SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
่
หรือความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
Mr.Aekkalak Ratraikit
Li xiao long李晓龙
nonocong
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกำเนิดขึ้นมำแล้วไม่ต่ำกว่ำ 400 ล้ำนปี มีหลักฐำนหลำยอย่ำงที่ทำให้เชื่อว่ำพืชมีวิวัฒนำกำรมำ
จำกสำหร่ำยสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีกำรปรับตัวจำกสภำพที่เคยอยู่ในน้ำขึ้นมำอยู่บนบก ด้วยกำรสร้ำง
คุณสมบัติต่ำง ๆ ที่เหมำะสมขึ้นมำ เช่น มีกำรสร้ำงคิวติน (cutin) ขึ้นมำปกคลุมผิวของลำต้นและใบเรียกว่ำ คิวทิเคิล
(cuticle) เพื่อป้องกันกำรสูญเสียน้ำ และกำรเกิด สโทมำตำ (stomata) เพื่อทำหน้ำที่ระบำยน้ำและแลกเปลี่ยนก๊ำซ เป็น
ต้น
อำณำจักรพืชแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ
- พืชไม่มีท่อลำเลียง ได้แก่ Division Bryophyta
- พืชที่มีท่อลำเลียง ได้แก่ Division Psilophyta , Division Lycophyta , Division Sphenophyta , Division
Pterophyta , Division Coniferophyta , Division Cycadophyta , Division Ginkophyta , Division
Gnetophyta , Division Anthophyta
อำณำจักรพืช (Plant Kingdom)
1. Division Bryophyta พืชที่ไม่มีระบบท่อลาเลียง มี
ขนาดเล็ก ได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวิร์ด
2. Division Psilopphyta พืชที่มีท่อลาเลียงชั้นต่า ไม่มี
ใบและรากที่แท้จริง ได้แก่ หวายทะนอย (Psilotum)
3. Division Lycophytaพืชที่มีท่อลาเลียงที่มีลาต้น ใบ
และรากที่แท้จริงแต่ยังมีใบขนาดเล็ก ได้แก่ ช้องนางคลี่ ( Lycopodium ) และ
ตีนตุ๊กแก ( Sellaginella )
4.Division Sphenophyta พืชที่มีท่อลาเลียง ลาต้นลักษณะเป็น
ข้อและปล้อง มีการสร้างสปอร์ ได้แก่ สนหางม้าหรือหญ้าถอดปล้อง
( Equisetum )
5. Division Pterophyta พืชที่มีท่อลาเลียง มี
หลายชนิดแตกต่างกัน ได้แก่ เฟิร์น( Fern ) แหนแดง( Azolla ) และจอกหูหนู
( Salvinia )
6. Division Coniferophyta พืชที่สร้าง
เมล็ดเปือย ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ได้แก่ พวกสน ( Pinus ) เช่น
สนสองใบและสนสามใบ
7. Division Cycadophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ ปรง
( Cycad )
7. Division Cycadophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได ้แก่ ปรง ( Cycad )
8. Division Ginkgophyta พืชที่สร้าง
เมล็ดเปือย ได้แก่ แปะก๊วย (Ginkgo biloba )
9. Division Gnetophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ มะเมื่อย
(Gnetum)
9. Division Gnetophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได ้แก่ มะเมื่อย (Gnetum)
10. Division Anthophyta พืชที่สร้างเมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม ถือว่ามี
วิวัฒนาการสูงสุด พบมากที่สุด ได้แก่ พืชดอก (Flowering plant)
สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอำณำจักรมีมำกกว่ำ 1.7 ล้ำนสปี ชีส์ ในจำนวนนี้เป็ นแมลงประมำณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็ น
สิ่งมีชีวิตที่มีควำมสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทำให้มีกำรถ่ำยทอดพลังงำนไปยังผู้บริโภคระดับ
ต่ำงๆ นอกจำกนี้สัตว์ยังเป็นตัวทำให้เกิดแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีควำมสำคัญในกำรสังเครำะห์ด้วยแสงของพืช และ
ก่อให้เกิดควำมสมดุลในธรรมชำติ
สัตว์เป็ นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิ ลล์จึงไม่สำมำรถสร้ำงอำหำรได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO)
สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่ำงๆดังนี้
อำณำจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
1. ไฟลัมพอริเฟอรำ(PHYLUM PORIFERA)
• สัตว์ที่ลาตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera
• - เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง (Parazoa)
• - ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ
• - มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม
• - มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว
• - ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มีสมมาตร
• - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม
• - มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใยโปรตีน)
2. ไฟลัมซีเลนเทอรำตำ(PHYLUM COELENTERATA)
• ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata
• - ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis
• - ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่
• - ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ทาหน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละ
กากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน
• - มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle)ใช้สาหรับจับเหยื่อ
• - ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyteเเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า nematocyst
• - มีวงจรชีพสลับ
• - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ
• - มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM
PLATYHELMINTHES)
• ได้แก่ พยาธิใบไม้พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes
• - มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateralsymmetry)
• - ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด
• - ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่
เซลล์โดยตรง
• - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนักและในพวกพยาธิตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร
• - มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว
• - มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว (Cross
fretilization)
4. ไฟลัมนีมำโทดำ(PHYLUM NEMATODA)
• ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในน้าส้มสายชู
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda
• - ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์
• - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม
• - สมมาตรครึ่งซีก
• - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก
• - ร่างกายมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
• - มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุอยู่เต็ม
• - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว
• - ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ
• - การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเวดล้อมได้ดี
5. ไฟลัมแอนนิลิดำ (PHYLUM ANNILIDA)
• ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือดและปลิงน้าจืด
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida
• - มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้อเยื่อกั้นระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa )
• - เเต่ละปล้องมีอวัยวะคือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละ
ช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง
• - ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ )
• - ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก
• - มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
• - มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม
• - ระบบประสาทประกอบด้วยปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง
6. ไฟลัมอำร์โทรโปดำ (PHYLUM ARTHROPODA)
• ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม แมงดาทะเล
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda
• - มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของลาตัว
• - มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ
• - สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลกนับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตบนโลกเป็น
อย่างมาก เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาลและพบเป็นจานวนมาก
• - มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง
• - มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด
• - มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ ท้อง(Abdomen)
• - ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด(Hemocoel)
7. ไฟลัมมอลลัสกำ(PHYLUM MOLLUSCA)
• สัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca
• - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่
• 1. head and foot
• 2. visceral mass
• 3. mantle,palium เกิด mantlecavity มีเหงือกภายใน
• - สัตว์ในไฟลัมนี้มีลาตัวอ่อนนุ่มบางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO
• - แยกเพศผู้-เมีย
• - ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเลมีอาศัยอยู่บนบกบ้าง
• - อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย
• 1. เหงือก (gill)อยู่ภายในช่องแมนเติลพบในมอลลัสทั่วไป
• 2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า เซอราตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก
(anal gill)
• 3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลวหล่อเลี้ยงในช่องนี้ทาให้สามารถ
แลกเปลี่ยนแก๊สได้
3
8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มำตำ (PHYLUM ECHINODERMATA)
• สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm
• - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี
• - ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง
• - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บางินิด
• - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน
• - การเคลื่อนไหวใิ้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย
• - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางินิด เิ่น
การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
9. ไฟลัมคอร์ดำตำ (PHYLUM CHORDATA)
• คุณสมบัติเฉพำะของ Phylum Chordata
• - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของิีวิต หรือ
ตลอดิีวิต ในพวกสัตว์ิั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด
• - มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือทางเดิน
อาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง(Ventral nerve
cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน
• - มีิ่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของิีวิต หรือตลอดิีวิตในพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังิั้นสูง
เิ่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีิ่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อโตขึ้นิ่องเหงือกจะปิดส่วนปลามี
ิ่องเหงือกตลอดิีวิต
• - มีหางเป็นกล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail)
อำณำจักรมอเนอรำ (Kingdom
Monera)
ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรมอเนอรำ
- เป็นสิ่งมีิีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell)
ในขณะที่สิ่งมีิีวิตอื่นๆทุกอาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์แบบยูคารีโอต (eukaryotic cell)
- ไม่มีออร์แกเนลล์ินิดมีเยื่อหุ้มเิ่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอ
โรพลาสต์ มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มคือไรโบโซม
สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรนี้แบ่งเป็น 2 ไฟลัม คือ
1.ไฟลัมชิโซไฟตำ (Phylum Schizophyta)
• สิ่งมีิีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้ ได้แก่ แบคทีเรีย
• ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดำ คือ
• 1. มีเซลล์ขนาดเล็ก
• 2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ
• 2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์)
• 2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหูพจน์)
• 2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหูพจน์)
3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิด
ลักษณะเฉพาะ เิ่น
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลม มีการเรียงตัวหลายแบบ
- เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก
diplococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก
streptococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้าย
พวงองุ่น เรียก staphylococci
• แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นิัดเท่าทรงกลม แต่อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจาก
ระยะการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับสภาพของการเพาะเลี้ยงในอาหาร
• แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละินิดมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความยาว จานวนเกลียว
ความโค้ง
• ประโยชน์ของแบคทีเรีย
• 1. ด้านอุตสาหกรรม เิ่นการผลิตอาหารหมัก ใิ้ฟอกหนัง
• 2. ด้านการเกษตร เิ่นใิ้เป็นปุ๋ ย
• 3. การทดสอบคุณภาพน้า
• 4. ทางด้านการแพทย์ เิ่นการผลิตยาปฏิิีวนะ
• 5. ใิ้ในเทคโนโลยีิีวภาพ โดยใิ้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะต่าง ๆ
• 6. ิ่วยย่อยสลายซากสิ่งมีิีวิตให้เป็นอาหารของพืิ
• โทษของแบคทีเรีย
• 1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย
• 2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เิ่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์ เิ่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืิ
เิ่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
2.ไฟลัมไซยำโนไฟตำ (Phylum Cyanophyta)
• ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกิื่อใหม่ว่า
Cyanobacteria
• ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยำโนไฟตำ คือ
• 1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella
• 2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็น
chloroplast
• 3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin
• 4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ
4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม
เช่น Gloeocapsa , Chroococcus และ Eucapsis
4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย
เช่น Anabaena , Oscillatoria และ Spirulina
• กำรสืบพันธุ์ของ Cyanocacteria
• 1. การแบ่งตัว Binary fission.
• 2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย
• 3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เิ่น akinete
• ประโยชน์
• - เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2
• - Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใิ้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์
• - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ ยในดิน เิ่น แหนแดง
(Azolla) ซึ่ง Anabaena อยู่ิ่องว่างกลางใบ
อำณำจักรโปรติสตำ (Kingdom
Protista)ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรโปรติสตำ
1. ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางินิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม
เรียกว่า โคโลนี (colony)
หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ทาหน้าที่ ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทาหน้าที่ของความเป็น
สิ่งมีิีวิตได้ครบถ้วนอย่าง อิสระ
2. ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืิและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อนก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย
3. การดารงิีพ มีทั้งินิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร
(Decomposer)
4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ
5. การเคลื่อนที่ บางินิดเคลื่อนที่ได้โดยใิ้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางินิดเคลื่อนที่
ไม่ได้
6. การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งินิด
คอนจูเกิัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเิ่นที่พบในพารามีเซียม ราดา เป็นต้น และินิด
ปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเิ่นที่พบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น
สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรนี้แบ่งเป็น
1. Division Diplomonadida
• เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria ,
endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่
มีออกซิเจน (Anaerobic environment)
• ลักษณะ
• - มีนิวเคลียส 2 อันขนาดเท่ากัน
• - มี Flagella หลายเส้น
• ตัวอย่างเิ่น Giardia intestinalis : เป็นปรสิตในลาไส้เล็กของคน
2. Division Parabasala
• เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria ,
endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่
มีออกซิเจน (Anaerobic environment)
• ลักษณะ
• - มี Flagella หลายเส้น
• - มีเยื้อหุ้มลักษณะเป็นรอยหยักคล้ายคลื่น
• ตัวอย่างเิ่น Trichomonas vaginalis : เป็นปรสิตในิ่องคลอด
• Trichonympha : อาศัยอยู่ในลาไส้ปลวกดารงิีพแบบภาวะพึ่งพากัน
3. Division Kinetoplastida
• เป็นโพรทิสต์กลุ่มที่เคลื่อนที่โดยใิ้ Flagella ซึ่งประกอบด้วย Microtubule เรียงกัยแบบ 9+2 มีทั้ง
ที่เป็นผู้ผลิตผู้บริโภคและปรสิต
• ลักษณะ
• - มี Mirochondria อันเดียวขนาดใหญ่ ภายในมี DNA เรียกว่า Kinetoplast
• - มีทั้งพวกที่ดารงิีวิตอิสระ และเป็นปรสิต.
• ตัวอย่างเิ่น Trypanosoma sp.
• - เกิดโรคเหงาหลับ (sleeping sickness) ในแอฟริกามี African tsetse fly
เป็นพาหะ
• - โรค Chagas's disease ในอเมริกาใต้ มี Kissing bug เป็นพาหะ
4. Division Euglenophyta
• ลักษณะ
• - มี Chlorplast สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ จึงดารงิีพเป็นผู้ผลิตเมื่อมีแสง
• - เก็บอาหารที่สร้างได้ใน Paramylon granules
• - เมื่อไม่มีแสงก็ดารงิีพเป็นผู้บริโภค
• - มีอายสปอต (eye spot) ในการตอยสนองต่อแสง
5. Division Dinoflagellata
• ลักษณะ
• - เป็น Phytoplakton ทั้งในน้าจืดและน้าทะเล
• - ส่วนใหญ่อยู่เป็นเซลล์เดียว มีบ้างที่อาศัยอยู่รวมกันเป็น colony
• - ลักษณะสาคัญคือ มีแผ่น Cellulose อยู่ภายใน ประกอบกันคล้ายเกราะ มีลวดลายสวยงามและมี
Flagellum 2 เส้น
• - บางินิดมีการสะสมสารพิษ ทาให้ทะเลมีสีแดง เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ (red tide) ซึ่งเป็น
อันตรายต่อสัตว์น้าเป็นจานวนมาก
• - บางินิดอาศัยร่วมกับปะการัง โดยนา CO2 จากปะการังมาสังเคราะห์ด้วยแสง
6. Division Apicomplexa
• ลักษณะ
• - กลุ่มนี้ทุกินิดเป็นปรสิตในสัตว์ มีโครงสร้างสาหรับแทงผ่ายเซลล์โฮสต์
• - ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
• - ตัวอย่างในกลุ่มนี้ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทาให้เกิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อื่น
• - malaria เป็นโรคเขตร้อน มียุงก้นปล้องเป็นพาหะ
• เิื้อ Plasmodium ที่ก่อโรคในคนมี 4 ินิด ได้แก่
• - Plasmodium falciparum
• - Plasmodium vivax
• - Plasmodium malariae
• - Plasmodium ovale
• ในประเทศไทยเิื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นินิด P.falciparum และ P.vivax
7. Division Ciliophora
• ลักษณะ
• - มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่โดยใิ้ Cilia
• - อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้าหรือความิื้นสูง
• - ตัวอย่างเิ่น Stentor , Paramecium , Vorticella
• - มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเรียกว่า Conjugation
8.Division Oomycota
• ลักษณะ
• - เรียกว่า Egg fungus : water mold, white rust, downy mildews
• - แตกต่างจาก Stramenopila กลุ่มอื่นๆ ตรงที่ไม่มีรงควัตถุที่ใิ้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง
• - มีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ที่ประกอบด้วยหลายนิวเคลียส
• - ไม่ได้จัดเป็นรา
• - ส่วนใหญ่ดารงิีวิตเป็นผู้ย่อยสลายในน้า
• - มีบ้างที่เป็นปรสิตในพืิ เิ่น white rust (ราขาวในมันฝรั่ง)
9.Division Bacillariophyta
• ลักษณะ
• - เป็นสาหร่ายที่มีสารสีินิดเดียวกับที่พบในสาหร่ายสีน้าตาล
• - เป็นสิ่งมีิีวิตเซลล์เดียว มีผนังเซลล์ประกอบด้วย Silica
• - ส่วนมากมักสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
• - พบมากในแหล่งน้าจืดและน้าเค็ม เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสิ่งมีิีวิตในระบบนิเวศ
• - ซากไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ เป็น diatomaceous earth เป็นแหล่งรวมของแร่ธาตุ
และน้ามัน ซึ่งนามาใิ้ประโยิน์ในการทา
• ไส้กรองและยาขัดต่าง ๆ
10. Division Phaeophyta• ลักษณะ
• - เป็นสาหร่ายที่มีขนาดใหญ่ และมีโครงสร้างซับซ้อน
• - สาหร่ายสีน้าตาล เรียกว่า Seaweed
• - เกือบทั้งหมดอาศัยอยู่ในทะเล มักอยู่ในกระแสน้าเย็น
• - มีความสาคัญต่อสิ่งมีิีวิตที่อาศัยในน้าโดยเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยและใิ้ในการหลบภัย
• - มีสารสีน้าตาลเรียกว่า ฟิวโคแซนทิน
• - เรียกโครงสร้างรวม ๆ ของสาหร่ายินิดนี้ว่า Thallus
• - มีโครงสร้างคล้ายราก เรียกว่า Holdfast
• - โครงสร้างคล้ายลาต้น เรียกว่า Stipe
• - โครงสร้างคล้ายใบ เรียกว่า Blade หรือ Lamina
• ตัวอย่างเิ่น สาหร่ายเคลป์ ( Kelp) ซึ่งอาจมีความยาวถึง 60 เมตร
• สาหร่ายทุ่น ( sagassum sp.)
• ลามินาเรีย ( Laminaria sp.)
• พาไดนา ( Padina sp.)
• ฟิวกัส ( Fucus sp. )
11. Division Rhodophyta
• สาหร่ายสีแดง (red algae) มีสารสีไฟโคอีรีทิน (phycoerythrin) แคโรทีนและคลอโรฟิลล์ ต่าง
จากสาหร่ายกลุ่มอื่น บางินิดไม่มีสารสี เป็นปรสิตกับสาหร่ายสีแดงินิดอื่นๆ สามารถดูดกลืนแสงสีน้าเงิน
และเขียวในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี ส่วนใหญ่จะมีหลายเซลล์ สามารถมีขนาดใหญ่เรียกว่า
Seaweed ได้ในลักษณะเดียวกันกับสาหร่ายสีน้าตาล และที่สาคัญคือ ไม่มีระยะที่มีแฟลกเจลลา
• ตัวอย่างเิ่น จีฉ่าย หรือ พอร์ไฟรา (Porphyra sp.) นามาทาเป็นอาหาร
• สาหร่ายผมนางหรือ กราซิลาเรีย (Gracilaria sp.) ใิ้ผลิตวุ้น
12. Division Chlorophyta
• สาหร่ายสีเขียว (green algae) มีลักษณะคล้ายพืิทั้งในแง่โครงสร้าง ผนังเซลล์และส่วนประกอบของสารสี
คือ คลอโรฟิลล์ เอ บีและแคโรทีน ส่วนใหญ่พบในแหล่งน้าจืด บางินิดอยู่ร่วมกับราเป็น lichens เกือบทุกินิดมี
ระยะอาศัยเพศ โดยเซลล์สืบพันธุ์ใิ้ Flagella 2 เส้นในการเคลื่อนที่ สามารถปรับตัวในที่ไม่เหมาะสมได้ เิ่น
หิมะ (watermelon snow) และเิื่อว่าพืิมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว
• ลักษณะ
• - เซลล์เดียว Chlamydomonas
• Chlorella (ป็นสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียวที่มีโปรตีนสูง นิยมผลิตเป็นอาหารเสริม)
• - อยู่รวมกันหลายเซลล์เป็น Colony Volvox
• - เซลล์รวมกันมีขนาดใหญ่ (Supercell) Caulerpa
• - โครงสร้างเป็น Cell weed Ulva
• - ไม่มี Flagellum ในการเคลื่อนที่ Spirogyra หรือ เทาน้า ( ใิ้ Ameboid gamete)
13. Division Gymnamoeba
• ลักษณะ
• - เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายมาก เิ่น Amoeba
• - ส่วนมากเป็นผู้บริโภค
• - บางินิดเป็นผู้ย่อยสลาย (Detritus)
14. Division Entamoeba
• ลักษณะ
• - Entamoeba histolytica เป็นปรสิต ก่อให้เกิดโรคบิดมีตัว ผลแทรกซ้อนก่ให้เกิดฝีในตับ
• - Entamoeba gingivalis อาศัยแบบพึ่งพากับคนในิ่องปาก เก็บเศษอาหารต่างๆ เป็นเหตุ
ให้มีกลิ่นปาก
15. Division Myxogastrida
• มี 2 ระยะ คือ
• - ระยะ Plasmodium หากินโดยใิ้ Pseudopodium ซึ่งมีขนาดใหญ่ได้มากเป็น
เซนติเมตร เป็นหลายๆเซลล์รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่มากมีหลายนิวเคลียส กินอาหารโดยใิ้กระบวนการ
Phagocytosisมักมีสารสีซึ่งมักเป็นสีส้มหรือสีเหลือง
• - ระยะ Fruiting body ระยะที่มีการสืบพันธุ์โดยการแบ่งไมโอซสเพื่อสร้างสปอร์ และมีการสร้าง
เซลล์สืบพันธุ์
16. Division Dictyostelida
- ลักษณะแตกต่างจาก plasmodial slime molds คือ ระยะ จะเป็นเซลล์
เดียวไม่ได้รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่
• - ในวงชีพมีความแตกต่างกัน
• สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอำณำจักรฟังไจ ประกอบด้วย รำ เห็ด และยีสต์
• ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรฟังไจ
• 1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
• 2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดารงิีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย
• 3. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส
• 4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกว่าขยุ้มรา
(mycelium) ลักษณะของเส้นใยแบ่งออกเป็น 2 ินิด
• 4.1 เส้นใยมีผนังกั้น (Septate hypha)
• 4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (Nonseptate hypha or coencytic hypha)
อำณำจักรฟังไจ (Kingdom
Fungi)
• สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรนี้แบ่งเป็น 4 ไฟลัม คือ
1. ไฟลัมไซโกไมโคตำ (Phylum Zygomycota)
• ราที่มีวิวัฒนาการต่าสุด
• ลักษณะ
• 1. เซลล์เดี่ยวเจริญอยู่ในน้า บนบก และซากพืิซากสัตว์
• 2. เส้นใยินิดไม่มีผนังกั้น
• 3. ต้องการความิื้น
• 4. ดารงิีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู้ย่อยสลาย (saprophyte)
• 5. การสืบพันธุ์
• - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า sporangiospore
• - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า zygospore
• ประโยชน์
• 1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์
• 2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก
• โทษ
• ทาให้เกิดโรคในพืิและสัตว์
ภาพแสดงวงิีวิตของ Zygomycetes , Rhizopus
2. ไฟลัมแอสโคไมโคตำ (Phylum Ascomycota)
• ลักษณะ
• 1. เซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ นอกนั้นเป็นพวกมีเส้นใยมีผนังกั้นและเป็นราคล้ายถ้วย (cup fungi)
• 2. ดารงิีวิตบนบก
• 3. การสืบพันธุ์
• - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า conidia ที่ปลายไฮฟา ส่วนยีสต์จะแตกหน่อ
• - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ ที่มีิื่อว่า ascospore อยู่ในถุงเรียกว่า ascus
•
• ประโยชน์
• 1. Saccharomyces cerevisiae ใิ้ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง
• 2. Monascus sp. ใิ้ผลิตข้าวแดงและเต้าหู้ยี้
•
• โทษ
• เกิดโรคกับคนและสัตว์
ภาพแสดงวงิีวิตของ Ascomycete
3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตำ (Phylum Basidiomycota)
• ลักษณะ
• 1. เส้นใยมีผนังกั้นและรวมตัวอัดแน่นเป็นแท่งคล้ายลาต้น เิ่น ดอกเห็ด
• 2. การสืบพันธุ์
• - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า codiospore ใน conidia
• - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ที่สร้างโดยอาศัยเพศสร้างบนอวัยวะคล้ายกระบองหรือเบสิเดียม (basidium) เรียกว่า แบสิดิโอ
สปอร์ (basidiospore)
•
• ประโยชน์
• ใิ้เป็นแหล่งอาหาร
•
• โทษ
• 1. ทาให้เกิดโรคในพืิ เิ่น ราสนิม ราเขม่า
• 2. เห็ดรา มีสารพิษเข้าทาลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ
ภาพแสดงวงิีวิตของ Basidiomycetes
4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตำ (Phylum Deuteromycota)
• ลักษณะ
• 1. เส้นใยมีผนังกั้น
• 2. สืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศเท่านั้น โดยสร้างสปอร์ที่เรียกว่า โคนิเดีย (conidia) จึงเรียกราในกลุ่มนี้ว่า Fungi Imperfecti
• 3. แต่หากเมื่อใดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะไปอยู่ใน Ascomycetes และ Basidiomycetes
•
• ประโยชน์
• 1. Penicillium chrysogernum ใิ้ผลิตยาปฏิิีวนะเพนิซิลลิน
• 2. Aspergillus wendtii ใิ้ผลิตเต้าเจี้ยว
• 3. A. oryzae ใิ้ผลิตเหล้าสาเก
•
• โทษ
• 1. ทาให้เกิดโรคในพืิ
• 2. สร้างสารพิษ ทาให้เกิดโรค
• 3. ทาให้เกิดโรคในคน เิ่น กลาก เกลื้อน โรคเท้าเปื่อยหรือฮ่องกงฟุต
ภาพแสดงวงิีวิตของ Deuteromycota
แหล่งที่มำ
ิีสการเรียนการสอนวิิา ecology โดย ผศ.ดร.ปกขวัญ หุตางกูร และ รศ.ไพรินทร์ กปิลานนท์
http://www.chaiwbi.com/2553student/m5/d5102/wbi/535111/index_pre.htmlhttp://www.vchark
arn.com/exam/set/479
http://203.114.120.251/phayalae14/paiboon/testpaiboon/2.html
http://www.thaigoodview.com/node/46207
http://www.multisrn.com/moodle/iframe/new/Templates/p21.htm
http://www.thaigoodview.com/node/49836
http://www.thaigoodview.com/node/45228
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=572
http://www.sahavicha.com/?name=test&file=readtest&id=907
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/science04/13/page/test.html
http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1419010
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=568
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=569
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=571
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=570

More Related Content

What's hot

บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 

What's hot (20)

บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 

Viewers also liked

ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโตชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโตIced Megi
 
Proctor & gamble by G.B.Manikanta
Proctor & gamble by G.B.ManikantaProctor & gamble by G.B.Manikanta
Proctor & gamble by G.B.ManikantaGAJAVALLI MANIKANTA
 
Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )
Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )
Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )mayvanphong9x
 

Viewers also liked (11)

ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโตชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
 
Recomendaciones
RecomendacionesRecomendaciones
Recomendaciones
 
Proctor & gamble by G.B.Manikanta
Proctor & gamble by G.B.ManikantaProctor & gamble by G.B.Manikanta
Proctor & gamble by G.B.Manikanta
 
Sloganes Alumnos
Sloganes AlumnosSloganes Alumnos
Sloganes Alumnos
 
86515539 construccion-de-cerco-perimetrico
86515539 construccion-de-cerco-perimetrico86515539 construccion-de-cerco-perimetrico
86515539 construccion-de-cerco-perimetrico
 
Aritmetica y-geometria-i-6º
Aritmetica y-geometria-i-6ºAritmetica y-geometria-i-6º
Aritmetica y-geometria-i-6º
 
Ce groningen 2 joustra
Ce groningen 2 joustraCe groningen 2 joustra
Ce groningen 2 joustra
 
Derroche de alimentos
Derroche de alimentosDerroche de alimentos
Derroche de alimentos
 
Fondation ReBin Presentation
Fondation ReBin PresentationFondation ReBin Presentation
Fondation ReBin Presentation
 
Exam2.j.j
Exam2.j.jExam2.j.j
Exam2.j.j
 
Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )
Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )
Sua may cham cong gia re, tan noi ( Seiko QR-6550 )
 

Similar to ความหลากหลายของชีวิต

อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราPannee Ponlawat
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 

Similar to ความหลากหลายของชีวิต (20)

ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 

More from น๊อต เอกลักษณ์

More from น๊อต เอกลักษณ์ (10)

แผ่นพับอ.ตี้
แผ่นพับอ.ตี้แผ่นพับอ.ตี้
แผ่นพับอ.ตี้
 
ขันหมากกระดาษธรรมดา
ขันหมากกระดาษธรรมดาขันหมากกระดาษธรรมดา
ขันหมากกระดาษธรรมดา
 
การประดิษฐ์กระถางดอกไม้จากขวดพลาสติก
การประดิษฐ์กระถางดอกไม้จากขวดพลาสติกการประดิษฐ์กระถางดอกไม้จากขวดพลาสติก
การประดิษฐ์กระถางดอกไม้จากขวดพลาสติก
 
ปก.Docx is.-ตัวจริง
ปก.Docx is.-ตัวจริงปก.Docx is.-ตัวจริง
ปก.Docx is.-ตัวจริง
 
Project report
Project reportProject report
Project report
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุป  อภิปรายผล ข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุป  อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
 

ความหลากหลายของชีวิต

  • 2. พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกำเนิดขึ้นมำแล้วไม่ต่ำกว่ำ 400 ล้ำนปี มีหลักฐำนหลำยอย่ำงที่ทำให้เชื่อว่ำพืชมีวิวัฒนำกำรมำ จำกสำหร่ำยสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีกำรปรับตัวจำกสภำพที่เคยอยู่ในน้ำขึ้นมำอยู่บนบก ด้วยกำรสร้ำง คุณสมบัติต่ำง ๆ ที่เหมำะสมขึ้นมำ เช่น มีกำรสร้ำงคิวติน (cutin) ขึ้นมำปกคลุมผิวของลำต้นและใบเรียกว่ำ คิวทิเคิล (cuticle) เพื่อป้องกันกำรสูญเสียน้ำ และกำรเกิด สโทมำตำ (stomata) เพื่อทำหน้ำที่ระบำยน้ำและแลกเปลี่ยนก๊ำซ เป็น ต้น อำณำจักรพืชแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ - พืชไม่มีท่อลำเลียง ได้แก่ Division Bryophyta - พืชที่มีท่อลำเลียง ได้แก่ Division Psilophyta , Division Lycophyta , Division Sphenophyta , Division Pterophyta , Division Coniferophyta , Division Cycadophyta , Division Ginkophyta , Division Gnetophyta , Division Anthophyta อำณำจักรพืช (Plant Kingdom)
  • 3. 1. Division Bryophyta พืชที่ไม่มีระบบท่อลาเลียง มี ขนาดเล็ก ได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวิร์ด
  • 4. 2. Division Psilopphyta พืชที่มีท่อลาเลียงชั้นต่า ไม่มี ใบและรากที่แท้จริง ได้แก่ หวายทะนอย (Psilotum)
  • 5. 3. Division Lycophytaพืชที่มีท่อลาเลียงที่มีลาต้น ใบ และรากที่แท้จริงแต่ยังมีใบขนาดเล็ก ได้แก่ ช้องนางคลี่ ( Lycopodium ) และ ตีนตุ๊กแก ( Sellaginella )
  • 6. 4.Division Sphenophyta พืชที่มีท่อลาเลียง ลาต้นลักษณะเป็น ข้อและปล้อง มีการสร้างสปอร์ ได้แก่ สนหางม้าหรือหญ้าถอดปล้อง ( Equisetum )
  • 7. 5. Division Pterophyta พืชที่มีท่อลาเลียง มี หลายชนิดแตกต่างกัน ได้แก่ เฟิร์น( Fern ) แหนแดง( Azolla ) และจอกหูหนู ( Salvinia )
  • 8. 6. Division Coniferophyta พืชที่สร้าง เมล็ดเปือย ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ได้แก่ พวกสน ( Pinus ) เช่น สนสองใบและสนสามใบ
  • 9. 7. Division Cycadophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ ปรง ( Cycad ) 7. Division Cycadophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได ้แก่ ปรง ( Cycad )
  • 10. 8. Division Ginkgophyta พืชที่สร้าง เมล็ดเปือย ได้แก่ แปะก๊วย (Ginkgo biloba )
  • 11. 9. Division Gnetophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ มะเมื่อย (Gnetum) 9. Division Gnetophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได ้แก่ มะเมื่อย (Gnetum)
  • 12. 10. Division Anthophyta พืชที่สร้างเมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม ถือว่ามี วิวัฒนาการสูงสุด พบมากที่สุด ได้แก่ พืชดอก (Flowering plant)
  • 13. สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอำณำจักรมีมำกกว่ำ 1.7 ล้ำนสปี ชีส์ ในจำนวนนี้เป็ นแมลงประมำณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็ น สิ่งมีชีวิตที่มีควำมสำคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทำให้มีกำรถ่ำยทอดพลังงำนไปยังผู้บริโภคระดับ ต่ำงๆ นอกจำกนี้สัตว์ยังเป็นตัวทำให้เกิดแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีควำมสำคัญในกำรสังเครำะห์ด้วยแสงของพืช และ ก่อให้เกิดควำมสมดุลในธรรมชำติ สัตว์เป็ นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิ ลล์จึงไม่สำมำรถสร้ำงอำหำรได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่ำงๆดังนี้ อำณำจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
  • 14. 1. ไฟลัมพอริเฟอรำ(PHYLUM PORIFERA) • สัตว์ที่ลาตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera • - เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง (Parazoa) • - ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ • - มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม • - มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว • - ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มีสมมาตร • - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม • - มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใยโปรตีน)
  • 15.
  • 16. 2. ไฟลัมซีเลนเทอรำตำ(PHYLUM COELENTERATA) • ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata • - ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis • - ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่ • - ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ทาหน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละ กากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน • - มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle)ใช้สาหรับจับเหยื่อ • - ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyteเเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า nematocyst • - มีวงจรชีพสลับ • - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ • - มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
  • 17.
  • 18. 3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) • ได้แก่ พยาธิใบไม้พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes • - มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateralsymmetry) • - ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด • - ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่ เซลล์โดยตรง • - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนักและในพวกพยาธิตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร • - มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว • - มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว (Cross fretilization)
  • 19.
  • 20. 4. ไฟลัมนีมำโทดำ(PHYLUM NEMATODA) • ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในน้าส้มสายชู • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda • - ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์ • - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม • - สมมาตรครึ่งซีก • - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก • - ร่างกายมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น • - มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุอยู่เต็ม • - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว • - ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ • - การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเวดล้อมได้ดี
  • 21.
  • 22. 5. ไฟลัมแอนนิลิดำ (PHYLUM ANNILIDA) • ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือดและปลิงน้าจืด • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida • - มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้อเยื่อกั้นระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa ) • - เเต่ละปล้องมีอวัยวะคือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละ ช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง • - ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ ) • - ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก • - มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น • - มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม • - ระบบประสาทประกอบด้วยปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง
  • 23.
  • 24. 6. ไฟลัมอำร์โทรโปดำ (PHYLUM ARTHROPODA) • ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม แมงดาทะเล • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda • - มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของลาตัว • - มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ • - สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลกนับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตบนโลกเป็น อย่างมาก เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาลและพบเป็นจานวนมาก • - มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง • - มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด • - มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ ท้อง(Abdomen) • - ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด(Hemocoel)
  • 25.
  • 26. 7. ไฟลัมมอลลัสกำ(PHYLUM MOLLUSCA) • สัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca • - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ • 1. head and foot • 2. visceral mass • 3. mantle,palium เกิด mantlecavity มีเหงือกภายใน • - สัตว์ในไฟลัมนี้มีลาตัวอ่อนนุ่มบางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO • - แยกเพศผู้-เมีย • - ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเลมีอาศัยอยู่บนบกบ้าง • - อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย • 1. เหงือก (gill)อยู่ภายในช่องแมนเติลพบในมอลลัสทั่วไป • 2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า เซอราตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill) • 3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลวหล่อเลี้ยงในช่องนี้ทาให้สามารถ แลกเปลี่ยนแก๊สได้ 3
  • 27.
  • 28. 8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มำตำ (PHYLUM ECHINODERMATA) • สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm • - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี • - ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง • - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บางินิด • - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน • - การเคลื่อนไหวใิ้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย • - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางินิด เิ่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
  • 29.
  • 30. 9. ไฟลัมคอร์ดำตำ (PHYLUM CHORDATA) • คุณสมบัติเฉพำะของ Phylum Chordata • - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของิีวิต หรือ ตลอดิีวิต ในพวกสัตว์ิั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด • - มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือทางเดิน อาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง(Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน • - มีิ่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของิีวิต หรือตลอดิีวิตในพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังิั้นสูง เิ่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีิ่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อโตขึ้นิ่องเหงือกจะปิดส่วนปลามี ิ่องเหงือกตลอดิีวิต • - มีหางเป็นกล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail)
  • 31.
  • 32. อำณำจักรมอเนอรำ (Kingdom Monera) ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรมอเนอรำ - เป็นสิ่งมีิีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) ในขณะที่สิ่งมีิีวิตอื่นๆทุกอาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์แบบยูคารีโอต (eukaryotic cell) - ไม่มีออร์แกเนลล์ินิดมีเยื่อหุ้มเิ่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอ โรพลาสต์ มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มคือไรโบโซม สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรนี้แบ่งเป็น 2 ไฟลัม คือ
  • 33. 1.ไฟลัมชิโซไฟตำ (Phylum Schizophyta) • สิ่งมีิีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้ ได้แก่ แบคทีเรีย • ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดำ คือ • 1. มีเซลล์ขนาดเล็ก • 2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ • 2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์) • 2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหูพจน์) • 2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหูพจน์)
  • 34. 3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิด ลักษณะเฉพาะ เิ่น แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลม มีการเรียงตัวหลายแบบ - เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้าย พวงองุ่น เรียก staphylococci
  • 35. • แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นิัดเท่าทรงกลม แต่อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจาก ระยะการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับสภาพของการเพาะเลี้ยงในอาหาร • แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละินิดมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง • ประโยชน์ของแบคทีเรีย • 1. ด้านอุตสาหกรรม เิ่นการผลิตอาหารหมัก ใิ้ฟอกหนัง • 2. ด้านการเกษตร เิ่นใิ้เป็นปุ๋ ย • 3. การทดสอบคุณภาพน้า • 4. ทางด้านการแพทย์ เิ่นการผลิตยาปฏิิีวนะ • 5. ใิ้ในเทคโนโลยีิีวภาพ โดยใิ้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะต่าง ๆ • 6. ิ่วยย่อยสลายซากสิ่งมีิีวิตให้เป็นอาหารของพืิ • โทษของแบคทีเรีย • 1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย • 2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เิ่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์ เิ่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืิ เิ่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
  • 36. 2.ไฟลัมไซยำโนไฟตำ (Phylum Cyanophyta) • ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกิื่อใหม่ว่า Cyanobacteria • ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยำโนไฟตำ คือ • 1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella • 2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็น chloroplast • 3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin • 4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ
  • 39. • กำรสืบพันธุ์ของ Cyanocacteria • 1. การแบ่งตัว Binary fission. • 2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย • 3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เิ่น akinete • ประโยชน์ • - เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2 • - Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใิ้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์ • - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ ยในดิน เิ่น แหนแดง (Azolla) ซึ่ง Anabaena อยู่ิ่องว่างกลางใบ
  • 40. อำณำจักรโปรติสตำ (Kingdom Protista)ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรโปรติสตำ 1. ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางินิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ทาหน้าที่ ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทาหน้าที่ของความเป็น สิ่งมีิีวิตได้ครบถ้วนอย่าง อิสระ 2. ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืิและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อนก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย 3. การดารงิีพ มีทั้งินิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer) 4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ 5. การเคลื่อนที่ บางินิดเคลื่อนที่ได้โดยใิ้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางินิดเคลื่อนที่ ไม่ได้ 6. การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งินิด คอนจูเกิัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเิ่นที่พบในพารามีเซียม ราดา เป็นต้น และินิด ปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเิ่นที่พบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น สิ่งมีชีวิตในอำณำจักรนี้แบ่งเป็น
  • 41. 1. Division Diplomonadida • เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria , endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่ มีออกซิเจน (Anaerobic environment) • ลักษณะ • - มีนิวเคลียส 2 อันขนาดเท่ากัน • - มี Flagella หลายเส้น • ตัวอย่างเิ่น Giardia intestinalis : เป็นปรสิตในลาไส้เล็กของคน
  • 42. 2. Division Parabasala • เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria , endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่ มีออกซิเจน (Anaerobic environment) • ลักษณะ • - มี Flagella หลายเส้น • - มีเยื้อหุ้มลักษณะเป็นรอยหยักคล้ายคลื่น • ตัวอย่างเิ่น Trichomonas vaginalis : เป็นปรสิตในิ่องคลอด • Trichonympha : อาศัยอยู่ในลาไส้ปลวกดารงิีพแบบภาวะพึ่งพากัน
  • 43. 3. Division Kinetoplastida • เป็นโพรทิสต์กลุ่มที่เคลื่อนที่โดยใิ้ Flagella ซึ่งประกอบด้วย Microtubule เรียงกัยแบบ 9+2 มีทั้ง ที่เป็นผู้ผลิตผู้บริโภคและปรสิต • ลักษณะ • - มี Mirochondria อันเดียวขนาดใหญ่ ภายในมี DNA เรียกว่า Kinetoplast • - มีทั้งพวกที่ดารงิีวิตอิสระ และเป็นปรสิต. • ตัวอย่างเิ่น Trypanosoma sp. • - เกิดโรคเหงาหลับ (sleeping sickness) ในแอฟริกามี African tsetse fly เป็นพาหะ • - โรค Chagas's disease ในอเมริกาใต้ มี Kissing bug เป็นพาหะ
  • 44. 4. Division Euglenophyta • ลักษณะ • - มี Chlorplast สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ จึงดารงิีพเป็นผู้ผลิตเมื่อมีแสง • - เก็บอาหารที่สร้างได้ใน Paramylon granules • - เมื่อไม่มีแสงก็ดารงิีพเป็นผู้บริโภค • - มีอายสปอต (eye spot) ในการตอยสนองต่อแสง
  • 45. 5. Division Dinoflagellata • ลักษณะ • - เป็น Phytoplakton ทั้งในน้าจืดและน้าทะเล • - ส่วนใหญ่อยู่เป็นเซลล์เดียว มีบ้างที่อาศัยอยู่รวมกันเป็น colony • - ลักษณะสาคัญคือ มีแผ่น Cellulose อยู่ภายใน ประกอบกันคล้ายเกราะ มีลวดลายสวยงามและมี Flagellum 2 เส้น • - บางินิดมีการสะสมสารพิษ ทาให้ทะเลมีสีแดง เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ (red tide) ซึ่งเป็น อันตรายต่อสัตว์น้าเป็นจานวนมาก • - บางินิดอาศัยร่วมกับปะการัง โดยนา CO2 จากปะการังมาสังเคราะห์ด้วยแสง
  • 46. 6. Division Apicomplexa • ลักษณะ • - กลุ่มนี้ทุกินิดเป็นปรสิตในสัตว์ มีโครงสร้างสาหรับแทงผ่ายเซลล์โฮสต์ • - ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ • - ตัวอย่างในกลุ่มนี้ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทาให้เกิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อื่น • - malaria เป็นโรคเขตร้อน มียุงก้นปล้องเป็นพาหะ • เิื้อ Plasmodium ที่ก่อโรคในคนมี 4 ินิด ได้แก่ • - Plasmodium falciparum • - Plasmodium vivax • - Plasmodium malariae • - Plasmodium ovale • ในประเทศไทยเิื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นินิด P.falciparum และ P.vivax
  • 47.
  • 48. 7. Division Ciliophora • ลักษณะ • - มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่โดยใิ้ Cilia • - อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้าหรือความิื้นสูง • - ตัวอย่างเิ่น Stentor , Paramecium , Vorticella • - มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเรียกว่า Conjugation
  • 49. 8.Division Oomycota • ลักษณะ • - เรียกว่า Egg fungus : water mold, white rust, downy mildews • - แตกต่างจาก Stramenopila กลุ่มอื่นๆ ตรงที่ไม่มีรงควัตถุที่ใิ้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง • - มีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ที่ประกอบด้วยหลายนิวเคลียส • - ไม่ได้จัดเป็นรา • - ส่วนใหญ่ดารงิีวิตเป็นผู้ย่อยสลายในน้า • - มีบ้างที่เป็นปรสิตในพืิ เิ่น white rust (ราขาวในมันฝรั่ง)
  • 50. 9.Division Bacillariophyta • ลักษณะ • - เป็นสาหร่ายที่มีสารสีินิดเดียวกับที่พบในสาหร่ายสีน้าตาล • - เป็นสิ่งมีิีวิตเซลล์เดียว มีผนังเซลล์ประกอบด้วย Silica • - ส่วนมากมักสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ • - พบมากในแหล่งน้าจืดและน้าเค็ม เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสิ่งมีิีวิตในระบบนิเวศ • - ซากไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ เป็น diatomaceous earth เป็นแหล่งรวมของแร่ธาตุ และน้ามัน ซึ่งนามาใิ้ประโยิน์ในการทา • ไส้กรองและยาขัดต่าง ๆ
  • 51.
  • 52. 10. Division Phaeophyta• ลักษณะ • - เป็นสาหร่ายที่มีขนาดใหญ่ และมีโครงสร้างซับซ้อน • - สาหร่ายสีน้าตาล เรียกว่า Seaweed • - เกือบทั้งหมดอาศัยอยู่ในทะเล มักอยู่ในกระแสน้าเย็น • - มีความสาคัญต่อสิ่งมีิีวิตที่อาศัยในน้าโดยเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยและใิ้ในการหลบภัย • - มีสารสีน้าตาลเรียกว่า ฟิวโคแซนทิน • - เรียกโครงสร้างรวม ๆ ของสาหร่ายินิดนี้ว่า Thallus • - มีโครงสร้างคล้ายราก เรียกว่า Holdfast • - โครงสร้างคล้ายลาต้น เรียกว่า Stipe • - โครงสร้างคล้ายใบ เรียกว่า Blade หรือ Lamina • ตัวอย่างเิ่น สาหร่ายเคลป์ ( Kelp) ซึ่งอาจมีความยาวถึง 60 เมตร • สาหร่ายทุ่น ( sagassum sp.) • ลามินาเรีย ( Laminaria sp.) • พาไดนา ( Padina sp.) • ฟิวกัส ( Fucus sp. )
  • 53. 11. Division Rhodophyta • สาหร่ายสีแดง (red algae) มีสารสีไฟโคอีรีทิน (phycoerythrin) แคโรทีนและคลอโรฟิลล์ ต่าง จากสาหร่ายกลุ่มอื่น บางินิดไม่มีสารสี เป็นปรสิตกับสาหร่ายสีแดงินิดอื่นๆ สามารถดูดกลืนแสงสีน้าเงิน และเขียวในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี ส่วนใหญ่จะมีหลายเซลล์ สามารถมีขนาดใหญ่เรียกว่า Seaweed ได้ในลักษณะเดียวกันกับสาหร่ายสีน้าตาล และที่สาคัญคือ ไม่มีระยะที่มีแฟลกเจลลา • ตัวอย่างเิ่น จีฉ่าย หรือ พอร์ไฟรา (Porphyra sp.) นามาทาเป็นอาหาร • สาหร่ายผมนางหรือ กราซิลาเรีย (Gracilaria sp.) ใิ้ผลิตวุ้น
  • 54. 12. Division Chlorophyta • สาหร่ายสีเขียว (green algae) มีลักษณะคล้ายพืิทั้งในแง่โครงสร้าง ผนังเซลล์และส่วนประกอบของสารสี คือ คลอโรฟิลล์ เอ บีและแคโรทีน ส่วนใหญ่พบในแหล่งน้าจืด บางินิดอยู่ร่วมกับราเป็น lichens เกือบทุกินิดมี ระยะอาศัยเพศ โดยเซลล์สืบพันธุ์ใิ้ Flagella 2 เส้นในการเคลื่อนที่ สามารถปรับตัวในที่ไม่เหมาะสมได้ เิ่น หิมะ (watermelon snow) และเิื่อว่าพืิมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว • ลักษณะ • - เซลล์เดียว Chlamydomonas • Chlorella (ป็นสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียวที่มีโปรตีนสูง นิยมผลิตเป็นอาหารเสริม) • - อยู่รวมกันหลายเซลล์เป็น Colony Volvox • - เซลล์รวมกันมีขนาดใหญ่ (Supercell) Caulerpa • - โครงสร้างเป็น Cell weed Ulva • - ไม่มี Flagellum ในการเคลื่อนที่ Spirogyra หรือ เทาน้า ( ใิ้ Ameboid gamete)
  • 55.
  • 56. 13. Division Gymnamoeba • ลักษณะ • - เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายมาก เิ่น Amoeba • - ส่วนมากเป็นผู้บริโภค • - บางินิดเป็นผู้ย่อยสลาย (Detritus)
  • 57. 14. Division Entamoeba • ลักษณะ • - Entamoeba histolytica เป็นปรสิต ก่อให้เกิดโรคบิดมีตัว ผลแทรกซ้อนก่ให้เกิดฝีในตับ • - Entamoeba gingivalis อาศัยแบบพึ่งพากับคนในิ่องปาก เก็บเศษอาหารต่างๆ เป็นเหตุ ให้มีกลิ่นปาก
  • 58. 15. Division Myxogastrida • มี 2 ระยะ คือ • - ระยะ Plasmodium หากินโดยใิ้ Pseudopodium ซึ่งมีขนาดใหญ่ได้มากเป็น เซนติเมตร เป็นหลายๆเซลล์รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่มากมีหลายนิวเคลียส กินอาหารโดยใิ้กระบวนการ Phagocytosisมักมีสารสีซึ่งมักเป็นสีส้มหรือสีเหลือง • - ระยะ Fruiting body ระยะที่มีการสืบพันธุ์โดยการแบ่งไมโอซสเพื่อสร้างสปอร์ และมีการสร้าง เซลล์สืบพันธุ์
  • 59. 16. Division Dictyostelida - ลักษณะแตกต่างจาก plasmodial slime molds คือ ระยะ จะเป็นเซลล์ เดียวไม่ได้รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่ • - ในวงชีพมีความแตกต่างกัน
  • 60. • สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอำณำจักรฟังไจ ประกอบด้วย รำ เห็ด และยีสต์ • ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรฟังไจ • 1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส • 2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดารงิีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย • 3. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส • 4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกว่าขยุ้มรา (mycelium) ลักษณะของเส้นใยแบ่งออกเป็น 2 ินิด • 4.1 เส้นใยมีผนังกั้น (Septate hypha) • 4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (Nonseptate hypha or coencytic hypha) อำณำจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)
  • 62. 1. ไฟลัมไซโกไมโคตำ (Phylum Zygomycota) • ราที่มีวิวัฒนาการต่าสุด • ลักษณะ • 1. เซลล์เดี่ยวเจริญอยู่ในน้า บนบก และซากพืิซากสัตว์ • 2. เส้นใยินิดไม่มีผนังกั้น • 3. ต้องการความิื้น • 4. ดารงิีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู้ย่อยสลาย (saprophyte) • 5. การสืบพันธุ์ • - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า sporangiospore • - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า zygospore • ประโยชน์ • 1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์ • 2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก • โทษ • ทาให้เกิดโรคในพืิและสัตว์
  • 64. 2. ไฟลัมแอสโคไมโคตำ (Phylum Ascomycota) • ลักษณะ • 1. เซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ นอกนั้นเป็นพวกมีเส้นใยมีผนังกั้นและเป็นราคล้ายถ้วย (cup fungi) • 2. ดารงิีวิตบนบก • 3. การสืบพันธุ์ • - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า conidia ที่ปลายไฮฟา ส่วนยีสต์จะแตกหน่อ • - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ ที่มีิื่อว่า ascospore อยู่ในถุงเรียกว่า ascus • • ประโยชน์ • 1. Saccharomyces cerevisiae ใิ้ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง • 2. Monascus sp. ใิ้ผลิตข้าวแดงและเต้าหู้ยี้ • • โทษ • เกิดโรคกับคนและสัตว์
  • 66. 3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตำ (Phylum Basidiomycota) • ลักษณะ • 1. เส้นใยมีผนังกั้นและรวมตัวอัดแน่นเป็นแท่งคล้ายลาต้น เิ่น ดอกเห็ด • 2. การสืบพันธุ์ • - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า codiospore ใน conidia • - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ที่สร้างโดยอาศัยเพศสร้างบนอวัยวะคล้ายกระบองหรือเบสิเดียม (basidium) เรียกว่า แบสิดิโอ สปอร์ (basidiospore) • • ประโยชน์ • ใิ้เป็นแหล่งอาหาร • • โทษ • 1. ทาให้เกิดโรคในพืิ เิ่น ราสนิม ราเขม่า • 2. เห็ดรา มีสารพิษเข้าทาลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ
  • 68. 4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตำ (Phylum Deuteromycota) • ลักษณะ • 1. เส้นใยมีผนังกั้น • 2. สืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศเท่านั้น โดยสร้างสปอร์ที่เรียกว่า โคนิเดีย (conidia) จึงเรียกราในกลุ่มนี้ว่า Fungi Imperfecti • 3. แต่หากเมื่อใดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะไปอยู่ใน Ascomycetes และ Basidiomycetes • • ประโยชน์ • 1. Penicillium chrysogernum ใิ้ผลิตยาปฏิิีวนะเพนิซิลลิน • 2. Aspergillus wendtii ใิ้ผลิตเต้าเจี้ยว • 3. A. oryzae ใิ้ผลิตเหล้าสาเก • • โทษ • 1. ทาให้เกิดโรคในพืิ • 2. สร้างสารพิษ ทาให้เกิดโรค • 3. ทาให้เกิดโรคในคน เิ่น กลาก เกลื้อน โรคเท้าเปื่อยหรือฮ่องกงฟุต
  • 70. แหล่งที่มำ ิีสการเรียนการสอนวิิา ecology โดย ผศ.ดร.ปกขวัญ หุตางกูร และ รศ.ไพรินทร์ กปิลานนท์ http://www.chaiwbi.com/2553student/m5/d5102/wbi/535111/index_pre.htmlhttp://www.vchark arn.com/exam/set/479 http://203.114.120.251/phayalae14/paiboon/testpaiboon/2.html http://www.thaigoodview.com/node/46207 http://www.multisrn.com/moodle/iframe/new/Templates/p21.htm http://www.thaigoodview.com/node/49836 http://www.thaigoodview.com/node/45228 http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=572 http://www.sahavicha.com/?name=test&file=readtest&id=907 http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/science04/13/page/test.html http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1419010 http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=568 http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=569 http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=571 http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=570