเมืองการปกครองการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม และเทคโนโลยีสมัยใหม่
2) ด้านความคิดเห็นหรือเจตคติ มีเจตคติที่ดีต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ทางการเมือง การอยู่ร่วมกันอย่างเอื้ออาทร เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทย
วิถีชีวิต ค่านิยมอย่างไทย ผดุงความเป็นชาติร่วมกับผู้อื่น
3) ด้านการปฏิบัติตน ปฏิบัติตนให้ถูกต้องสอดคล้องกับกฎหมาย กฎ
ศีลธรรม กฎกติกาของชุมชนท้องถิ่นประเทศชาติ หลักสิทธิ หน้าที่ของ
พลเมือง ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นจรรโลงความถูกต้อง ความเป็น
ระเบียบ และความดีงามของสังคม
(ที่มา : รศ.ดร.ศักดิ์ชัยนิรัญทวี,2548)
ควรมีลักษณะดังนี้
 มีความสามารถที่มองปัญหาและแก้ปัญหาได้ในฐานะของคนในสังคมโลกาภิวัฒน์
 มีความสามารถที่จะทางานร่วมกับผู้อื่น และมีความรับผิดชอบหน้าที่และบทบาทของตนเอง
 มีความสามารถที่จะเข้าใจ ยอมรับ และอดทนต่อความแตกต่างทางวัฒนธรรม
 มีความสามารถที่คิดในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ และ คิดอย่างเป็นระบบ
 มีเจตนารมณ์ที่จะแก้ปัญหาความขัดแย้งใดๆ ด้วยสันติวิธี
 มีเจตนารมณ์ที่จะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและอุปนิสัยการบริโภคให้เอื้อต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 มีความสามารถที่จะรับรู้และปกป้ องสิทธิของมนุษยชาติ สิทธิสตรีและสิทธิของชนกลุ่มน้อย
 มีเจตนารมณ์ และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองทั้งในระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับ
นานาชาติ
พลเมืองที่เหมาะกับสังคมในศตวรรษที่ 21
(ที่มา : รศ.ดร.ศักดิ์ชัยนิรัญทวี,2548)
สรุป : การพัฒนาพลเมืองดี
ควรมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ของความเป็น
พลเมืองดีของเยาวชนไทย
และพลเมืองโลก
คาถาม ?
นักศึกษา
บันทึกผลการเรียนรู้
ในใบบันทึกผลการเรียนรู้ที่ 1 , 2
ส่งผู้สอน

More Related Content

What's hot

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfssuserca71fb
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลNu Boon
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 

What's hot (20)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 

Viewers also liked

หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อโครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อKey Heart
 
การสื่อสารอย่างสันติ
การสื่อสารอย่างสันติการสื่อสารอย่างสันติ
การสื่อสารอย่างสันติkeatwimc
 
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatationบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatationKamon Kaewmanee
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยwiriya kosit
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติณรงค์ สัพโส
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
University Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляции
University Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляцииUniversity Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляции
University Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляцииAmir Abdullaev
 
Social metadata on the web
Social metadata on the webSocial metadata on the web
Social metadata on the webHendrik Dacquin
 
University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...
University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...
University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...Amir Abdullaev
 
Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16
Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16
Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16Ioannis Kevrekidis
 
How to bake reactive behavior into your Java EE applications
How to bake reactive behavior into your Java EE applicationsHow to bake reactive behavior into your Java EE applications
How to bake reactive behavior into your Java EE applicationsOndrej Mihályi
 
Presentación sobre el hiv
Presentación sobre el hivPresentación sobre el hiv
Presentación sobre el hivluzdelalba82
 

Viewers also liked (20)

หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
 
Rooms and-furniture
Rooms and-furnitureRooms and-furniture
Rooms and-furniture
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อโครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
 
การสื่อสารอย่างสันติ
การสื่อสารอย่างสันติการสื่อสารอย่างสันติ
การสื่อสารอย่างสันติ
 
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatationบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1 medatation
 
Rooms and-furniture
Rooms and-furnitureRooms and-furniture
Rooms and-furniture
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
Piracy
PiracyPiracy
Piracy
 
University Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляции
University Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляцииUniversity Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляции
University Talks #1 | Екатерина Мамонтова - Счастье не поддается инфляции
 
Social metadata on the web
Social metadata on the webSocial metadata on the web
Social metadata on the web
 
University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...
University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...
University Talks #2 | Анастасия Чекрыжова — Свежий взгляд на современное иску...
 
Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16
Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16
Ημερολόγιο Δραστηριοτήτων Π.Ο. 2015-16
 
How to bake reactive behavior into your Java EE applications
How to bake reactive behavior into your Java EE applicationsHow to bake reactive behavior into your Java EE applications
How to bake reactive behavior into your Java EE applications
 
Presentación sobre el hiv
Presentación sobre el hivPresentación sobre el hiv
Presentación sobre el hiv
 

Similar to Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนjirawat_r
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1csmithikrai
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ weeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายSomprasong friend Ka Nuamboonlue
 

Similar to Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57 (20)

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด aเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
10
1010
10
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 

Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57