SlideShare a Scribd company logo
ขั้นตอนในการเขียนบท
1. การตั้งชื่อเรื่อง
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
4. การเขียนความจบ
1. การตั้งชื่อเรื่อง
ชื่อเรื่องเป็นองค์ประกอบทีสาคัญ เพราะเป็นส่วนแรกทีเห็นและอยากให้
                          ่                       ่
ชวนติดตาม หากชื่อเรื่องไม่เด่นก็จะไม่น่าสนใจ

ผู้เขียนต้องเข้าเกี่ยวกับงานของตนเอง กลุ่มเป้าหมาย ระดับการศึกษา
ความสนใจโดยละเอียด ตลอดจนลักษณะชื่อเรื่องที่ได้รบความนิยมในสื่อ
                                                    ั
แต่ละประเภท (มาลี บุญศิรพันธ์, 2535)
                            ิ
1. การตั้งชื่อเรื่อง
แนวทางการตังชื่อเรื่อง (สมพร มันตะสูตร, 2525)
               ้
1. ชื่อเรื่องต้องสั้น ใช้ถ้อยคาง่ายๆ ตรงไปตรงมา
2. อาจใช้คากริยาแสดงอาการมาตั้งชื่อเรื่อง
3. อาจใช้คาคม หรือสุภาษิต
4. อาจใช้คาที่มีความหมายตรงกันข้าม
5. อาจใช้คาคล้องจองกันเป็นชื่อเรื่อง
1. การตั้งชื่อเรื่อง
รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553)
    • ตั้งชื่อเป็นประโยคบอกเล่าตรงไปตรงมา
      - สงกรานต์เมืองเหนือ
      - ความจริงใจของผู้ชายชื่อ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
      - บันทึก 25 ปี เหตุการณ์ 14 ตุลา
1. การตั้งชื่อเรื่อง
รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553)
    • ตั้งชื่อแบบเล่นสานวนเล่นคา
      - อุ่นรัก อุ่นธรรมในสงกรานต์ไทยใหญ่
      - ลิเก...ศิลปะติดดินศิลปินชาวบ้าน
      - นกเอี้ยงเอยมาเลี้ยงควายเฒ่า
1. การตั้งชื่อเรื่อง
รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553)
    • ตั้งชื่อแบบเรื่องสันและนวนิยาย
                         ้
      - ตะวันดับในเงาจันทร์
      - ปรารถนาสุดท้ายในโลกพิการ
      - หยุดเวลาไว้ที่โบดี
1. การตั้งชื่อเรื่อง
รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553)
    • ตั้งชื่อโดยใช้กลุ่มคาหรือวลีที่บอกเนื้อหานามาเรียงต่อกัน
      - ดอกไม้ สายน้า ความดี บนเส้นทาง
      - มลาบรี คนเถื่อน ชาวไร่หรือผู้อารยะ
      - โคลนนิ่ง, อานันท์, ไอน์สไตน์ และ..ไดโนเสาร์
1. การตั้งชื่อเรื่อง
รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553)
    • ตั้งชื่อโดยใช้ประโยคหลักนาหน้า ตามด้วยข้อความทีเป็นส่วนขยาย
                                                       ่
      - ซ่อง: นรกบนดิน
      -หมอเสน่ห:์ ทางออกของความป่วยใจในสังคมเมือง
      - ไทยบ้านโพน แม่หญิงต่าหูก
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนา มีหน้าที่สร้างความสนใจแก่คนอ่านและดึงดูดให้ผู้อ่านติดตาม
เรื่องราวแต่ต้นจนจบ
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาแบบพรรณา
   การเล่าให้นึกเห็นภาพอันใดอันหนึ่ง ครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
      - รูปร่างลักษณะของสิ่งต่างๆ
      - สิ่งที่สัมผัสได้ทางหู
      - สิ่งที่สัมผัสได้ทางจมูก
      - สิ่งที่สัมผัสได้ทางลิ้น
      - สิ่งที่สัมผัสได้ทางกาย
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาแบบบรรยาย
   นาเสนอด้วยการบรรยายให้เห็นภาพ คล้ายการพรรณนา แต่เน้น
   รายละเอียดเป็นลาดับขั้นตอนที่เห็นและเป็นจริง โดยไม่สอดแทรกความ
   คิดเห็นของผู้เขี่ยนลงไปด้วย
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
  ความนาแบบเรื่องสั้น
          เป็นการนาวิธการเขียนวรรณกรรมบันเทิงคดีมาใช้ในการเล่าเรื่อง โดย
                       ี
          การพรรณนาหรือบรรยายให้มากนันาฏการหรือความเคลืรบมายังจุดนัดหมาย
           เหลือเวลาสาหรับแสงอาทิตย์ไม่ เห็น ก เมื่อเฮลิคอปเตอร์นานัก ่อนไหวของตัว
..ศูนย์ฝึกทางทหารแห่งหนึ่งในพื้นที่อาเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
          ละคร สถานที่ และบรรยากาศได้อย่างน่าสนใจ แลแชวนติดตาม
                                                     ปีกของคนกล้า: วิวฒน์ พันธุฒยานนท์
                                                                      ั         ิ
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาประเภทอ้างคาพูดหรือวาทะบุคคล
   เป็นการหยิบยกคาพูดหรือวาทะของคนมีชื่อเสียงมาขั้นต้น โดยเฉพาะใน
   ส่วนที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับสาระสาคัญของเรื่อง
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
  ความนาแบบสนทนากับผู้อ่าน
      เป็นการเขียนที่เหมือนกับผู้เขียนพูดคุยโดยตรงกับผู้อ่าน ทาให้ผู้อ่านรู้สึก
      เหมือนนี้หรือคืนไหน ขณะที่คุณกาลังนอนหลับ เด็กวัยรุ่นจานวนหนึ่งกาลังลงมือ
       ค่าคื นว่าได้อยู่ร่วมในเหตุการณ์
ปฏิบัติงาน ...พวกเขากาลังนาเอาจินตนาการออกมาให้ปรากฏเป็นลวดลาย ตัวอักษรเป็น
ถ้อยคา หรือข้อความที่บางที่ประดับด้วยภาพสื่อความหมาย...ช

                                    ศิลปะสมัยใหม่หรือผลงานเดกมีปัญหา: ภาณุ มณีวัฒนกุล
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาประเภทสุภาษิต คาคม และบทประพันธ์
   เป็นการยกเอาสุภาษิต คาคม หรือบทประพันธ์ประเภทบทกวีหรือบท
   เพลงมาขึ้นต้นสารคดี
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาประเภทสุภาษิต คาคม และบทประพันธ์
   เป็นการยกเอาสุภาษิต คาคม หรือบทประพันธ์ประเภทบทกวีหรือบท
   เพลงมาขึ้นต้นสารคดี
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
   ความนาประเภทนิทาน ตานาน และเกร็ดเรื่องเล่า
       เป็นการเริ่มต้นด้วยการนานิทาน ตานาน และเกร็ดเกี่ยวกับเรื่องเล่าต่างๆ
       มาเขีกัยนเป็วันความนา
        เล่า นว่า นหนึ่งชาวระยองเอาทุเรียนใส่ชะลอม พร้อมกับตักทรายที่เกาะเสม็ดใส่
ถุงพลาสติกไปเยี่ยมญาติที่จังหวัดตาก ญาติรับถุงพลาสติกแล้วตรงรี่เอาไปเก็บไว้ในตู้กับข้าว
เพราะเข้าใจว่าเป็นน้าตาลทราย เดี๋ยวมดจะขึ้น
         นี่เป็นหนึ่งในหลายๆ เรื่องเล่าที่สะท้อนว่าเกาะเสม็ด...

                                              คานึงแห่ง “รอยฉี” บนผืนทราย: ธีรภาพ โลหิตกุล
                                                              ่
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาแบบสรุปประเด็น
   เป็นการสรุปประเด็นหรือสาระสาคัญของเรื่องทังหมดเสียก่อน มีหลักการ
                                             ้
   เขียนโดยให้เนื้อหาครอบคลุมคาถาม 5W 1H
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความนาแบบคาถาม
   เป็นการเริ่มต้นด้วยประโยคคาถามเพื่อกระตุ้นให้หันมาสนใจเรื่องที่
   นาเสนอ รวมทั้งเป็นการกระตุ้นให้หาคาตอบ เพราะการตั้งคาถามมักจะ
   เริ่มต้นด้วยประเด็นที่เป็นแก่นหลักของเรื่อง
2. การเขียนความนาและความเชื่อม
ความเชื่อม มีหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างความนากับเนื้อเรื่อง อาจเป็น
ข้อความสั้นๆ พยางค์เดียว วลี ประโยค หรือย่อหน้าก็ได้ ที่แสดงให้รู้วา
                                                                   ่
ผู้เขียนกาลังจะส่งทอดความนาให้โยงไปยังเนื้อเรื่องที่จะเขียนต่อไป หรือโดย
สรุป ความเชื่อมเหมือนสะพานที่โยงความนากับเนื้อเรือง  ่
ทุกชีการเตรียมการเขียอมๆ กับแสงแรกของอรุณรุ่ง แสงตะวันที่ค่อยกระจ่าง
           วิตที่นี่ตื่นขึ้นมาพร้ น
ขึ้น ขยับจังหวะชีวิตของพวกเขาให้คึกคักตามไปด้วย แสงแดดที่แรงกล้าขึ้นทุก
1. เตรี่งแสงชุบชูดาลังของคนที่นี่ เสียงเลื่อยตัดไม้ไผ่ เสียงพร้าที่แทรกตัวผ่านเนื้อ
ขณะดั   ยมแนวคิ ก
2. เลือกประเด็นหรืยงค้่อนกระทบสิ่ว เสียงเครื่องปั่นนุ่น เสียงเจียนทองเหลืองที่ดัง
ไม้ เสียงกบไสไม้ เสี       อเรืองทีจะเขียน
                                   ่
3. การเตรียมข้อมูล
ถี่ กระชั้นจากบ้านนี้ไปบ้านนั้นอย่างบันเทิงเริงเร้า เป็นเหมือนสัญญาณแห่งการ
เริ่มต้นอย่างกระฉับกระแฉงอีกวันหนึ่งของชาวนาสะไมย์
     บ้านนาสะไมย์ ตาบลนาสะไมย์ อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร อย่างห่างจาก
จังหวัด 18 กิโลเมตร เป็นชุมชนที่มีอายุกว่าศตวรรษ
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
        เนื้อเรื่องเป็นส่วนสาคัญที่สุดในสารคดี เพราะเป็นสาระสาคัญที่
ต้องการนาเสนอ เนื้อเรื่องจึงประกอบด้วยประเด็นสาคัญและรายละเอียด
สนับสนุนที่เรียกว่า พลความ ส่วนเนื้อเรืองจะประกอบด้วยเนื้อความอย่างไร
                                          ่
นั้นขึนอยู่กับจุดมุ่งหมายและโครงเรื่องที่กาหนดไว้
      ้
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
        เนื้อเรื่องประกอบด้วยลักษณะ ดังต่อไปนี้
        -ส่วนที่เป็นข้อมูลหรือสาระ
        -ส่วนที่เป็นสีสนบรรยากาศ
                       ั
        -ส่วนที่เป็นศิลปะและกลวิธีในการเขียน
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    ส่วนที่เป็นข้อมูลหรือสาระ
    ได้แก่ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ผู้เขียนได้ค้นคว้ารวบรวมมาจาก
แหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อนาเสนอความรู้ ความจริงเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ซึงถือว่า
                                                                   ่
เป็นหัวใจสาคัญของการเขียนสารคดี
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    ส่วนที่เป็นสีสนบรรยากาศ
                   ั
    ได้แก่ ส่วนที่ช่วยเสริมแต่งเนื้อเรื่องให้มสีสันบรรยากาศน่าสนใจ ไม่จืดชืด
                                              ี
จนเกินไป สีสันบรรยากาศเกิดจากการปรุงแต่งข้อเท็จจริงกับรายละเอียด
ปลีกย่อย เพื่อเสริมให้เรื่องน่าติดตาม เช่น ให้รายละเอียดเหตุการณ์ การ
สอดแทรกเกร็ดความรู้ การสอดแทรกคาพูดอ้างอิงของบุคคลที่จะทาให้สาร
คดีมีความน่าเชื่อถือ เป็นต้น
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    ส่วนที่เป็นศิลปะและกลวิธีในการเขียน
    ส่วนนีเป็นเรื่องของศิลปะในการเขียนที่ช่วยดึงดูดความน่าสนใจใคร่
          ้
ติดตามและให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน ซึงรวมศิลปะในการใช้ภาษาสานวน
                                    ่
โวหาร ท่วงทานองในการเขียน กลวิธีการนาเสนอหรือการเล่าเรื่อง การสร้าง
ตัวละคร หรือการใช้กลวิธีอนๆที่ช่วยให้เรื่องอื่นน่าติดตามมากยิ่งขึ้น
                           ื่
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
หลักในการเขียนเนื้อเรื่อง (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553)
1. กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง
2. กลวิธีในการดาเนินเรื่องและการลาดับความ
3. กลวิธีและศิลปะในการใช้ภาษา
4. กลวิธีในการใช้กระบวนความ
5. การแทรกคาพูดและเสริมเกร็ดที่น่าสนใจ
6. การอ้างอิง
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง
    1. การเล่าเรื่องอย่างตรงไปตรงมา คือการเล่าเรื่องตามลาดับโครงเรื่อง
และเหตุการณ์ที่เกิดขึน ลักษณะการเขียนเป็นแบบบรรยายหรืออธิบาย เรื่อง
                       ้
จะเรียบง่าย ไม่มีสีสันบรรยากาศ
    วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ธรรมดาทีสุด เหมาะสาหรับเน้นสาระข้อเท็จจริง
                                    ่
มากกว่าการสร้างสีสันบรรยากาศ เช่น สารคดีเชิงประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ
เทคโนโลยีและวิยาการใหม่ เป็นต้น
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
     กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง
     2. การเล่าเรื่องโดยใช้ลีลาแบบเรื่องสั้น คือการประยุกต์การเล่าเรื่องแบบ
วรรณกรรมมาใช้ มีการกาหนดตัวละครให้เป็นผู้ดาเนินเรื่อง เน้นการสร้าง
สีสันบรรยากาศด้วยการให้รายละเอียดในการพรรณนาฉากสถานที่
บรรยากาศ อารมณ์ การใช้ภาษาที่มีสสันและก่อให้เกิดจินตนาการ นอกจากนี้
                                      ี
ยังสลับกับการสอดแทรกหรือการอ้างอิงคาพูด ตลอดจนอธิบายเพื่อให้มีความ
สมจริงและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง
    3. การนาเสนอในรูปแบบของการเขียนจดหมาย คือการเล่าเรื่องราว
ต่างๆ ในเนื้อความของจดหมาย ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอีกวิธีหนึ่ง โดยเฉพาะ
ในสารคดีเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เป็นต้น
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    กลวิธีในการดาเนินเรื่องและการลาดับความ
    การดาเนินเรื่องของสารคดี สามารถใช้กลวิธีได้หลายวิธี ดังนี้
    - ใช้ตัวผู้เขียนเป็นตัวเดินเรื่อง
    - ใช้ตัวบุคคลในพื้นที่เป็นตัวดาเนินเรื่อง
    - ใช้บุคคลในประวัติศาสตร์เป็นตัวดาเนินเรือง
                                              ่
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    กลวิธีในการดาเนินเรื่องและการลาดับความ
    การลาดับความ อาจทาได้ดังนี้
    - ลาดับตามวันเวลา
    - ลาดับความตามมิติสถานที่
    - ลาดับความแยกแยะเป็นหมวดหมู่
    - ลาดับความแบบเหตุผล
    - ลาดับตามประเด็นสาคัญ
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
    กลวิธีและศิลปะในการใช้ภาษา
    การใช้ภาษาที่ดีจะต้องมีความรู้ในเรื่องกฎเกณฑ์ของภาษาและต้องอาศัย
ศิลปะในการใช้ด้วย โดยต้องคานึง
    - การใช้คา : คาตรงความหมาย คาที่คนส่วนมากเข้าใจ ถูกต้องตาม
    หลักภาษา
    - การใช้ประโยค : สั้น กระชับ ในประโยคเดียวกันไม่ควรใช้กริยาหลาย
    ตัว ผูกประโยคให้กลมกลืนมีเนื้อความอย่างเดียวและสัมพันธ์กัน
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
   กลวิธีในการใช้กระบวนความ
   กระบวนความบรรยาย : บอเล่าเรื่องราวต่างๆตามลาดับเหตุการณ์หรือ
ตามขั้นตอน เน้นรายละเอียด
   กระบวนความพรรณนา : คล้ายกระบวนความบรรยาย แต่สอดแทรก
อารมณ์ ความรู้สึกให้คล้อยตามไปด้วย
   กระบวนความอธิบาย : คล้ายกระบวนความบรรยาย แตกต่างตรงที่การ
บรรยายมักใช้ในการเล่าเรื่อง ส่วนการอธิบายเป็นการให้ข้อเท็จจริง
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
     การแทรกคาพูดและเสริมเกร็ดที่น่าสนใจ
     การหยิบยกคาพูดของแหล่งข้อมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาสอดแทรกใน
เนื้อเรื่องของสารคดี เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ สมจริง และเป็นหลักฐานว่า
ไม่ได้สมมติหรือจินตนาการเอง การสอดแทรกนี้มีส่วนช่วย ดังนี้
- ช่วยในการดาเนินเรื่อง
- ช่วยให้รายละเอียดแทนการอธิบาย
- ช่วยสร้างบรรยากาศและอารมณ์
3. การเขียนเนื้อเรื่อง
   การอ้างอิง
   หมายถึง การนาข้อมูลจากเอกสารสอดแทรกและเรียบเรียงในเนื้อเรือง      ่
ของสารคดี เพื่อนาเสนอข้อเท็จจริง สาระความรู้ทเกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่องและ
                                             ี่
ประเด็นที่นาเสนอ
4. การเขียนความจบ
   เป็นการปิดเรืองสารคดีที่นาเสนอมาทังหมด ซึ่งเป็นตอนที่สร้างความ
                ่                      ้
ประทับใจสุดท้าย สามารถทาได้หลายลักษณะ
- จบโดยย่อเรื่องหรือสรุปเรื่องโดยทั้งหมด
- จบแบบคาดไม่ถึงหรือหักมุม
- จบแบบทิ้งท้ายให้คิด มีการทิ้งประเด็นให้มีการนาไปคิดต่อ
- จบด้วยการย้อนหลังกลับไปสู่ต้นเรื่องหรือการนาความนามากล่าวซ้า

More Related Content

What's hot

5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
Milky' __
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
Yanee Chaiwongsa
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
Ku'kab Ratthakiat
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
Maii's II
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
Smile Petsuk
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
waraporny
 

What's hot (20)

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 

Viewers also liked (10)

1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
5 digital representation
5 digital representation5 digital representation
5 digital representation
 
Adobe encoredvd
Adobe encoredvdAdobe encoredvd
Adobe encoredvd
 
การวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shotการวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shot
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia apply
 
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
 
Sound for Radio Script
Sound for Radio ScriptSound for Radio Script
Sound for Radio Script
 
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shotตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 

Similar to Script 05 2

หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
Yota Bhikkhu
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
kroonoi06
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
Mu Koy
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
pong_4548
 

Similar to Script 05 2 (20)

หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
Featureandmag
FeatureandmagFeatureandmag
Featureandmag
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdf
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
Straightpiece
StraightpieceStraightpiece
Straightpiece
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความการเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความ
 

Script 05 2

  • 1.
  • 3. 1. การตั้งชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องเป็นองค์ประกอบทีสาคัญ เพราะเป็นส่วนแรกทีเห็นและอยากให้ ่ ่ ชวนติดตาม หากชื่อเรื่องไม่เด่นก็จะไม่น่าสนใจ ผู้เขียนต้องเข้าเกี่ยวกับงานของตนเอง กลุ่มเป้าหมาย ระดับการศึกษา ความสนใจโดยละเอียด ตลอดจนลักษณะชื่อเรื่องที่ได้รบความนิยมในสื่อ ั แต่ละประเภท (มาลี บุญศิรพันธ์, 2535) ิ
  • 4. 1. การตั้งชื่อเรื่อง แนวทางการตังชื่อเรื่อง (สมพร มันตะสูตร, 2525) ้ 1. ชื่อเรื่องต้องสั้น ใช้ถ้อยคาง่ายๆ ตรงไปตรงมา 2. อาจใช้คากริยาแสดงอาการมาตั้งชื่อเรื่อง 3. อาจใช้คาคม หรือสุภาษิต 4. อาจใช้คาที่มีความหมายตรงกันข้าม 5. อาจใช้คาคล้องจองกันเป็นชื่อเรื่อง
  • 5. 1. การตั้งชื่อเรื่อง รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553) • ตั้งชื่อเป็นประโยคบอกเล่าตรงไปตรงมา - สงกรานต์เมืองเหนือ - ความจริงใจของผู้ชายชื่อ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ - บันทึก 25 ปี เหตุการณ์ 14 ตุลา
  • 6. 1. การตั้งชื่อเรื่อง รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553) • ตั้งชื่อแบบเล่นสานวนเล่นคา - อุ่นรัก อุ่นธรรมในสงกรานต์ไทยใหญ่ - ลิเก...ศิลปะติดดินศิลปินชาวบ้าน - นกเอี้ยงเอยมาเลี้ยงควายเฒ่า
  • 7. 1. การตั้งชื่อเรื่อง รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553) • ตั้งชื่อแบบเรื่องสันและนวนิยาย ้ - ตะวันดับในเงาจันทร์ - ปรารถนาสุดท้ายในโลกพิการ - หยุดเวลาไว้ที่โบดี
  • 8. 1. การตั้งชื่อเรื่อง รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553) • ตั้งชื่อโดยใช้กลุ่มคาหรือวลีที่บอกเนื้อหานามาเรียงต่อกัน - ดอกไม้ สายน้า ความดี บนเส้นทาง - มลาบรี คนเถื่อน ชาวไร่หรือผู้อารยะ - โคลนนิ่ง, อานันท์, ไอน์สไตน์ และ..ไดโนเสาร์
  • 9. 1. การตั้งชื่อเรื่อง รูปแบบและแนวนิยมในการตั้งชื่อเรื่องสารคดี (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553) • ตั้งชื่อโดยใช้ประโยคหลักนาหน้า ตามด้วยข้อความทีเป็นส่วนขยาย ่ - ซ่อง: นรกบนดิน -หมอเสน่ห:์ ทางออกของความป่วยใจในสังคมเมือง - ไทยบ้านโพน แม่หญิงต่าหูก
  • 11. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาแบบพรรณา การเล่าให้นึกเห็นภาพอันใดอันหนึ่ง ครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้ - รูปร่างลักษณะของสิ่งต่างๆ - สิ่งที่สัมผัสได้ทางหู - สิ่งที่สัมผัสได้ทางจมูก - สิ่งที่สัมผัสได้ทางลิ้น - สิ่งที่สัมผัสได้ทางกาย
  • 12. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาแบบบรรยาย นาเสนอด้วยการบรรยายให้เห็นภาพ คล้ายการพรรณนา แต่เน้น รายละเอียดเป็นลาดับขั้นตอนที่เห็นและเป็นจริง โดยไม่สอดแทรกความ คิดเห็นของผู้เขี่ยนลงไปด้วย
  • 13. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาแบบเรื่องสั้น เป็นการนาวิธการเขียนวรรณกรรมบันเทิงคดีมาใช้ในการเล่าเรื่อง โดย ี การพรรณนาหรือบรรยายให้มากนันาฏการหรือความเคลืรบมายังจุดนัดหมาย เหลือเวลาสาหรับแสงอาทิตย์ไม่ เห็น ก เมื่อเฮลิคอปเตอร์นานัก ่อนไหวของตัว ..ศูนย์ฝึกทางทหารแห่งหนึ่งในพื้นที่อาเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ละคร สถานที่ และบรรยากาศได้อย่างน่าสนใจ แลแชวนติดตาม ปีกของคนกล้า: วิวฒน์ พันธุฒยานนท์ ั ิ
  • 14. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาประเภทอ้างคาพูดหรือวาทะบุคคล เป็นการหยิบยกคาพูดหรือวาทะของคนมีชื่อเสียงมาขั้นต้น โดยเฉพาะใน ส่วนที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับสาระสาคัญของเรื่อง
  • 15. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาแบบสนทนากับผู้อ่าน เป็นการเขียนที่เหมือนกับผู้เขียนพูดคุยโดยตรงกับผู้อ่าน ทาให้ผู้อ่านรู้สึก เหมือนนี้หรือคืนไหน ขณะที่คุณกาลังนอนหลับ เด็กวัยรุ่นจานวนหนึ่งกาลังลงมือ ค่าคื นว่าได้อยู่ร่วมในเหตุการณ์ ปฏิบัติงาน ...พวกเขากาลังนาเอาจินตนาการออกมาให้ปรากฏเป็นลวดลาย ตัวอักษรเป็น ถ้อยคา หรือข้อความที่บางที่ประดับด้วยภาพสื่อความหมาย...ช ศิลปะสมัยใหม่หรือผลงานเดกมีปัญหา: ภาณุ มณีวัฒนกุล
  • 16. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาประเภทสุภาษิต คาคม และบทประพันธ์ เป็นการยกเอาสุภาษิต คาคม หรือบทประพันธ์ประเภทบทกวีหรือบท เพลงมาขึ้นต้นสารคดี
  • 17. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาประเภทสุภาษิต คาคม และบทประพันธ์ เป็นการยกเอาสุภาษิต คาคม หรือบทประพันธ์ประเภทบทกวีหรือบท เพลงมาขึ้นต้นสารคดี
  • 18. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาประเภทนิทาน ตานาน และเกร็ดเรื่องเล่า เป็นการเริ่มต้นด้วยการนานิทาน ตานาน และเกร็ดเกี่ยวกับเรื่องเล่าต่างๆ มาเขีกัยนเป็วันความนา เล่า นว่า นหนึ่งชาวระยองเอาทุเรียนใส่ชะลอม พร้อมกับตักทรายที่เกาะเสม็ดใส่ ถุงพลาสติกไปเยี่ยมญาติที่จังหวัดตาก ญาติรับถุงพลาสติกแล้วตรงรี่เอาไปเก็บไว้ในตู้กับข้าว เพราะเข้าใจว่าเป็นน้าตาลทราย เดี๋ยวมดจะขึ้น นี่เป็นหนึ่งในหลายๆ เรื่องเล่าที่สะท้อนว่าเกาะเสม็ด... คานึงแห่ง “รอยฉี” บนผืนทราย: ธีรภาพ โลหิตกุล ่
  • 19. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาแบบสรุปประเด็น เป็นการสรุปประเด็นหรือสาระสาคัญของเรื่องทังหมดเสียก่อน มีหลักการ ้ เขียนโดยให้เนื้อหาครอบคลุมคาถาม 5W 1H
  • 20. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความนาแบบคาถาม เป็นการเริ่มต้นด้วยประโยคคาถามเพื่อกระตุ้นให้หันมาสนใจเรื่องที่ นาเสนอ รวมทั้งเป็นการกระตุ้นให้หาคาตอบ เพราะการตั้งคาถามมักจะ เริ่มต้นด้วยประเด็นที่เป็นแก่นหลักของเรื่อง
  • 21. 2. การเขียนความนาและความเชื่อม ความเชื่อม มีหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างความนากับเนื้อเรื่อง อาจเป็น ข้อความสั้นๆ พยางค์เดียว วลี ประโยค หรือย่อหน้าก็ได้ ที่แสดงให้รู้วา ่ ผู้เขียนกาลังจะส่งทอดความนาให้โยงไปยังเนื้อเรื่องที่จะเขียนต่อไป หรือโดย สรุป ความเชื่อมเหมือนสะพานที่โยงความนากับเนื้อเรือง ่
  • 22. ทุกชีการเตรียมการเขียอมๆ กับแสงแรกของอรุณรุ่ง แสงตะวันที่ค่อยกระจ่าง วิตที่นี่ตื่นขึ้นมาพร้ น ขึ้น ขยับจังหวะชีวิตของพวกเขาให้คึกคักตามไปด้วย แสงแดดที่แรงกล้าขึ้นทุก 1. เตรี่งแสงชุบชูดาลังของคนที่นี่ เสียงเลื่อยตัดไม้ไผ่ เสียงพร้าที่แทรกตัวผ่านเนื้อ ขณะดั ยมแนวคิ ก 2. เลือกประเด็นหรืยงค้่อนกระทบสิ่ว เสียงเครื่องปั่นนุ่น เสียงเจียนทองเหลืองที่ดัง ไม้ เสียงกบไสไม้ เสี อเรืองทีจะเขียน ่ 3. การเตรียมข้อมูล ถี่ กระชั้นจากบ้านนี้ไปบ้านนั้นอย่างบันเทิงเริงเร้า เป็นเหมือนสัญญาณแห่งการ เริ่มต้นอย่างกระฉับกระแฉงอีกวันหนึ่งของชาวนาสะไมย์ บ้านนาสะไมย์ ตาบลนาสะไมย์ อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร อย่างห่างจาก จังหวัด 18 กิโลเมตร เป็นชุมชนที่มีอายุกว่าศตวรรษ
  • 23. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่องเป็นส่วนสาคัญที่สุดในสารคดี เพราะเป็นสาระสาคัญที่ ต้องการนาเสนอ เนื้อเรื่องจึงประกอบด้วยประเด็นสาคัญและรายละเอียด สนับสนุนที่เรียกว่า พลความ ส่วนเนื้อเรืองจะประกอบด้วยเนื้อความอย่างไร ่ นั้นขึนอยู่กับจุดมุ่งหมายและโครงเรื่องที่กาหนดไว้ ้
  • 24. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่องประกอบด้วยลักษณะ ดังต่อไปนี้ -ส่วนที่เป็นข้อมูลหรือสาระ -ส่วนที่เป็นสีสนบรรยากาศ ั -ส่วนที่เป็นศิลปะและกลวิธีในการเขียน
  • 25. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง ส่วนที่เป็นข้อมูลหรือสาระ ได้แก่ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ผู้เขียนได้ค้นคว้ารวบรวมมาจาก แหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อนาเสนอความรู้ ความจริงเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ซึงถือว่า ่ เป็นหัวใจสาคัญของการเขียนสารคดี
  • 26. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง ส่วนที่เป็นสีสนบรรยากาศ ั ได้แก่ ส่วนที่ช่วยเสริมแต่งเนื้อเรื่องให้มสีสันบรรยากาศน่าสนใจ ไม่จืดชืด ี จนเกินไป สีสันบรรยากาศเกิดจากการปรุงแต่งข้อเท็จจริงกับรายละเอียด ปลีกย่อย เพื่อเสริมให้เรื่องน่าติดตาม เช่น ให้รายละเอียดเหตุการณ์ การ สอดแทรกเกร็ดความรู้ การสอดแทรกคาพูดอ้างอิงของบุคคลที่จะทาให้สาร คดีมีความน่าเชื่อถือ เป็นต้น
  • 27. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง ส่วนที่เป็นศิลปะและกลวิธีในการเขียน ส่วนนีเป็นเรื่องของศิลปะในการเขียนที่ช่วยดึงดูดความน่าสนใจใคร่ ้ ติดตามและให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน ซึงรวมศิลปะในการใช้ภาษาสานวน ่ โวหาร ท่วงทานองในการเขียน กลวิธีการนาเสนอหรือการเล่าเรื่อง การสร้าง ตัวละคร หรือการใช้กลวิธีอนๆที่ช่วยให้เรื่องอื่นน่าติดตามมากยิ่งขึ้น ื่
  • 28. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง หลักในการเขียนเนื้อเรื่อง (ธัญญา สังขพันธานนท์, 2553) 1. กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง 2. กลวิธีในการดาเนินเรื่องและการลาดับความ 3. กลวิธีและศิลปะในการใช้ภาษา 4. กลวิธีในการใช้กระบวนความ 5. การแทรกคาพูดและเสริมเกร็ดที่น่าสนใจ 6. การอ้างอิง
  • 29. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง 1. การเล่าเรื่องอย่างตรงไปตรงมา คือการเล่าเรื่องตามลาดับโครงเรื่อง และเหตุการณ์ที่เกิดขึน ลักษณะการเขียนเป็นแบบบรรยายหรืออธิบาย เรื่อง ้ จะเรียบง่าย ไม่มีสีสันบรรยากาศ วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ธรรมดาทีสุด เหมาะสาหรับเน้นสาระข้อเท็จจริง ่ มากกว่าการสร้างสีสันบรรยากาศ เช่น สารคดีเชิงประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ เทคโนโลยีและวิยาการใหม่ เป็นต้น
  • 30. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง 2. การเล่าเรื่องโดยใช้ลีลาแบบเรื่องสั้น คือการประยุกต์การเล่าเรื่องแบบ วรรณกรรมมาใช้ มีการกาหนดตัวละครให้เป็นผู้ดาเนินเรื่อง เน้นการสร้าง สีสันบรรยากาศด้วยการให้รายละเอียดในการพรรณนาฉากสถานที่ บรรยากาศ อารมณ์ การใช้ภาษาที่มีสสันและก่อให้เกิดจินตนาการ นอกจากนี้ ี ยังสลับกับการสอดแทรกหรือการอ้างอิงคาพูด ตลอดจนอธิบายเพื่อให้มีความ สมจริงและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
  • 31. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีในการนาเสนอเรื่อง 3. การนาเสนอในรูปแบบของการเขียนจดหมาย คือการเล่าเรื่องราว ต่างๆ ในเนื้อความของจดหมาย ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอีกวิธีหนึ่ง โดยเฉพาะ ในสารคดีเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เป็นต้น
  • 32. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีในการดาเนินเรื่องและการลาดับความ การดาเนินเรื่องของสารคดี สามารถใช้กลวิธีได้หลายวิธี ดังนี้ - ใช้ตัวผู้เขียนเป็นตัวเดินเรื่อง - ใช้ตัวบุคคลในพื้นที่เป็นตัวดาเนินเรื่อง - ใช้บุคคลในประวัติศาสตร์เป็นตัวดาเนินเรือง ่
  • 33. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีในการดาเนินเรื่องและการลาดับความ การลาดับความ อาจทาได้ดังนี้ - ลาดับตามวันเวลา - ลาดับความตามมิติสถานที่ - ลาดับความแยกแยะเป็นหมวดหมู่ - ลาดับความแบบเหตุผล - ลาดับตามประเด็นสาคัญ
  • 34. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีและศิลปะในการใช้ภาษา การใช้ภาษาที่ดีจะต้องมีความรู้ในเรื่องกฎเกณฑ์ของภาษาและต้องอาศัย ศิลปะในการใช้ด้วย โดยต้องคานึง - การใช้คา : คาตรงความหมาย คาที่คนส่วนมากเข้าใจ ถูกต้องตาม หลักภาษา - การใช้ประโยค : สั้น กระชับ ในประโยคเดียวกันไม่ควรใช้กริยาหลาย ตัว ผูกประโยคให้กลมกลืนมีเนื้อความอย่างเดียวและสัมพันธ์กัน
  • 35. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง กลวิธีในการใช้กระบวนความ กระบวนความบรรยาย : บอเล่าเรื่องราวต่างๆตามลาดับเหตุการณ์หรือ ตามขั้นตอน เน้นรายละเอียด กระบวนความพรรณนา : คล้ายกระบวนความบรรยาย แต่สอดแทรก อารมณ์ ความรู้สึกให้คล้อยตามไปด้วย กระบวนความอธิบาย : คล้ายกระบวนความบรรยาย แตกต่างตรงที่การ บรรยายมักใช้ในการเล่าเรื่อง ส่วนการอธิบายเป็นการให้ข้อเท็จจริง
  • 36. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง การแทรกคาพูดและเสริมเกร็ดที่น่าสนใจ การหยิบยกคาพูดของแหล่งข้อมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาสอดแทรกใน เนื้อเรื่องของสารคดี เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ สมจริง และเป็นหลักฐานว่า ไม่ได้สมมติหรือจินตนาการเอง การสอดแทรกนี้มีส่วนช่วย ดังนี้ - ช่วยในการดาเนินเรื่อง - ช่วยให้รายละเอียดแทนการอธิบาย - ช่วยสร้างบรรยากาศและอารมณ์
  • 37. 3. การเขียนเนื้อเรื่อง การอ้างอิง หมายถึง การนาข้อมูลจากเอกสารสอดแทรกและเรียบเรียงในเนื้อเรือง ่ ของสารคดี เพื่อนาเสนอข้อเท็จจริง สาระความรู้ทเกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่องและ ี่ ประเด็นที่นาเสนอ
  • 38. 4. การเขียนความจบ เป็นการปิดเรืองสารคดีที่นาเสนอมาทังหมด ซึ่งเป็นตอนที่สร้างความ ่ ้ ประทับใจสุดท้าย สามารถทาได้หลายลักษณะ - จบโดยย่อเรื่องหรือสรุปเรื่องโดยทั้งหมด - จบแบบคาดไม่ถึงหรือหักมุม - จบแบบทิ้งท้ายให้คิด มีการทิ้งประเด็นให้มีการนาไปคิดต่อ - จบด้วยการย้อนหลังกลับไปสู่ต้นเรื่องหรือการนาความนามากล่าวซ้า