SlideShare a Scribd company logo
1. บอกชื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลได้
2. บอกชื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลได้
3. อธิบายหลักการทางานของเทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลได้
4. อธิบายหลักการทางานของเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลได้
คืออะไร
จอแสดงผลบนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมีหลอดภาพที่เรียกว่า “หลอดรังสีแคโทด” (Cathode
Ray Tube) เป็นหลอดแก้วสุญญากาศประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว คือ ขั้วบวกหรือแอโหนด
(Anode) และขั้วลบหรือแคโทด (Cathode)
ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/File:Cathode_ray_tube_diagram-en.svg
หลักการทางาน
ขั้วแคโทดจะใช้ Heater สร้างลาแสงอิเล็กตรอน
ที่เรียกว่า “รังสีแคโทด (Cathode Ray” เพื่อยิง
ไปยังจอภาพ ซึ่งถูกควบคุมโดยขั้วบวกไปตก
กระทบที่จุดฟอสเฟอร์ (Phosphor) ที่ผิวจอ
โดยการเปิดปิดของลาแสงอิเล็กตรอนเป็นไป
อย่างรวดเร็ว ทาให้สามารถสร้างจุดสว่างและจุด
มืดได้ เรียกจุดบนจอภาพนี้ว่า “พิกเซล (Pixel)”
ที่มา
http://www1.na.infn.it/~cavalier/Download/SICSI_ASC/Rapprese
ntazioneImmagini/1_La%20grafica%20raster%20scan.htm
การกวาดของลาแสงอิเล็กตรอนแบบ Raster Scanning
การกวาดของลาแสงอิเล็กตรอนจะเคลื่อนจากมุมบนซ้ายของหน้าจอตามลาดับของพิกเซลใน
แต่ละแถวจากซ้ายไปขวา (Forward Trace) ระหว่างการเคลื่อนที่จะประกอบด้วยสถานะ ON
คือพิกเซลสว่าง และสถานะ OFF คือพิกเซลมืด เมื่อเคลื่อนที่ไปถึงพิกเซลสุดท้ายของแถว จะ
ย้อนกลับไปสแกนทางด้านซ้ายของแถวถัดไป (Horizontal Retrace) ถ้าลาแสงเคลื่อนที่ถึงมุม
ขวาล่างสุด ลาแสงจะเปลี่ยนเป็นสถานะ OFF แล้วกลับไปยังจุดเริ่มต้นที่มุมบนซ้ายมือ
http://www.diycalculator.com/sp-console.shtml
http://www.onlinemca.com/mca_course/kurukshetra_univer
sity/semester5/computergraphics/raster_scan.php
จอสี CRT
หลักการทางานเหมือนกับจอโมโนโครม CRT
แต่ฟอสเฟอร์ของจอสีจะมี 3 สี เรียกว่า “Triad”
ได้แก่ สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน
(Blue) เรียกว่า RGB หรือ แม่สี เช่น การรวมตัว
ของสีแดงและน้าเงินจะได้สีม่วง เป็นต้น
http://bananacom.igetweb.com/index.php?mo=
3&art=406477
คุณภาพการแสดงผลของจอภาพขึ้นอยู่กับ
 อัตรารีเฟรช (Refresh Rate)
จานวนเฟรมที่ใช้แสดงผลผ่านหน้าจอในหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็นเฮิร์ต (Hertz : Hz)
โดยทั่วไปอยู่ในช่วง 60-70 เฮิร์ต (สามารถสร้างภาพได้ 60-70 เฟรมต่อวินาที)
 อัตราสแกนแนวนอน (Horizontal Scan Rate)
จานวนการแสดงผลตามแนวนอนในหนึ่งวินาที โดยทั่วไปจอมีอัตรารีเฟรช 60 เฮร์ซ
และมีเส้นแนวนอน 600 เส้น ดังนั้นมีอัตราสแกนแนวนอนเท่ากับ 36 กิโลเฮิร์ต (KHz)
คุณภาพการแสดงผลของจอภาพขึ้นอยู่กับ
 ด็อทพิช (Dot Pitch)
ระยะห่างระหว่างพิกเซล ถ้ายิ่งห่างน้อย หรือด็อทพิชมีขนาดยิ่งเล็กภาพยิ่งคมชัด
โดยปกติอยู่ประมาณ 0.25-0.4 mm
 ตาแหน่งการแสดงผลของพิกเซล (Pixel addressability)
จานวนพิกเซลทั้งแนวตั้งและแนวนอนมีผลต่อการแสดงผล โดยจอภาพแบ่งเป็น 2
กลุ่ม คือ จอภาพธรรมดา และ Wide Screen เช่น จอภาพธรรมดาขนาด 19 นิ้ว มีจานวน
พิกเซล 1,280x1,024 จอภาพ Wide Screen มีจานวนพิกเซล 1,440x900 เป็นต้น
คุณภาพการแสดงผลของจอภาพขึ้นอยู่กับ
 อัตราส่วนของการแสดงผล (Aspect Ratio)
อัตราส่วนการแสดงผลภาพบนหน้าจอระหว่างความกว้างและความสูง ซึ่งเป็น
อัตราส่วนของพิกเซลในแนวนอนและแนวตั้ง โดยทั่วไปจอภาพมีอัตราส่วน 4:3 ส่วน Wide
Screen และโทรทัศน์ที่มีความคมชัดสูง (High Definition Television: HDTV) มีอัตราส่วน
16:9
 ขนาดจอภาพ (Monitor Size)
ถูกกาหนดในรูปแบบความยาวเส้นทแยงมุมของจอภาพ โดยทั่วไปขนาดมาตรฐาน
อยู่ระหว่าง 15-22 น้ว
คุณภาพการแสดงผลของจอภาพขึ้นอยู่กับ
 ความละเอียดของจอภาพ (Resolution)
หากจอภาพมีความละเอียดสูง การแสดงผลจะมีความละเอียด แต่ตัวอักษรจะมี
ขนาดเล็ก เช่น ความละเอียด 1,024x768 หมายถึง มีพิกเซลแนวนอน แนวตั้ง โดยทั่วไปจอ
มาตรฐานจะแสดงจุดสีต่อพื้นที่ 1 นิ้วในหน่วย dpi ได้ประมาณ 72 ถึง 96 dpi
 จานวนสีของจอภาพใช้แสดงผล (Color Depth)
จานวนสีที่จอแสดงผลได้ โดยจอที่มี Color Depth ขนาด 8 บิต แสดงผลได้ 28
หรือ 253 สี โดยทั่วไปจะมีสีอยู่ 24 บิต คือ 224 หรือ 16.7 ล้านสี เรียกว่า True color
Monitor
คืออะไร
เป็นจอแสดงผลแบบ (Digital) โดยภาพที่ปรากฏขึ้นเกิดจากแสงที่ถูกปล่อยออกมาจาก
หลอดไฟด้านหลังของจอภาพ (Black Light) ผ่านชั้นกรองแสง (Polarized Filter) แล้ววิ่งไป
ยังคริสตัลเหลวที่เรียงตัวด้วยกัน 3 เซลล์คือ แสงสีแดง แสงสีเขียวและแสงสีน้าเงิน กลายเป็น
พิกเซลที่สว่างสดใสเกิดขึ้น
โครงสร้าง
ประกอบด้วย 7 ส่วนประกอบสาคัญ ดังนี้
1. Backlit ชั้นในสุดจะเป็นหลอดฟลูออเรสเซน เพื่อทาหน้าที่ให้แสงสว่างออกมา
2. Diffuser ทาให้แสงที่กระจายออกมามีความสว่างสม่าเสมอ
3. Horizontal Polarizer เป็นตัวกรองแสงที่มาจาก Diffuser โดยยอมให้แสงที่อยู่
แนวนอนผ่านเท่านั้น
4. Glass Substrate กั้นไม่ให้ผลึกเหลวไหลออกจากจอภาพ และผิวของแก้วเคลือบ
ด้วย Polymer จะมีขั้วไฟฟ้ากระตุ้นผลึกเหลวให้เกิดการบิดตัว
โครงสร้าง
ประกอบด้วย 7 ส่วนประกอบสาคัญ ดังนี้
5. Liquid Crystal หรือชั้นของผลึกเหลว โดยถูกคั่นด้วยชั้นของแก้ว จะรับ
กระแสไฟฟ้ามาจากขั้วไฟฟ้า เพื่อนามาจัดเรียงผลึกเหลวให้เป็นรูปแท่งและกระตุ้นให้ผลึก
เหลวเกิดการบิดตัว
6. Glass Substrate กั้นไม่ให้ผลึกเหลวไหลออกจากจอภาพ และผิวของแก้วเคลือบ
ด้วย Polymer จะมีขั้วไฟฟ้ากระตุ้นผลึกเหลวให้เกิดการบิดตัว
7. Vertical Polarizer เป็นฟิลเตอร์เพื่อกรองแสง โดยทั่วไปจะวางในแนว 90 องศา
กับ Polarizer ตัวแรก จะยอมให้แสงที่อยู่ในแนวตั้งผ่านได้เท่านั้น
หลักการทางาน
http://lcdledtech.blogspot.com/2010/04/lcd-technology.html
http://www.rio.com.au/content/learning-centre/lcd-vs-plasma/
ความแตกต่าง CRT LCD
กายภาพ มีขนาดใหญ่ น้าหนักมาก และ
ยากต่อการเคลื่อนย้าย
มีน้าหนักเบา มีขนาดหนึ่งในสาม
ของซีอาร์ที
พลังงาน ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก ในการ
กระตุ้นแต่ละพิกเซลให้ปล่อย
แสงออกมา
จะใช้เซลและปริมาณพลังงาน
ไฟฟ้าในการแสดงผลน้อย
มุมมอง มุมมองมากกว่า 190 องศาขึ้น
ไป มีอัตรารีเฟรชสูงมาก แต่ให้
แสงสว่างมาก เมื่อใช้งานนาน
อาจทาให้ปวดตา
กระจายแสงเพียงระนาบเดียว
ต้องมองภาพในระดับสายตา
มุมมองกว้าง 49-100 องศา แต่
ให้ความสว่างที่สบายตา
คืออะไร
จอที่ประกอบขึ้นจากแผ่นแก้วสองชุดวางชิดกันช่องว่างนี้จะถูกแบ่งออกเป็นเซลล์แสงกว้าง
100-200 ไมครอนมีชั้นผนัง (Rib) คอยกั้นไว้ โดยใช้ขั้วไฟฟ้าในแนวกระจกคอยควบคุม
ตาแหน่งของเซลล์เหล่านั้น แต่ละเซลล์จะบรรจุก๊าซที่ผสมระหว่างก๊าซซีนอนและก๊าซเฉื่อย
อื่นๆ
หลักการทางาน
จอภาพ Plasma จะมีการเรืองแสงขึ้นเอง เหมือนการทางานของหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์
กล่าวคือ ก๊าซในเซลล์เหล่านี้เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแรงดันไฟฟ้าจะเกิดการไอออนไนซ์ขึ้นทาให้
ก๊าซแตกประจุและปล่อยแสงอุลตราไวโอเล็ตออกมา สารเรื่องแสงจะดูดซับอุลตราไวโอเลต
และสร้างสีที่มองเห็นได้ด้วยตา ทาให้เรามองเห็นเป็นภาพได้
ข้อดี ข้อเสีย
ขนาดบาง สามารถสร้างจอภาพขนาด
ใหญ่
บอบบาง เคลื่อนย้ายลาบาก
ผสมสีให้เกิดสีใหม่ได้ และมีความ
แตกต่างกันจานวนมาก
ความละเอียดของจอไม่สูงเท่ากับจอ CRT
ขนาดจอขยายได้ถึง 103 นิ้ว ใช้ทรัพยากรในการประมวลผลมากกว่า
จอ LCD และไม่สามารถใช้งานร่วมกับ
อุปกรณ์แบบพกพาได้
หน้าที่
ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก เพื่อส่งข้อมูล
ไปแสดงผลผ่านทางหน้าจอ โดยเชื่อมต่อผ่านช่องทางที่เรียกว่า “บัส (Bus)” ทาหน้าที่
เชื่อมต่อกับสล็อตของการ์ดแสดงผล
องค์ประกอบ
1. หน่วยความจาสาหรับแสดงผล (Display Memory)
ใช้สาหรับเก็บคุณสมบัติต่างๆของพิกเซล โดยเริ่มแรกจะถูกใช้สาหรับเก็บข้อมูลภาพจาก
ซีพียู จากนั้น Adapter จะนาข้อมูลมาใช้เพื่อแปลงสัญญาณให้เป็นจุดสี RGB ปริมาณ
หน่วยความจาขึ้นอยู่กับความละเอียดและจานวนสีของพิกเซล หน่วยความจาที่อยู่บน
การ์ดแสดงผลนี้ เรียกว่า “Video RAM (VRAM)”
องค์ประกอบ
2. ตัวควบคุมกราฟิก (Graphic Controller)
ควบคุมการส่งข้อมูลจากหน่วยประมวลผลไปยังจอภาพ ในปัจจุบันการ์ดแสดงผลจะมี
หน่วยประมวลผลของตนเอง เพื่อจัดการและส่งข้อมูลภาพได้อย่างอิสระ เรียกว่า
“Graphic Processing Unit (GPU)”
องค์ประกอบ
3. ตัวแปลงสัญญาณจากดิจิทัลเป็นอนาล็อก (Digital to Anolog Converter: DAC)
ขั้นตอนการแปลงสัญญาณดิจิทัลจาก VRAM ให้เป็นสัญญาณอนาล็อกก่อนส่งไปแสดง
บนจอภาพ โยใช้สัญญาณไฟฟ้าเป็นตัวกระตุ้นเพื่อสร้างลาแสงอิเล็กตรอน ข้อมูลดิจิทัลที่
ถูกเก็บใน VRAM จะกาหนดคุณสมบัติการแสดงผลของพิกเซล เพื่อสร้างภาพให้ปรากฏ
บนหน้าจอ โดย DAC จะแปลงพิกเซลให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อนาไปควบคุมการยิง
ลาแสงอิเล็กตรอน
คืออะไร
สายสัญญาณเชื่อมต่อระหว่างการ์ดแสดงผลและจอภาพ ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ D-Sub และ
DVI
D-Sub DVI ( Digital Video Interface)
คืออะไร
อุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบออปติคอล (Optical Storage) บันทึกข้อมูลได้หลายชนิด มีลักษณะ
เป็นแผ่นพลาสติกวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. เคลือบด้วยอลูมิเนียมที่ทาหน้าที่สะท้อน
แสงไปยัง Photo Detector ซึ่งจะทาการอ่านข้อมูลแล้วส่งค่าในรูปแบบไบนารี่ให้กับซีพียู
โครงสร้าง
แผ่นซีดีประกอบด้วย track และ sector ซึ่งแต่ละช่อง sector มีขนาดเท่ากัน พื้นผิวถูกฉาบ
ด้วย
1. Polycarbonate ทาหน้าที่ป้องกันความเสียหายของข้อมูล
โครงสร้าง
แผ่นซีดีประกอบด้วย track และ sector ซึ่งแต่ละช่อง sector มีขนาดเท่ากัน พื้นผิวถูกฉาบ
ด้วย
2. Aluminum มีลักษณะเป็นร่อง ๆ เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล ต่าง ๆ ในส่วนโครงสร้างนี้เองจะ
แบ่งแทร็ก Track ที่เรียงต่อกันเป็นวงกลมคล้ายก้นหอย
โครงสร้าง
แผ่นซีดีประกอบด้วย track และ sector ซึ่งแต่ละช่อง sector มีขนาดเท่ากัน พื้นผิวถูกฉาบ
ด้วย
3. Acrylic ชั้นสะท้อนแสงกลับเคลือบด้วยสารอคีลิค (Acrylic) เป็นชั้นที่ทาด้วยโลหะ เพื่อให้
แสงเลเซอร์ที่ยิงเข้ามาอ่านข้อมูลและสามารถสะท้อนกลับไปแปลงเป็นข้อมูล
โครงสร้าง
แผ่นซีดีประกอบด้วย track และ sector ซึ่งแต่ละช่อง sector มีขนาดเท่ากัน พื้นผิวถูกฉาบ
ด้วย
4. Label เคลือบบนชั้นบนสุดอีกครั้ง เพื่อใช้แสดงตราการค้า หรือรูปภาพต่าง ๆ ซึ่งยังช่วย
ป้องกันความเสียหายให้ชั้นสะท้อนกับอีกด้วย
หลักการทางาน
เลเซอร์จากหัวอ่านซีดีจะฉายลงบนแผ่นซีดี โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่ง
ได้ โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ ที่
ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็นหลุมเป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก พิต (Pit) สาหรับบริเวณที่ไม่
มีการเจาะลึกลงไปเรียก "แลนด์ (Land)”
หลักการทางาน
ผิวสองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจาย
ไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกแลนด์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่ง
ปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่วงของลาแสงที่กระทบตัวตรวจจับ
แสงจะกาเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือเกิด 1 และ 0
ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
ดีวีดีโครงสร้างคล้ายกับซีดี สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ 2 ชั้น ในการอ่านใช้เทคโนโลยีเลเซอร์สี
แดง โดยใช้ความยาวของคลื่นแสง 650 nm
ดีวีดีโครงสร้างคล้ายกับซีดี สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ 2 ชั้น ในการอ่านใช้เทคโนโลยีเลเซอร์สี
แดง โดยใช้ความยาวของคลื่นแสง 650 nm
เป็นแผ่นบันทึกข้อมูลออปติคอลดิสก์รูปแบบใหม่ ที่ใช้ความยาวคลื่นแสงเลเซอร์ 405 NM
(Nanometer) ที่มีความยาวคลื่นสั้นและความถี่สูง หรือช่วงแสงสีฟ้า (Blue-Violet) จึงทาให้
เก็บข้อมูลได้มากกว่าแบบเดิม ที่ใช้คลื่นแสงสีแดง
ข้อดี ข้อเสีย
คุณภาพที่คมชัด และระบบเสียงที่ดี ต้นทุนที่สูงกว่าและราคาขายที่สูงกว่า
HDDVD
อายุการใช้งานที่นานกว่าเนื่องจากมี
Hard Coat ป้องกันความเสียหายอันเกิด
จากรอยขีดข่วนและต่อรอยนิ้วมือได้ดี
เครื่องเล่นไม่สามารถอ่านแผ่นฟอร์แมตรุ่น
เก่าได้
แต่ละแผ่นจะมี ROM Mark เป็นการ
ป้องกันการคัดลอกแผ่นดิสก์โดยไม่รับ
อนุญาตและทาให้เครื่องเล่นเถื่อน
ทั้งหลายไม่สามารถใช้ งานได้
ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานจาก DVD
Forum

More Related Content

Similar to 6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล

Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008MooaKe Kub
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
nsumato
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์aphiwat_1605
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมLupin F'n
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
Suphol Sutthiyutthasenee
 
o-net Work4-25
o-net Work4-25o-net Work4-25
o-net Work4-25
Elle Butphuntana
 
Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554
Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554
Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554APple Kokjindapipiton
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 

Similar to 6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล (13)

oled
oledoled
oled
 
Ch08
Ch08Ch08
Ch08
 
Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
o-net Work4-25
o-net Work4-25o-net Work4-25
o-net Work4-25
 
Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554
Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554
Sme service วันที่ 10 ธันวาคม 2554
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 

6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล