SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
hool
                                                     Prim ary Sc
                                         naC ase for
                            du   catio
                   ICT for E

                                      จ ัดการศกษา
                                              ึ
                              เพื่อการ ะถมศึกษา
                  ล    รสอสาร ับเด็กปร
                    ะกา ื่
         ารสนเทศแ          สำาหร
การใช้ ส
                                       ue
                              pon Boonl
                    . Dr:Sura
         A sst.Prof          T
                   t :KMUT
         Ect : Fie
FIRST
แนวคิดด้านการจัดการเรียนรู้
   SECOND
ตัวอย่าง Application for Education




                         หากต้องการเอกสารนี้ สามารถดาวน์โหลดได้ที่

                         www.slideshare.net   surapon boomlue
เรา เรียนรู้กันได้
    อย่างไร
Birth of a Generation
ยุคต่างๆของการ
                                   เปลี่ยนแปลงของสังคม

คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม
คลื่นลูกที่ 2 คือ สังคมอุตสาหกรรม
คลื่นลูกที่ 3 คือสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศใช้
คลื่นลูกที่ 4 คือ สังคมแห่งการเรียนรู้
คลื่นลูกที่ 5 คือ สังคมแห่งปัญญา
"ทักษะแห่งอนาคตใหม่:
การเรียนรู้ในศตวรรษที่
                 21"
3R




     การเรียนรู้ใน
4C
     ศตวรรษที่ 21
3R




การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21




4C
การที่บุคคล
จะเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดในสังคมแห่งการเรียนรู้ ต้อง
  พัฒนาให้ครบทั้งกาย และใจ ประกอบด้วย 5 Q คือ




           สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546 :27)
1.กลุ่มเชื่อมโยงนิยม (S-R Theories)
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้
แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง




2.กลุ่มสนามหรือเกสทัลท์ (Field Theories/
Gestalt)
                                                                ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงค์
สภาพการณ์ทเอื้อต่อการเรียนที่มีประสิทธิภาพ
          ี่
                             4 ประการคือ
ทฤษฎีดานการจัดการศึกษา
      ้
         สามลักษณะคือ
สรุปทฤษฎีดานการจัดการศึกษา
          ้
             สามลักษณะคือ
ครูที่จะสอนแบบ เน้นผู้เรียนเป็น
              ศูนย์กลางได้ต้องมี




ศาสตราจารย์ ดร.สุมณฑา พรหมบุญ
วิธีการสอนแบบ
     “CIPPA Model”




รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี (2546 : 32-33
ลักษณะของเด็กระดับ
      ในระดับต่างๆ
O-NET 2549 –
                      2552
              คะแนนเฉลี่ย 4 ปี

ในวิชาหลัก
ในวิชาหลัก
5 วิชา
5 วิชา
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย
ภาษาไทย
ภาษาไทย
สังคมศึกษา
สังคมศึกษา
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
และภาษา
และภาษา
อังกฤษ
อังกฤษ
ตำ่ากว่า
ตำ่ากว่า
ร้อยละ 50
ร้อยละ 50
แนวคิดในการจัดการจัดการศึกษาสำาหรับเด็ก
         ไทยในอนาคต ควรมีแนวคิดดังนี้
และองค์ประกอบการจัดการศึกษาไทยใน
           อนาคต ควรจะต้องคำานึงถึง
การเรียนการสอนที่จะต้องเปลี่ยนไปเพราะ
วัตถุประสงค์ในการสอน
สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอน
องค์ประกอบของสื่อการเรียนการสอน
ข้อดีและข้อจำากัดของการใช้สอ
                           ื่
แหล่งที่มาของสื่อ ICT ที่นำาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ลักษณะการนำาสื่อ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ลักษณะการนำาสื่อ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ลักษณะการนำาสื่อ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้
การสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนการสอน
บรรณานุกรม
 สำานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน.2555. คู่มืออบรมปฏิบัติการบูรณาการใช้คอมพิวเตอร์
 พกพา (Tablet) เพื่อยกระดับการเรียนการสอน,สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 พิชญ์สินี ชมภูคา มปป.การจัดการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการเรียนรู้ตลอดชีวิต

 ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2545). เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีการสอน หน่วยที่ 10 และ 14.
 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้

 ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.(2551). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล
 พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ .

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” Surapon Boonlue
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production Surapon Boonlue
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning Surapon Boonlue
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานSurapon Boonlue
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลSurapon Boonlue
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Surapon Boonlue
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้Anucha Somabut
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
 

Viewers also liked

Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 
SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0
SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0
SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0Weera Chearanaipanit
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Adun Nanthakaew
 
SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559
SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559
SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559Weera Chearanaipanit
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพpeter dontoom
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001Thidarat Termphon
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Pisuth paiboonrat
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (14)

Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0
SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0
SME marketing 4.0 khonkaen and Thailand 4.0
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
 
SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559
SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559
SME marketing 4.0 เชียงใหม่ 16122559
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 

Similar to Ict for edu primary school surapon

รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย TabletPrachyanun Nilsook
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar to Ict for edu primary school surapon (20)

รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Info Study BUU
Info Study BUUInfo Study BUU
Info Study BUU
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tablet
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

More from Surapon Boonlue

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021Surapon Boonlue
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย ClassdojoSurapon Boonlue
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันSurapon Boonlue
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 

More from Surapon Boonlue (10)

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
 
Fischertechnik training
Fischertechnik trainingFischertechnik training
Fischertechnik training
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Hdtv surapon
Hdtv suraponHdtv surapon
Hdtv surapon
 
Answer sheet
Answer sheetAnswer sheet
Answer sheet
 
Ox game
Ox gameOx game
Ox game
 
Millionaire game
Millionaire gameMillionaire game
Millionaire game
 

Ict for edu primary school surapon

Editor's Notes

  1. Your introductory or title slide should convey the overall “feeling” and focus of your presentation. For instance, I typically present about small-business trends, new business ideas, growth opportunities or other positive trends. In this sample presentation, I’m talking about new business ideas, so I used a sun graphic in this slide template to convey a positive feeling. Personalize this slide template with your company’s logo. To add a logo to all slides, place it on the Slide Master. To access the Slide Master, on the Themes tab of the Ribbon, click Edit Master and then click Slide Master. Disclaimer:  You understand that Microsoft does not endorse or control the content provided in the following presentation. Microsoft provides this content to you for informational purposes only; it is not intended to be relied upon as business or financial advice. Microsoft does not guarantee or otherwise warrant the accuracy or validity of this information and encourages you to consult with a business or financial professional as appropriate. RIEVA LESONSKY Founder and President, GrowBiz Media   Rieva Lesonsky is founder and president of GrowBiz Media, a content and consulting company specializing in covering small businesses and entrepreneurship. A nationally known speaker and authority on entrepreneurship, Lesonsky has been covering America’s entrepreneurs for nearly 30 years. Before co-founding GrowBiz Media, Lesonsky was Editorial Director of  Entrepreneur  Magazine.
  2. I like to speak spontaneously, so I use PowerPoint as an outline to keep me on track. It’s best to keep your PowerPoint text brief, simply reinforcing key points you will talk about at more length. You can use this slide template to convey a series of steps or related points in a short format.
  3. A plain old bulleted list can get boring, so use graphics to liven it up. An image that conveys what you’re saying in visual format (like this diagram) can reinforce your ideas in the audience’s mind.
  4. 1. ยุค เบบี้บูมเมอร์ส (Baby Boomers)                 คือ กลุ่มคนที่เกิดระหว่างปี ค . ศ .1946-1964 ( พ . ศ . 2489-2507) หรือประมาณช่วงหลังสงครามโลก ครั้งที่สองเป็นต้นมา อายุประมาณ 40-60 ปี เป็นกลุ่มประชากรที่มีจำนวนมากโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ลักษณะนิสัยมักยึดมั่น ไ ม่เปลี่ยนแปลงความคิดง่ายๆ บางครั้งจึงถูกมองว่าเป็นพวกอนุรักษ์นิยม หรือไม่ ก็หัวเก่าไปเลย ให้ความสำคัญกับผลงานแม้ว่าจะต้องใช้เวลานานกว่าจะประสบความสำเร็จ บางคนมีความ ทุ่มเทกับการทำงานและองค์การมาก   2. เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ (Generation X)                  มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น  Baby Buster, Slacker เป็นกลุ่มประชากรที่เกิดระหว่างปี ค . ศ . 1965-1976 ( พ . ศ . 2508-2519) อายุประมาณปลาย 20 ถึงเฉียด 40 อุปนิสัยชอบเสี่ยง ยินดีรับการเปลี่ยนแปลง ใช้เทคโนโลยี ในการทำงานได้ดี   ให้ความสำคัญต่อสัมพันธภาพทั้งเพื่อนร่วมงานและครอบครัว   เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์บางคนมีวิถีชีวิตแบบยัปปี้ (Yuppy) ใช้จ่ายเงินเพื่อความสุขของชีวิต ซื้อหาสิ่งของที่หรูหรามากกว่าพวกเบบี้บูมเมอร์ส   3. เจนเนอเรชั่นวาย  (Generation Y)                 ชื่อที่เรียกคนเจนเนอเรชั่นนี้ ได้แก่ Y – Why, Generation Next, Echo Boom, Digital Generation   อายุระหว่าง 11-25 ปี นักวิชาการบางท่านให้ช่วงอายุของเจเนอเรชั่นวายถึง 28 ปีก็มี คือเกิดระหว่าง ค . ศ . 1977-1994 ( พ . ศ . 2520-2537) จากการรวบรวมของ Ron Zemke พบว่า เจนเนอเรชั่นอื่นมักมีมุมมองต่อภาพลักษณ์ ของเจเนอเรชั่นวาย เริ่มต้นในด้านไม่ค่อยดีเท่าไร สิ่งที่เจนเนอเรชั่นอื่นไม่ค่อยชื่นชอบเจนเนอเรชั่นวาย มักเป็น เรื่องบุคลิกภาพ การแสดงออก แต่จะยอมรับในเรื่องความสามารถด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ ลักษณะนิสัยและการแสดงออกของเจนเนอเรชั่นวาย ยังมีลักษณะ เป็นพวก Hip-Hop ต้องการทราบเหตุผลว่า “ ทำไม ” ต้องทำเช่นนั้น มีวัฒนธรรมเป็นแบบสากลมากกว่ารุ่นอื่น ติดวิดีโอเกม เชื่อมั่นในตนเองสูง บ้างก็ถูกมองว่าเป็นคนที่เอาแต่ใจตนเอง เห็นแก่ตัว เป็นพวกชอบสร้างปัญหา การสนใจเทคโนโลยีอย่างมาก ทำให้เจนเนอเรชั่นวายกลายคนที่ “ ฉลาด ” และเป็นผู้คอยแก้ปัญหา เพราะพวกเขาทราบว่าจะค้นหาข้อมูลได้จากที่ใด เวลาไหน และทำได้อย่างรวดเร็ว เจเนอเรชั่นวาย จะมีความสามารถในการทำงานหลายด้าน ที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร และสื่อหลายประเภท และยังสามารถทำงานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน
  5. คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม ใช้ความใหญ่โตกว้างขวางของพื้นที่เกษตร การดำรงชีวิตอยู่ใช้เพียงแต่ อาศัยดินฟ้าอากาศ รอฟ้าฝนและไม่เร่งรีบ พออยู่พอกิน การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบ่งปัน คลื่นลูกที่ 2 คือ สังคมอุตสาหกรรม ใช้ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรหรือทุนในยุคนี้ทำให้เกิดระบบ ทุนนิยม การใช้เครื่องจักรเข้ามาและการแบ่งหน้าที่ ทำให้เกิดความชำนาญเฉพาะด้าน เกิดการแข่งขัน และแก่งแย่งเพื่อเอาชนะกัน คลื่นลูกที่ 3 คือสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและอำนาจในการ เข้าถึง รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากข้อมูล ข่าวสาร ก่อให้เกิดประโยชน์ของตน คลื่นลูกที่ 4 คือ สังคมแห่งการเรียนรู้ ใช้ความสามารถในการครอบครองความรู้หรือข้อมูลข่าวสารที่ ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด เป็นยุคแห่งความรู้ใครมีความรู้มากกว่า ก็สามารถใช้ความรู้ในการสร้างโอกาสที่ เหนือกว่าคนอื่นได้ คลื่นลูกที่ 5 คือ สังคมแห่งปัญญา หรือ ปราชญ์สังคม ใช้ “ ปัญญาวิถี ” ในสังคมยุคนี้เป็นยุคที่ เจริญถึง ขีดสุด ข้อมูลและความรู้ไม่ใช่สิ่งสำคัญ การประยุกต์ใช้ข้อมูลและความรู้ที่มีอยู่อย่างไร นั่นเป็นประเด็น ที่สำคัญกว่า
  6. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพ ระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐรวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่าย องค์กรความร่วมมือ เพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21
  7.         หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21      ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ขึ้น สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม หรือ 3R  และ 4C ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ Reading ( การอ่าน ), การเขียน (Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์ , Communication- การสื่อสาร Collaboration- การร่วมมือ และ Creativity- ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
  8. Reading ( การอ่าน ), การเขียน (Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic)
  9. 4C ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์ , Communication- การสื่อสาร Collaboration- การร่วมมือ และ Creativity- ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
  10. วิถีการเรียนรู้ของคนไทย จากการเรียนรู้ของคนไทยที่ผ่าน มาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546 :27) ได้จัดทำ รายงาน วิถีการเรียนรู้ของคนไทย : ประมวลสาระการประชุมและรวมข้อเขียนจากนักคิด สรุปได้ว่า การที่บุคคล จะเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดในสังคมแห่งการเรียนรู้ ต้องพัฒนาให้ครบทั้งกาย และใจ ประกอบด้วย 5 Q คือ 1. เชาว์ปัญญา ( IQ: Intellectual 2. พัฒนาการด้านอารมณ์ (EQ : Emotional Quotient) 3. ความสามารถในการเผชิญปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อน (AQ : Adversity Quotient) 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (Technology Quotient) 5. คุณธรรม จริยธรรม ( MQ: Morality Quotient)
  11. 1. กลุ่มเชื่อมโยงนิยม (S-R Theories) ที่ถือว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียนได้รับสิ่งเร้า ทำการตอบสนองต่อสิ่งเร้าทาการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ? และได้รับการเสริมแรง โดยผู้สอนมีหน้าที่หาสิ่งเร้าที่เป็นตัวครูเอง ด้วยการพูดหรือบรรยายให้ผู้เรียนฟัง ผู้สอนถาม และผู้เรียนตอบ           2 . กลุ่มสนามหรือเกสทัลท์ (Field Theories/Gestalt) ซึ่งถือว่า การเรียนจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนประสบปัญหาและเห็นความจาเป็นที่จะต้องเรียน ด้วยการลงมือปฏิบัติหรือประกอบกิจกรรมการเรียน และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งทางกายภาพ จิตภาพ และทางสังคม        
  12. วิถีการเรียนรู้ของคนไทย จากการเรียนรู้ของคนไทยที่ผ่าน มาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546 :27) ได้จัดทำ รายงาน วิถีการเรียนรู้ของคนไทย : ประมวลสาระการประชุมและรวมข้อเขียนจากนักคิด สรุปได้ว่า การที่บุคคล จะเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดในสังคมแห่งการเรียนรู้ ต้องพัฒนาให้ครบทั้งกาย และใจ ประกอบด้วย 5 Q คือ 1. เชาว์ปัญญา ( IQ: Intellectual 2. พัฒนาการด้านอารมณ์ (EQ : Emotional Quotient) 3. ความสามารถในการเผชิญปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อน (AQ : Adversity Quotient) 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (Technology Quotient) 5. คุณธรรม จริยธรรม ( MQ: Morality Quotient)
  13. นอกจากการประยุกต์การเรียนการสอนในปัจจุบันนอกจากจะเน้นไปในลักษณะดังกล่าวแล้วยังมี แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่าการสร้างองค์ความรู้จากแนวคิดที่หลากหลายของนักคิดและทฤษฎีต่างๆ สามารถสรุปได้เป็น ทฤษฎีด้านการจัดการศึกษา สามลักษณะคือ   1 ทฤษฏีการสร้างความรู้ (Constructivism) เป็นทฤษฏีที่มีรากฐานจากทฤษฏีพัฒนาการทางเชาวน์ ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget) และวีก็อทสกี้ (Vygotsky) ( ทิศนา แขมมณี , 2545 : 90) กำหนดไว้มีหลัก ในการดำเนินการเรียนการสอน อยู่ 3 ประการ ( วัฒนาพร ระงับทุกข์ , 2540 : 15 – 16) คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการของการสร้างความรู้มิใช่เป็นการซึมซับหรือบรรทุกข้อมูล ที่รับเข้ามาเป็นส่วนๆ 2) การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความรู้เดิมซึ่งเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุดของการสร้างความรู้ใหม่ 3) สถานการณ์ หรือบริบทของการเรียนรู้เป็นสิ่งสาคัญของการสร้างความรู้   ซึ่งรศ . ดร . ทิศนา แขมมณี (2545 : 93 – 94) สรุปว่า การเรียนรู้ตามทฤษฎีนี้ เป็นกระบวนการ “ action on ” ไม่ใช่ “ taking on ” กล่าวคือ เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูลไม่ใช่เพียงรับข้อมูล เข้ามา กระบวนการเรียนรู้เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองและกระบวนการทางสังคมดังนั้น การสร้างความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้านสติปัญญาและสังคมควบคู่กันไป       2 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism) เป็นทฤษฏีที่มี พื้นฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ แนวความคิดของทฤษฎี คือ การเรียนรู้ที่ดี เกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผู้เรียน หากผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิด และนาความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะทำให้เห็นความคิด ที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน และเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาในโลก เป็นการหมายถึงการสร้างความรู้ขึ้น ในตนเองนั่นเอง ซึ่งจะมีคงทน ไม่ลืมง่ายและสามารถถ่ายทอด ให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดของตนได้ดี นอกนั้นความรู้ที่สร้างขึ้นเองนี้ยังจะเป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถสร้าง ความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีลักษณะเป็นบุคคลที่เรียนรู้ตลอดชีวิตต่อไป   3 ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ โดยเน้นที่ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษย์คือ การเพิ่มพูนปัญญาซึ่งเป็นขุมพลังของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และยกระดับศักยภาพให้สูงยิ่งๆ ขึ้นไป ปัญญาเกิดจากความคิดแยบคายโดยความคิดแยบคายเกิดจากความรู้พื้นฐานและการลงมือ ปฏิบัติที่มีการฝึกทักษะพื้นฐานโดยผู้ฝึกจะต้องรู้คุณค่าที่แท้จริงและมีทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องที่ฝึกดัง องค์ประกอบ 5 ประการที่นาไปสู่การเพิ่มพูนปัญญา ได้แก่ ความรู้พื้นฐาน ทักษะพื้นฐาน ความคิดแยบคาย การแสดงออกหลากหลาย คุณค่าและทัศนคติที่แท้จริง การพัฒนาปัญญา มิใช่กระบวนการที่มีขั้นตอนที่ตายตัวแต่เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกันเป็นวงจร ที่ย้อนกลับไปกลับมาได้ และแต่ละครั้งที่ลูกศรย้อนกลับไปที่จุดใดระดับความ สามารถของจุดนั้นก็จะเพิ่มสูงขึ้น โดยสรุปสาระสาคัญของทฤษฏีนี้จึงเน้นความเข้าใจองค์ประกอบแต่ละอย่างและการจัดกระบวนการให้ ครบทุกองค์ประกอบ โดยมีสมมติฐานเบื้องต้นว่า มนุษย์คือผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้มนุษย์คือผู้ฝึกได้ และต้องได้รับการฝึก
  14. จาก 3 ทฤษฏีดังกล่าว สรุปได้ว่ามีการเน้นศักยภาพของผู้เรียน ที่สามารถเรียนรู้ได้ โดยมีพื้นฐานความรู้และ เน้นการปฏิบัติให้เกิดทักษะในตนเอง เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร เมื่อเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง จะส่งผลให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต สอดคล้องกับการนาเทคโนโลยีมาใช้เป็นสื่อและเครื่องมือ ที่ช่วยให้การเรียนรู้ได้สะดวก รวดเร็วและเป็นสิ่งจำเป็นมากขึ้นต่อไปในอนาคต
  15. ศาสตราจารย์ ดร . สุมณฑา พรหมบุญ ได้ปรับปรุงแนวคิดนี้ให้เหมาะสม โดยมีสาระสาคัญดังนี้ ครูที่จะสอนแบบ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้ต้องมีความชำนาญและทักษะในด้าน 1) พิจารณาและสังเกต “ การพัฒนาของเด็ก ” (Child Development) และรู้จัก “ จริต ” ของตนเองและของผู้เรียน 2) วิธีการจูงใจผู้เรียน หรือ Motivation ( เป็นดาวยั่ว ) นั้นคือ ต้องรู้ “ ปณิธาน ” ของผู้เรียน 3) รู้วิธีที่จะเข้าหา ตีสนิทกับเด็กได้ 4) เข้าใจแนวคิดของเด็ก ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ว่าเด็กต่างๆ นั้นเรียนรู้มาอย่างไร และควรจะเรียนรู้อย่างไร สอนให้ตรง “ จริต ” และ “ ปณิธาน ” ของผู้เรียน 5) เข้าใจศีลธรรม จรรยา และขวัญกำลังใจของเด็ก 6) เรียนรู้ “ วิธีเรียน ” เช่น รู้จัก ปริยัติ คือ การอ่าน การฟัง ปฏิบัติ คือ ทำจริง เอาบทเรียนไปทำจริง ทำผิดทำถูก เมื่อลองทำดูเกิดปัญหาต่างๆ ก็นำมาถาม “ ผู้รู้ ” และปฏิเวธ คือ บรรลุธรรม หรือ กลายเป็น “ ผู้รู้ ” และครูยังรู้เรื่อง โยนิโสมนสิกา มีความคิดสร้างสรรค์ มี “ สติ ” คุม “ จิต ” ตนเองได้เป็นต้นนอกจากนี้หลักสูตร ต้องเอื้ออานวย และที่สาคัญ “ ผู้บริหาร ” ทุกระดับต้องเข้าใจการจัดการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีแนวคิดที่สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ในรูปแบบนี้อีกมากมายและมีการศึกษารูปแบบการสอนที่ หลากหลายและได้ผลดีนั่นคือวิธีการสอนแบบ “ CIPPA Model ” โดยรศ . ดร . ทิศนา แขมมณี (2546 : 32-33)  
  16. มีแนวคิดที่สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ในรูปแบบนี้อีกมากมายและมีการศึกษารูปแบบการสอนที่ หลากหลายและได้ผลดีนั่นคือวิธีการสอนแบบ “ CIPPA Model ” โดยรศ . ดร . ทิศนา แขมมณี (2546 : 32-33)   Construction of Knowledge:C เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นประสบการณ์เฉพาะตนในการสร้างความหมายของสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง Interaction : I หลักการปฏิสัมพันธ์ ตามทฤษฎี Constructivism และ Cooperative Learning เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม ที่บุคคลจะต้องอาศัยและพึ่งพากันและกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการอยู่ร่วมกัน Process Learning :P หลักการเรียนรู้กระบวนการทักษะกระบวนการเป็นเครื่องมือสาคัญในการเรียนรู้ซึ่งมีความสาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสาระ contents) ของการเรียนรู้การสอนควรให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ ใน กระบวนการ ต่างๆ เช่น กระบวนการคิดกระบวนการทำงานกระบวนการแสวงหาความรู้เพราะ เป็นสิ่งที่ผู้เรียนจำเป็นต้องใช้ตลอดชีวิต Physical Participation Involvement : P หลักการมีส่วนร่วมทางกาย การเรียนรู้ต้องอาศัยการรับรู้ การเคลื่อนไหวทางกายจะช่วยให้ ประสาทการรับรู้ “ active ” และรับรู้ได้ดีดังนั้นในการสอนจึงจาเป็นต้องมีกิจกรรมให้ผู้เรียน เคลื่อนไหวที่หลากหลาย และเหมาะสมกับวัยและความสนใจของผู้เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียน มีความพร้อมในการรับรู้และเรียนรู้ Application :A หลักการประยุกต์ใช้ความรู้ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงหรือการปฏิบัติจริงจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งขึ้นและการนาความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิตเป็นเป้าหมายสำคัญของ การจัดการศึกษาและการเรียนการสอน
  17. ลักษณะของเด็กระดับในระดับประถมศึกษา ( ป .1 – ป .6 ) แนวคิด - ยึดสังคมเป็นใหญ่ - แคร์เพื่อนๆ - นับจำนวนได้ - แยกแยะความแตกต่างได้ - คิดอย่างมีเหตุผล - คิดแก้ปัญหาในสิ่งที่ง่ายๆ - รู้ภาษา ศัพท์ต่างๆมากขึ้น - สร้างจินตนาการได้ - สร้างความคิดรวบยอดได้   ส่วนเด็กระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ( ม .1- ม .3 ) แนวคิด - กำลังเปลี่ยนระดับสติปัญญาจากขั้นความคิดเชิงรูปธรรมมาเป็นความคิดเชิงนามธรรม - คิดถึงเรื่ององค์ประกอบต่างๆเชิงนามธรรมได้ - ความน่าจะเป็นได้ - การสมมติเรื่องราว สร้างจินตนาการ และการคิดอย่างมีเหตุผลได้
  18. และจากผลทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ หรือ O-NET ของเด็กไทย ป . 6 ม . 3 และม . 6 ที่ศึกษาอยู่ในปี การศึกษา 2549 – 2552 พบว่ามีผลการเรียนเฉลี่ยอยู่ในระดับที่น่าตกใจมาก คะแนนเฉลี่ย 4 ปี ในวิชาหลัก 5 วิชา ประกอบด้วย ภาษาไทย สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ต่ำกว่าร้อยละ 50 ดังนั้นในด้านการศึกษาของนร . ในด้านวิทยาศาสตร์ จะต้องเน้น “ ต้องรู้อะไร และสามารถทำอะไรได้ ” ด้าน คณิตศาสตร์ โดยการประเมินให้ความสาคัญกับ “ ปัญหาในชีวิตจริงในสถานการณ์โลก ” ด้านการอ่าน เน้น “ การอ่านเพื่อการเรียนรู้ ” มากกว่าทักษะในการอ่านที่เกิดจากการ “ เรียนรู้เพื่อการอ่าน ”    
  19. แนวคิดในการจัด การจัดการศึกษาสำหรับเด็กไทยในอนาคต ควรมีแนวคิดดังนี้ 1 หลักการผลิตมนุษย์สมบูรณ์แบบ (Perfect Man) 2 หลักความพอเพียงในการดำเนินชีวิต (Self-Sufficiency) 3 หลักการเสริมสร้างลักษณะความเป็นไทย (Thai Uniqueness) 4 หลักการจัดสมดุลความเชื่อตามวิถีไทย (Balancing Spiritual and Materialism) 5 หลักการจัดสมดุลการดำเนินชีวิตแบบดั้งเดิมและแบบใหม่ (Balancing Traditional and Modern 6 หลักการพัฒนาเนื้อหาสาระไทย (Thai Content-Based Curriculum) 7 หลักการพัฒนาทักษะชีวิต (Developing Life Skills) 8 หลักการพัฒนาบ้านในโรงเรียน (Developing Home-in-SchoolConcept) 9 หลักการพัฒนาฐานความรู้และการจัดการความรู้ (Developing Knowledge Bases and Knowledge Management) 10 หลักการบูรณาการประเมินครบวงจร (Integrating Full Cycle Evaluation)  
  20. และองค์ประกอบการจัดการศึกษาไทยในอนาคต ควรจะต้องคำนึงถึง 1 อุดมการณ์ 2 คุณลักษณะผู้สำเร็จการศึกษาหรือบัณฑิตที่พึงประสงค์ 3 หลักสูตร 4 ระบบการเรียนการสอน 5 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 6 สภาพแวดล้อมการศึกษา 7 การประเมิน 8 การประกันคุณภาพ
  21. นอกจากนี้ เป้าหมายของการศึกษาในยุคหน้า หรือในศตวรรษที่ 21 คือการมุ่งเน้นให้คนสามารถทำงานได้ ในลักษณะการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไป จากการใช้ชีวิตโดยใช้เทคโนโลยีที่มากขึ้น ทำให้การทำงานจะต้อง เปลี่ยนไป การเรียนรู้จะเปลี่ยนไปซึ่ง หากจัดการเรียนการสอนในลักษณะเดิมจะเกิดปัญหาขึ้นเนื่องจาก โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นๆๆ และไม่แน่นอน ความรู้เปลี่ยนชุด งอกเร็ว สารสนเทศเพิ่มแบบระเบิด คนถูกกระแสรอบทิศ วัตถุมากล้น จิตวิญญาณจาง โลกถึงกันหมด คนเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน งานเปลี่ยน
  22. 1.Critical thinking & problem solving   ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา 2.Creativity & innovation   ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3.Cross-cultural understanding ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ 4.Collaboration, teamwork & leadership ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ 5.Communications, information & media literacy ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ 6.Computing & ICT literacy ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 7.Career & learning skills ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้
  23. ซึ่งการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นทฤษฎีหลักการที่กล่าวมานั้นยังเป็นเพียงแค่แนวคิดหลักการเท่านั้น การลงมือปฎิบัติความหมายของสื่อการเรียนการสอน สื่ อ ตามพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ทำการติดต่อให้ ถึงกันหรือชักนำให้รู้ จักกัน จึงได้ มีการนำเอาคำว่า สื่อ (Media) มาใช้แทนคำว่าอุปกรณ์ และเนื่องจากเน้นที่ตัวครูผู้สอนเป้นสำคัญจึงใช้คำว่า สื่อการสอน (Teaching Media) ต่อมานักการศึกษา หันมาเน้นที่ตัวนักเรียนมากกว่าครูผู้สอน จึงเกิดคำว่า สื่อการเรียน (Learning Media) และด้วยคุณลักษณะ ของสื่อที่สามารถเป้นทั้งสื่อการสอน (Teaching Media) และ สื่อการเรียน (Learning Media) จึงได้รวมคำ เป็น “ สื่อการเรียนการสอน ”
  24. ช่วยให้นรูปแบบต่าง ๆ นักเรียน เรียนรู้ได้ดีขึ้นจากประสบการณ์ที่มีความหมาย ช่วยให้นักเรียน เรียนรู้ได้มากขึ้น โดยใช้เวลาน้อย 3. ช่วยให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียน และมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างกระฉับกระเฉง 4. ช่วยส่งเสริมการคิด ความประทับใจ มั่นใจ และจดจำได้นาน 5. ช่วยส่งเสริมกระบวนการคิดและการแก้ป้ญหาในการเรียนรู้ 6. ช่วยให้สามารถแก้ป้ญหาข้อจำกัดต่าง ๆ ในการเรียนรู้ได้ 7. ช่วยลดการบรรยายของครูลง แต่ช่วยให้นักเรียนเข้าใจง่ายขึ้น 8. ช่วยลดการสูญเปล่าทางการศึกษาลง เพราะช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้ นักเรียนสอบตกน้อยลง
  25. องค์ประกอบของสื่อ องค์ประกอบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์บนระบบเครือข่ายประกอบด้วยสื่อหลายชนิด ซึ่งองค์ประกอบหลัก ประกอบด้วย 1. ข้อความและเอกสาร HTML 2. ภาพนิ่ง 3. ภาพเคลื่อนไหว 4. ภาพวีดิทัศน์ 5. สไลด์ประกอบเสียง 6. บทเรียนการสอนด้วยจอภาพ 7. แบบทดสอบ
  26. ข้อดี ของการเรียนรู้ด้วย ICT 1. ขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของนักเรียนในทุกหนทุกแห่งจากห้องเรียนปกติไปยังบ้านและที่ทำงาน ทำให้ไม่เสียเวลาในการเดินทาง 2. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้นักเรียนรอบโลกในสถานศึกษาต่าง ๆ 3. นักเรียนควบคุมการเรียนตามความต้องการ และความสามารถของตนอง 4. การสื่อสารโดยใช้อีเมล​์ กระดานข่าว ฯลฯ ทำให้การเรียนรู้มีชีวิตชีวา 5. กระตุ้นให้นักเรียนรู้จักการสื่อสารในสังคม และก่อให้เกิดการเรียนแบบร่วมมือ 6. การเรียนด้วยสื่อหลายมิติทำให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาได้ตามสะดวก 7. ข้อมูลของหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาสามารถหาได้โดยง่าย 8. ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต 9. การสอนผ่านเว็บไซด์เป็นวิธีที่ดีเยี่ยมในการให้นักเรียนได้ประสบการณ์ตรง   ข้อจำกัด ของการเรียนรู้ด้วย ICT 1. การออกแบบบทเรียนด้านการศึกษายังมีน้อย เมื่อเทียบกับการออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในวงการ อื่น ๆ ทำให้บทเรียนด้านการศึกษามีจำนวนและขอบเขตจำกัดที่จะนำมาใช้เรียนในสาระต่าง ๆ 2. การที่จะให้ครูเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนหรือสร้างสื่อฯ เองนั้น นับว่าเป็นงานที่ต้องอาศัย เวลา สติปัญญาและความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทำให้เป็นการเพิ่มภาระของครูให้มีมากยิ่งขึ้น 3. ไม่สามารถช่วยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนได้ 4. นักเรียนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่เป็นผู้ใหญ่ อาจจะไม่ชอบโปรแกรมที่เรียงตามขั้นตอน ทำให้เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ได้  
  27. แหล่งที่มาของสื่อ ICT ที่นำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ 1. สื่อ ICT ที่ครูไม่ต้องผลิตเอง กรณีนี้ครูผู้สอนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถในการผลิตสื่อ ICT แต่ต้องมีความสามารถใน การใช้สื่อ ICT ได้แก่ 1.1 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีขายตามท้องตลาดที่จัดซื้อโดยใช้เงินงบประมาณ และนอกงบประมาณ หรืองบประมาณส่วนตัว 1.2 สื่อที่มีบริการบนอินเทอร์เน็ตที่มีทั้งเว็บไซต์ของหน่วยงาน ส่วนราชการสถานศึกษา และ ส่วนบุคคล 1.3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้รับจัดสรรจากหน่วยงานต้นสังกัด 1.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ครูคนอื่นผลิตและครูยืมมาใช้ 1.5 สื่อ ICT ที่ครูอื่นร่วมกับนักเรียนผลิตและครูยืมมาใช้ 1.6 สื่อ ICT ที่นักเรียนผลิต ที่ได้จากการเรียนรู้ในวิชาอื่น ๆ หรือและจาก โปรแกรมทดลอง หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่ให้ใช้ได้อย่างอิสระ   2. สื่อ ICT ที่ครูเป็นผู้ผลิตและใช้เอง กรณีนี้ครูต้องมีความสามารถในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์และสามารถผลิตสื่อได้ด้วยตนเอง โดยครูจะเป์นทั้งนักเทคนิค นักออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านเนื้อหา ทำการผลิตตามวัตถุประสงค์และความต้องการของตนเอง 3. สื่อ ICT ที่ครูสอนให้นักเรียนผลิต เป็นสื่อที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ ที่ครูได้มอบหมายให้นักเรียน ได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้แล้วนำมาจัดทำเป็นรายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบในการ จัดการเรียนการสอนและประเมินผลในวิชาต่าง ๆ ซึ่งอาจนำมารวบรวมเป็นหมวดหมู่ เพื่อไว้ให้บริการแก่นักเรียน หรือครูท่านอื่น สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับเนื้อหาสาระของตนเองได้ 4. สื่อ ICT ที่ครูและนักเรียนรวมกันผลิต กรณีนี้อาจเกิดจากการที่สถานศึกษาหรือกลุมสาระจัดกิจกรรมหรือวางแผนการจัดการเรียนการสอน ไวลวงหนาโดยครูตางกลุมสาระรวมมือออกแบบการสอนและทำการวัดผลรวมกัน แลวนักเรียนผลิตชิ้นงาน ตามความสนใจดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรโดยมีครูที่มีความสามารถดานคอมพิวเตอรสอนนักเรียนให สามารถ ใชโปรแกรมในการผลิตสื่อ และครูผูสอนที่มีความรูเนื้อหาเฉพาะที่ตรงกับความสนใจของนักเรียน เปนผูเชี่ยวชาญ คอยตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหาวิชา ใหนักเรียนเปนผูทำการผลิตหรือใหนักเรียน ที่มีความสามารถในการใช โปรแกรมรวมมือกับครูที่มีความสามารถเชิงเนื้อหาผลิตสื่อใหตรงกับ วัตถุประสงค และความตองการของครูผูสอน ในแตละวิชา 5. สื่อ ICT ที่ครูร่วมกันผลิตในลักษณะเครือข่ายภายในและภายนอกสถานศึกษา หรือภายใน กลุ่มสาระ , ต่างกลุ่มสาระ , ต่างสถานศึกษา ลักษณะนี้เป็นการร่วมมือของครูผู้สอนเอง ที่ทำการรวม กลุ่มกันเรียนรู้ วิธีการผลิตสื่อและผลิตสื่อด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม และนำสื่อเหล่านั้นไปเผยแพร่หรือใช้งานร่วมกัน ซึ่งเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย แต่ได้สื่อที่ถูกต้องตรงกับความต้องการของครูผู้สอน
  28. ลักษณะการนำสื่อ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้   1. สอนโดยใช้ ICT เป็นเครื่องมือประกอบการเรียนรู้ในกรณีนี้ครูจะนำสื่อ ICT ถ่ายทอดเนื้อหา สาระ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือ ประกอบการสอน ในรายวิชาต่าง ๆโดยให้นักเรียนได้ศึกษา หาความรู้สร้างองค์ความรู้ และเรียนรู้องค์ความรู้ต่าง ๆ ผ่านสื่อ ICT ที่ครูผลิตขึ้นเอง นักเรียนผลิต ครูและนักเรียนร่วมกันผลิต หรือนำเอาสื่อ ICT ที่มีอยู่โดยทั่วไปที่ได้ จากการสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต การจัดซื้อจัดหามาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนของตนเอง อีกทั้ง หมายความถึงการที่ครูได้นำสื่อ ICT ที่ได้จากการรวบรวมสื่อ ICT รูปแบบต่าง ๆ มาออกแบบระบบการจัด การเรียนรู้ใหม่อย่างเป็นขั้นตอนแล้วให้นักเรียนเข้าไปศึกษาหาความรู้ และทำการวัดประเมินผล ทั้งในลักษณะ ระบบออนไลน์หรือระบบออฟไลน์ ดังต่อไปนี้ 1.1 สอนโดยนำสื่อ ICT มาถ่ายทอดองค์ความรู้และสาระเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ประกอบการสอนใน แต่ละรายวิชา ในลักษณะ ต่าง ๆ เช่น การนำเสนอเนื้อหาผ่านโปรแกรมนำเสนอ (Presentation) สื่อวีดิทัศน์ (VDO) สื่อ Electronics อื่น ๆ เช่น e-Book, LO (Learning Objects), บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), Courseware รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบใหม่อื่น ๆ แล้วแต่จะเรียก เป็นต้น ลักษณะสื่อ ICT ในปัจจุบัน ควรมีลักษณะของแฟ้มข้อมูล (File) ที่มีขนาดเล็ก ซึ่งสามารถออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และเข้าถึงสื่อ ได้อย่างรวดเร็ว 1.2 นำสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากการผลิต การสืบค้น หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ e-Learning Courseware ด้วยระบบการจัดการ LMS (Learning Management System) ผ่านระบบเครือข่าย ในลักษณะนี้ ครูอาจออกแบบให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการวัด และประเมินผล การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชานั้น ๆ โดยไม่ได้พบปะกับครูผู้สอนหรืออาจมาพบปะเป็นครั้งคราวก็ได้ หากนักเรียนเกิดมีป็ญหาในการเรียนอาจใช้ กระดานข่าว (Web board), Twitter, Hi5, Facebook, e-Mail, โทรศัพท์เป็นช่องทางในการติดต่อเพื่อสอบถามและแก้ไขปัญหากับครูผู้สอน 1.3 ครูผู้สอนนำ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน เช่น นำ ICT มาช่วย ในการทำเอกสาร บัตรงาน ใบความรู้ โดยการค้นหาแหล่งเรียนรู้และข้อมูล จาก Internet เป็นต้น 2. ครูให้นักเรียนเรียนรู้การใช้ ICT และการติดต่อสื่อสารด้วย ICT โดยตรง ครูสอนโดยครูนำเอา ICT เป็นสื่อที่จะให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยตรง ได้แก่ 2.1 สอนให้นักเรียนใช้ ICT โดยตรง มักจะปรากฏในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และ วิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งครูสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ในกรณีนี้ครูจะต้องทำการวิเคราะห์หลักสูตรจัดสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการใช้โปรแกรม ต่าง ๆ จนสามารถใช้งานและผลิตผลงานจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ซึ่งครูอาจออกแบบการวัด ประเมินผลจาก การสร้างผลงานของนักเรียนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานตามแนวคิด และวิธีการของตนเอง อย่างอิสระ แล้วสร้างชิ้นงานของตนเองในลักษณะสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ โดยครูเป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ และ ทำการประเมินในลักษณะผลงานนักเรียน เป็นงานเดี่ยว งานกลุ่ม หรือแม้กระทั่งประเมินผลร่วมกันกับครูท่านอื่น มีการออกแบบการวัดประเมินผลร่วมกันในลักษณะ บูรณาการ ระหว่าง ครูสอนเทคโนโลยี กับครูสอนสาระอื่นโดยให้นักเรียนได้มีโอกาสสร้างชิ้นงานจาก สิ่งที่ตนสนใจ และนำไปปรึกษาครูในเนื้อสาระนั้น ๆ ในกรณีนี้ครูควรมี การวางแผนในการประเมินผล และสร้างข้อตกลงร่วมกันกับครูท่านอื่น ผลงานอาจจัดทำในลักษณะที่ซับซ้อนน้อย ในระดับพื้นฐานไปจนถึง ระดับสูง ได้แก่ การจัดทำรายงานด้วยโปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และการสร้างผลงานด้วยโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) Webpage รายการโทรทัศน์ Animations, CAI, WBI เป็นต้น 2.2 สอนให้นักเรียนสามารถใช้เครื่องมือในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต แล้วครูนำมาใช้ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ และติดต่อกับนักเรียน ได้แก่การสืบค้นข้อมูล Search Engine, e-Mail, Hi5, Facebook, Blogker เป็นต้น 2.3 สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ แต่มีการประเมินผลงานด้าน ICT ซึ่งนักเรียนมี ความสามารถในการใช้งานสื่อ ICT จากการเรียนในวิชาคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การจัดกิจกรรมรายวิชา วิทยาศาสตร์ให้นักเรียนค้นหาประวัตินักวิทยาศาสตร์ จากอินเทอร์เน็ตและทำการประเมินผล ด้วยการให้นักเรียนจัดทำรายงาน ด้วยโปรแกรมจัดทำเอกสารสำนักงานต่าง ๆ นำเสนอเนื้อหาผ่าน โปรแกรม Presentation ต่าง ๆ หรือจัดทำเป็น Animation, e-Book, VDO, Webpage หรือรูปแบบอื่น ๆ ครูก็ประเมินผลการดำเนินงานตามสาระ เนื้อหาและ ข้อมูลที่นักเรียนได้นำเสนอ เป็นต้น
  29. ลักษณะการนำสื่อ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้   1. สอนโดยใช้ ICT เป็นเครื่องมือประกอบการเรียนรู้ในกรณีนี้ครูจะนำสื่อ ICT ถ่ายทอดเนื้อหา สาระ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือ ประกอบการสอน ในรายวิชาต่าง ๆโดยให้นักเรียนได้ศึกษา หาความรู้สร้างองค์ความรู้ และเรียนรู้องค์ความรู้ต่าง ๆ ผ่านสื่อ ICT ที่ครูผลิตขึ้นเอง นักเรียนผลิต ครูและนักเรียนร่วมกันผลิต หรือนำเอาสื่อ ICT ที่มีอยู่โดยทั่วไปที่ได้ จากการสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต การจัดซื้อจัดหามาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนของตนเอง อีกทั้ง หมายความถึงการที่ครูได้นำสื่อ ICT ที่ได้จากการรวบรวมสื่อ ICT รูปแบบต่าง ๆ มาออกแบบระบบการจัด การเรียนรู้ใหม่อย่างเป็นขั้นตอนแล้วให้นักเรียนเข้าไปศึกษาหาความรู้ และทำการวัดประเมินผล ทั้งในลักษณะ ระบบออนไลน์หรือระบบออฟไลน์ ดังต่อไปนี้ 1.1 สอนโดยนำสื่อ ICT มาถ่ายทอดองค์ความรู้และสาระเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ประกอบการสอนใน แต่ละรายวิชา ในลักษณะ ต่าง ๆ เช่น การนำเสนอเนื้อหาผ่านโปรแกรมนำเสนอ (Presentation) สื่อวีดิทัศน์ (VDO) สื่อ Electronics อื่น ๆ เช่น e-Book, LO (Learning Objects), บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), Courseware รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบใหม่อื่น ๆ แล้วแต่จะเรียก เป็นต้น ลักษณะสื่อ ICT ในปัจจุบัน ควรมีลักษณะของแฟ้มข้อมูล (File) ที่มีขนาดเล็ก ซึ่งสามารถออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และเข้าถึงสื่อ ได้อย่างรวดเร็ว 1.2 นำสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากการผลิต การสืบค้น หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ e-Learning Courseware ด้วยระบบการจัดการ LMS (Learning Management System) ผ่านระบบเครือข่าย ในลักษณะนี้ ครูอาจออกแบบให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการวัด และประเมินผล การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชานั้น ๆ โดยไม่ได้พบปะกับครูผู้สอนหรืออาจมาพบปะเป็นครั้งคราวก็ได้ หากนักเรียนเกิดมีป็ญหาในการเรียนอาจใช้ กระดานข่าว (Web board), Twitter, Hi5, Facebook, e-Mail, โทรศัพท์เป็นช่องทางในการติดต่อเพื่อสอบถามและแก้ไขปัญหากับครูผู้สอน 1.3 ครูผู้สอนนำ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน เช่น นำ ICT มาช่วย ในการทำเอกสาร บัตรงาน ใบความรู้ โดยการค้นหาแหล่งเรียนรู้และข้อมูล จาก Internet เป็นต้น
  30. ลักษณะการนำสื่อ ICT ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้   2. ครูให้นักเรียนเรียนรู้การใช้ ICT และการติดต่อสื่อสารด้วย ICT โดยตรง ครูสอนโดยครูนำเอา ICT เป็นสื่อที่จะให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยตรง ได้แก่ 2.1 สอนให้นักเรียนใช้ ICT โดยตรง มักจะปรากฏในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และ วิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งครูสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ในกรณีนี้ครูจะต้องทำการวิเคราะห์หลักสูตรจัดสาระและกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการใช้โปรแกรม ต่าง ๆ จนสามารถใช้งานและผลิตผลงานจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ซึ่งครูอาจออกแบบการวัด ประเมินผลจาก การสร้างผลงานของนักเรียนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานตามแนวคิด และวิธีการของตนเอง อย่างอิสระ แล้วสร้างชิ้นงานของตนเองในลักษณะสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ โดยครูเป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ และ ทำการประเมินในลักษณะผลงานนักเรียน เป็นงานเดี่ยว งานกลุ่ม หรือแม้กระทั่งประเมินผลร่วมกันกับครูท่านอื่น มีการออกแบบการวัดประเมินผลร่วมกันในลักษณะ บูรณาการ ระหว่าง ครูสอนเทคโนโลยี กับครูสอนสาระอื่นโดยให้นักเรียนได้มีโอกาสสร้างชิ้นงานจาก สิ่งที่ตนสนใจ และนำไปปรึกษาครูในเนื้อสาระนั้น ๆ ในกรณีนี้ครูควรมี การวางแผนในการประเมินผล และสร้างข้อตกลงร่วมกันกับครูท่านอื่น ผลงานอาจจัดทำในลักษณะที่ซับซ้อนน้อย ในระดับพื้นฐานไปจนถึง ระดับสูง ได้แก่ การจัดทำรายงานด้วยโปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมตารางคำนวณ โปรแกรมฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และการสร้างผลงานด้วยโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) Webpage รายการโทรทัศน์ Animations, CAI, WBI เป็นต้น 2.2 สอนให้นักเรียนสามารถใช้เครื่องมือในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต แล้วครูนำมาใช้ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ และติดต่อกับนักเรียน ได้แก่การสืบค้นข้อมูล Search Engine, e-Mail, Hi5, Facebook, Blogker เป็นต้น 2.3 สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ แต่มีการประเมินผลงานด้าน ICT ซึ่งนักเรียนมี ความสามารถในการใช้งานสื่อ ICT จากการเรียนในวิชาคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การจัดกิจกรรมรายวิชา วิทยาศาสตร์ให้นักเรียนค้นหาประวัตินักวิทยาศาสตร์ จากอินเทอร์เน็ตและทำการประเมินผล ด้วยการให้นักเรียนจัดทำรายงาน ด้วยโปรแกรมจัดทำเอกสารสำนักงานต่าง ๆ นำเสนอเนื้อหาผ่าน โปรแกรม Presentation ต่าง ๆ หรือจัดทำเป็น Animation, e-Book, VDO, Webpage หรือรูปแบบอื่น ๆ ครูก็ประเมินผลการดำเนินงานตามสาระ เนื้อหาและ ข้อมูลที่นักเรียนได้นำเสนอ เป็นต้น
  31. การประยุกต์ใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้ ใช้นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูผู้สอนอาจนำภาพดิจิทัล (Digital) VDO หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใด ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอนมาให้นักเรียนดูและสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับชม เพื่อกระตุ้นความสนใจให้กับนักเรียนโดยไม่จำเป็น ต้องให้นักเรียนดูทั้งหมดของเรื่องที่นำมาเสนอ เร้าความสนใจในบทเรียนของนักเรียน เนื่องจากคุณสมบัติพิเศษ ของสื่อ ICT ที่เป็นมัลติมีเดีย ที่แสดงข้อมูลได้ทั้งภาพและเสียง การแสดงข้อมูลในลักษณะเสมือนจริง สามารถ ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนอาจออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยอาศัยการจัดการในระบบ LMS โดยอาศัย Software ให้นักเรียนเลือกศึกษาความรู้จากการออกแบบของครูผู้สอน ให้นักเรียนได้เลือกเรียนรู้ได้ตลอดเวลา โดยอาศัยสื่อ อื่นประกอบ เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), e-Book, LO, Courseware, VDO ครูจะต้องออกแบบการ จัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้า และพิจารณาเนื้อหาที่สอนมาให้นักเรียนศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเอง หรือเลือกสื่อ ที่ให้นักเรียนเรียนรู้จากสื่อโดยตรง 3. ใช้ขยายความรู้ ในขั้นตอนนี้ครูผู้สอนต้องพิจารณาความรู้ความสามารถด้าน ICT ของนักเรียนมา เป็นแนวทางในการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ เช่น - ค้นหาความรู้จากอินเทอร์เน็ต โดยใช้ Search Engine เช่น ค้นหาข้อมูลเนื้อหา รูปภาพ แผนที่ จาก Google ค้นเรื่องราวข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องจาก YouTube ในลักษณะรายการโทรทัศน์ - นำความรู้ที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เป็นความรู้ของตนเอง และจัดทำเป็นเอกสารด้วย โปรแกรมจัดทำเอกสาร ส่ง e-Mail ให้ครู - สร้างเป็น e-Book, Webpage หรือรายการโทรทัศน์ - ให้นักเรียนทำ ปฏิทิน คำนวณหาคำตอบทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมตารางคำนวณ - ทำบัตรอวยพร บัตรเชิญ ด้วยโปรแกรมวาดภาพ โปรแกรมนำเสนอ เป็นต้น - เปิดกระดานสนทนา (Web board) ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน - สร้างเป็นกลุ่มสนใจ เช่น Web Blog, Social Network ขยายความรู้ในกลุ่มด้วย hi5, facebook, twitter 4. ใช้สรุปเนื้อหาการสรุปเนื้อหาเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่ครูจะใช้ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้าย ของการจัดการเรียนการสอน ในแต่ละครั้ง หรือแต่ละชั่วโมง ครูอาจออกแบบนำ ICT มาให้นักเรียนทำการสรุปในลักษณะต่าง ๆ เช่น - ให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ มานำเสนอและจัดทำด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ - นำสื่อประเภท LO เกม เพลง ที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือ VDO มาให้นักเรียน ทำกิจกรรมเพื่อทบทวนความรู้และสรุปความรู้ - ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้และการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การปฎิรูปการสื่อสาร
  32. การนำสื่อการสอนมาประยุกต์ใช้อาจทำได้ในหลายลักษณะการนำมาใช้ในห้องเรียนจำเป็นที่จะต้องมี การสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนการสอน ดังนี้ 1. การเตรียมสถานที่ 2. การเตรียมสื่อ 3. การเตรียมการสอน 4. การเตรียมการวัดและประเมินผล   1. การเตรียมสถานที่ ห้องเรียนควรประกอบด้วย เครื่องฉาย เป็น อุปกรณ์ในการนำเสนอข้อมูล การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ทำได้หลายรูปแบบ และหลาย อุปกรณ์เช่น สายต่อสัญญาณแบบ VGA,HDMI,DVI, ซึ่งลักษณะการต่อสายแบบนี้ เป็นการต่อสายแบบ นำภาพวีดิทัศน์ไปยังจอฉายโดยตรง การจัดห้องเรียนให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน ห้องเรียนควรปรับให้ใช้การเรียนการสอน ในลักษณะการเรียนแบบร่วมมือ การทำกิจกรรมกลุ่มและการศึกษาค้นคว้าร่วมกันได้ การสื่อสาร การเรียนในลักษณะนี้จำเป็นที่จะต้องมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้โดย สามารถใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยง เนื้อหา การทำกิจกรรมร่วมกัน และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การเตรียมสถานที่ นอกจากในเรื่องของสิ่งต่างๆแล้ว การนำสื่อด้านเทคโนโลยีมาใช้ ก็ควรต้องเตรียมอุปกรณ์ ต่างๆเพื่อใช้กับเทคโนโลยี เช่นปลักไฟฟ้า การเตรียมการเชื่อมต่อเพื่อนำ เสนอข้อมูล   2. การเตรียมสื่อ การนำสื่อการสอนมาใช้ สามารถทำได้หลายลักษณะ ทั้งการใช้นำเข้าสู่เนื้อหา การนำเสนอเนื้อหา การขยายเนื้อ และการสรุปเนื้อหา ซึ่งสื่อที่นำมาใช้สามารถทำได้หลายลักษณะเช่น ซื้อ ขอสำเนาหรือโหลดมาจากเว็บไซต์ แต่สื่อที่ตรงต่อการสอน และมีเนื้อหาที่เหมาะสม สิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้ ก็เนื่องจากผู้สอนจะต้องสร้างสื่อหรือพัฒนาขึ้นมา ในการสร้างสื่อเพื่อใช้ในการเรียนการสอนใน คอมพิวเตอร์พกพา ทั้งสองระบบปฎิบัติการ ไม่ว่าจะเป็น i-OS เช่น ไอแพด ไอโฟน หรือไอพอด และการใช้ในระบบปฎิบัติการ แอนดรอยด์ ที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการนำมาใช้กับการเรียนการสอน ซื่งมีสื่อในการเรียนการสอนอยู่มากมายหลายรูปแบบ และหลายวิธีการสอน นอกจากนี้ การสร้างสื่อด้วยเครื่องมือที่ผู้สอนมี ไม่ใช่เรื่องยากเพราะคอมพิวเตอร์พกพานี้ ไม่จำเป็นจะต้องเป็นการสร้าง แอพพริเคชั่นเพื่อใช้งาน อาจสร้างเพียงแค่เนื้อหาที่อยู่ในรูปแบบ ภาพนิ่ง หรือไฟล์ PDF ได้จากโปรแกรม MS-Office ได้ นอกจากนี้หากมีความชำนาญหรือต้องการสร้างในลักษณะที่ต้องการมี ปฎิสัมพันธ์อาจทำได้ในลักษณะที่สูงชึ้นกว่านี้ โปรแกรมที่ใช้สร้างได้แก่ โปรแกรมตระกูล Adobe เช่น Adobe Flash สามารถสร้างงานและเปลี่ยนเป็นไฟล์ประเภท . APK ซึ่งเป็นแอพพริเคชั่นใน แทบเล็ตประเภท แอนดรอยได้ หรือการสร้างสื่อในลักษณะ e-Book ซึ่งผู้สอนสามารถ สร้างโดยใช้โปรแกรม Adobe Indesign ได้ นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมอื่นๆที่สามารถสร้างงานประเภทนี้ ได้อีกมากมาย ผู้สร้างงานลักษณะนี้ควรจะศึกษาจากผลงานที่สร้างมา หรือสอบถามผู้รู้หรือค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตได้ไม่ยาก   3. การเตรียมการสอน นับได้ว่าเป็นกระบวนการอีกขั้นที่มีความสำคัญมากต่อการสอน เพราะการเตรียมการสอนที่ดี ย่อมทำให้งานสำเร็จ โดยปราศจากอุปสรรค และปัญหาต่างๆ การเตรียมการสอนอาจทำได้ในรูปแบบ ของการจัดทำแผนการสอน ซึ่งประกอบไปด้วย การวิเคราะห์ปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลลัพท์ ของการจัดการเรียนการสอน การเขียนแผนการสอนที่ดี จะต้องเกิดขึ้นจากผู้สอนโดยเป็นการเตรียม การจัดการเรียนการสอน   4. การเตรียมการวัดและประเมินผล เป็นขั้นตอนสุดท้ายซึ่งจะใช้ประเมินขั้นตอนกระบวน การทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในขั้นนี้การเตรียมการวัดผลสามารถทำได้หลายรูปแบบ และหลายวิธีการวัดและ ประเมินผล การวัดอาจวัดได้ทั้งกิจกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอน และการวัดหลังจากที่เกิด กิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว การวัดประเมินผลเครื่องมือที่ใช้ในการวัดประเมินผลย่อมมีความสำคัญ อย่างยิ่ง เครื่องมือวัดที่ดี ที่ถูกต้องและมีความเที่ยงตรงทำให้วัดผลได้อย่างถูกต้องชัดเจน การเตรียมเครื่อง มือที่ใช้ในการวัดประเมินผล ทำได้โดยการวิเคราะห์ผลที่ต้องการได้ และเครื่องมือที่สร้างขึ้นจะต้องผ่านการ ประเมินมาอย่างถูกต้องแล้ว
  33. บรรณานุกรม สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน .2555. คู่มืออบรมปฏิบัติการบูรณาการใช้คอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) เพื่อยกระดับการเรียนการสอน , สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิชญ์สินี ชมภูคา มปป . การจัดการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ชัยยงค์ พรหมวงศ์ . (2545). เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีการสอน หน่วยที่ 10 และ 14. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทิศนา แขมมณี . (2545). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ .(2551). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ . ศ .2551. กรุงเทพฯ .