SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ขั้นตอนการแก้ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน ของปัญหา คือ
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ปัญหาและกาหนดรายละเอียด
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนในการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง
จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทาความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ ออกว่าข้อมูลที่กาหนด
มาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้
ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าว
โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้
1. การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา
2. การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้ าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ
3. การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีหาคาตอบหรือข้อมูลออก
ขั้นตอนนี้จาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก ขั้นตอนนี้จะเริ่มจาก
การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่องมือ
กับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหาซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือในการ
แก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่งที่สาคัญคือความคุ้นเคยในการใช้งานเครื่องมือนั้นๆ ของผู้
แก้ปัญหา
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ขั้นตอนนี้ก็เป็น
การใช้โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ต้องอาศัย
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่
ดาเนินการหากพบแนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสารสนเทศ หลักการแก้ปัญหาตามวิธีวิทยาศาสตร์
หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิศวกรรม วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจ
ว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้อง
ตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับ
รายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก
เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณี
อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ แบ่งได้เป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่
การถ่ายทอดความคิดในการแก้ไขปัญหา
การถ่ายทอดความคิดในการแก้ไขปัญหาด้วยอัลกอริทึม [Algorithm ]
อัลกอริทึม (Algorithm) คือ กระบวนการ การทางานที่ใช้การตัดสินใจ
โดยนาหลักเหตุผลและคณิตศาสตร์มาช่วยเลือกวิธีการหรือขั้นตอนการดาเนินงาน
ต่อไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย เป็นวิธีการที่ใช้แยกย่อยและเรียงลาดับขั้นตอน
ของกระบวนการในการทางานต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาและแก้ไข
ปัญหา
เครื่องมือที่ใช้ในการจาลองความคิด
มักจะประกอบขึ้นด้วยเครื่องหมายที่แตกต่างกันหลายอย่าง แต่พอสรุป
ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การจาลองความคิดเป็นข้อความหรือคาบรรยาย (Algorithm)
เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน
เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการทางานของการแก้ปัญหาแต่ละตอน ในบางครั้งอาจ
ใช้คาสั่งของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้
2. การจาลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน (Flowchart)
สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่อสาร
ความหมายให้เข้าใจตรงกัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา ได้กาหนด
สัญลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐานแล้ว สามารถนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสมต่อไป
รหัสลาลองหรือ pseudocode เป็นคาบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี(algorithm) ของ
การเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม โดยอาจใช้
ภาษาที่ใช้ทั่วไปและอาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนใน
การเขียน pseudocode และไม่สามารถนาไปทางานบนคอมพิวเตอร์โดยตรง(เพราะไม่ใช่
คาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์) และไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง นิยม
ใช้ pseudocode แสดง algorithm มากกว่าใช้ผังงาน เพราะผังงานอาจไม่แสดง
รายละเอียดมากนักและใช้สัญลักษณ์ซึ่งทาให้ไม่สะดวกในการเขียน เช่นโปรแกรมใหญ่ ๆ มักจะ
ประกอบด้วยคาสั่งต่างๆที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจริงๆ
เช่น begin…end, if…else, do…while, while, for, read และ print การ
เขียนรหัสจาลองจะต้องมีการวางแผนสาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆที่จะใช้ในโปรแกรมด้วย
การสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) แทนการกาหนดค่าให้กาหนดตัวแปรนั้นๆ
ผังงาน (flowchart) คือ แผนภาพซึ่งแสดงลาดับขั้นตอนของการทางาน โดยแต่ละ
ขั้นตอนจะถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ซึ่งมีความหมายบ่งบอกว่า ขั้นตอนนั้น ๆ มีลักษณะการ
ทางาน ทาให้ง่ายต่อความเข้าใจ ว่าในการทางานนั้นมีขั้นตอนอะไรบ้าง และมีลาดับอย่างไร
ประเภทของผังงาน
1. ผังงานระบบ (system flowchart) เป็นผังซึ่งแสดงขอบเขต และลาดับขั้นตอน
การทางานของระบบหนึ่ง ๆ
2. ผังงานโปรแกรม (Program flowchart) เป็นผังงานซึ่งแสดงลาดับขั้นตอนการ
ทางานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ
การใช้สัญลักษณ์
จะใช้สัญลักษณ์ที่เป็นรูปภาพแทนคาสั่งการทางานโดยจะไม่ใช้คาอธิบายลักษณะ
การทางาน มีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นไปสิ้นสุดโปรแกรม
โครงสร้างการเขียนผังงาน
เป็นรูปแบบพื้นฐานของการเขียนผังงาน เนื่องจากเขียนได้
ง่ายและนาไปใช้งานมากที่สุด
ผังงานโปรแกรมสามารถนามาใช้เขียนโปรแกรม โดยในการ
เขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้ภาษาได้หลายภาษา ไม่ว่าจะ
เป็นภาษาแอสเซมบลี ภาษาเบสิก ภาษาซี ภาษาปาสคาล
ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน หรือภาษาอื่น ๆ ซึ่งแต่ละ
ภาษาก็มีรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้แตกต่างกันออกไป
แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีรูปแบบหรือโครงสร้างของคาสั่งที่
คล้ายกัน โดยทั่วไปทุกคาสั่งจะมีคาสั่งพื้นฐานต่อไปนี้
• คาสั่งการรับข้อมูลเข้า และการแสดงผล
• คาสั่งการกาหนดค่า
• คาสั่งการเปรียบเทียบเงื่อนไข
• คาสั่งการทาซ้าหรือการวนลูป
ช่วยให้สามารถทาความเข้าใจลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
หรือระบบใด ๆได้อย่างรวดเร็ว
• ช่วยแสดงลาดับขั้นตอนการทางาน ทาให้สามารถเขียนโปรแกรม
ได้อย่างเป็นระบบไม่สับสน นอกจากนี้ผังงานยังเป็นอิสระต่อภาษาที่ใช้
ในการ เขียนโปรแกรม กล่าวคือจากผังงานเดียวกันสามารถนาไปเขียน
โปรแกรมด้วยภาษาใดก็ได้
• ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด
ข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
• ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย
และรวดเร็ว

More Related Content

Similar to กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมJa Phenpitcha
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเอ็ม พุฒิพงษ์
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมNunnaphat Chadajit
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศWanit Sahnguansak
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศwarathip pongkan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศbenz18
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6yosawat1089
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศwanit sahnguansak
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศLatcha MaMiew
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ Hiz Hi
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 

Similar to กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2-คอม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
หลักการเบื้องต้นแก้ปัญหาป.6
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 

More from Kantida SilverSoul

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1Kantida SilverSoul
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์Kantida SilverSoul
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)Kantida SilverSoul
 

More from Kantida SilverSoul (14)

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคม
 
Nerve system 5.5
Nerve system 5.5Nerve system 5.5
Nerve system 5.5
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
 

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ