SlideShare a Scribd company logo
การบริหารสถานศึกษาเชิงกล
ยุทธ ์
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู ้ ความ
เข้าใจ ทักษะในการบริหารสถานศึกษา
เชิงกลยุทธ ์
• เพื่อให้นาความรู ้และประสบการณ์ไป
ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการบริหาร
สถานศึกษา เชิงกลยุทธ ์
ทาไมต้องบริหารเชิงกลยุทธ ์
• 1. เพื่อกาหนดทิศทางของสถานศึกษา (Set
Direction)
• 2. เพื่อสร้างความสอดคล้องในการปฏิบัติ
(Harmony)
• 3. เพื่อสร้างความพร้อมให้แก่สถานศึกษา (Provide
Readiness)
• 4. เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน (Improve
Competitive Efficiency)
การบริหารเชิงกลยุทธ ์(Strategic
Management)
• คือการบริหารเชิงรุกที่สร้างความพร้อมให้กับ
สถานศึกษา โดยสมาชิกเข้าใจตัวตนของ
สถานศึกษา จึงกาหนดทิศทางการดาเนินงาน สร้าง
ความสอดคล้องของการปฏิบัติงานให้มีความพร้อม
ต่อการเปลี่ยนแปลง มีการจัดสรรทรัพยากรที่
เหมาะสม สามารถพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถ
และเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน นาไปสู่การเพิ่ม
โอกาสความสาเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ของ
สถานศึกษา
• การบริหารเชิงกลยุทธ ์(Strategic Management)
หมายถึงกระบวนการ ซึ่งรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
3 ประการ คือ
• 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ ์(Strategic analysis)
เป็ นงานที่จะต้องทาไว้ล่วงหน้าและต้องมีการพัฒนา
จึงจะเป็ นการพัฒนากลยุทธ ์ที่เหมาะสม
• 2) การกาหนดกลยุทธ ์(Strategy formulation)
เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ต้องทาไว้ล่วงหน้าให้
เป็ นแผน ซึ่งได้ผลลัพธ ์คือ กลยุทธ ์ที่กาหนด
• 3) การปฏิบัติตามกลยุทธ ์และการควบคุม
กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ ์(Strategic
Management Process)
• 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environment
Analysis) ผู้บริหารจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยใน
ด้านต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานของ
สถานศึกษา ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ คือ
• สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment)
• สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment)
• สถานศึกษา ทาการวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength)
จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ
อุปสรรค (Threat) หรือที่เรียกว่า การวิเคราะห์SWOT
(SWOT Analysis) ว่าแต่ละปัจจัยมีส่วนเอื้ออานวยหรือ
ขัดขวางการดาเนินงานของสถานศึกษา อย่างไรบ้าง
• 2. การกาหนดทิศทางของสถานศึกษา (Set
OrganizationDirection)
• ผู้บริหารจะนาข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับจากการ
วิเคราะห์โอกาสและข้อจากัดมาทาการ
ประมวลผล เพื่อใช้กาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ ์
ของสถานศึกษา โดยที่การกาหนดทิศทาง
ของสถานศึกษา สามารถกระทาได้ในลักษณะ
ของการกาหนดภารกิจและการตั้งเป้ าหมาย
(Mission and Goal Establishment) ของ
• 3. การกาหนดกลยุทธ ์(Strategy
Formulation) หมายถึง การนาทิศทางของ
สถานศึกษา ที่กาหนดไว้อย่างกว้างๆ มา
พัฒนาเพื่อเป็ นแนวทางการดาเนินงานใน
อนาคตของสถานศึกษา โดยมักจะกาหนดกล
ยุทธ ์ตามระดับขั้นภายในสถานศึกษา
• 4. การนากลยุทธ ์ไปปฏิบัติ (Strategy
Implementation) หมายถึง การนากลยุทธ ์
ที่ถูกกาหนดขึ้นไปประยุกต์ในการดาเนินงาน
อย่างเป็ นรูปธรรม ผ่านการจัดโครงสร้าง
บุคลากร และการประสานงานร่วมกันอย่าง
เป็ นระบบ
• 5. การควบคุมและการประเมินกลยุทธ ์
(Strategy Evaluation and Control)
หมายถึง การติดตามและตรวจสอบ
(Monitoring) วิเคราะห์ปัญหา กาหนด
แนวทาง ปรับปรุง และพัฒนาให้กลยุทธ ์ที่
กาลังดาเนินอยู่เกิดความสอดคล้องกับ
สถานการณ์จริง เพื่อสถานศึกษา จะได้คุณ
ค่าสูงสุดจากการดาเนินงานตลอดจนทาการ
ประเมินผลจากการดาเนินกลยุทธ ์ว่าประสบ
ผลสาเร็จดังที่ตั้งเป้ าหมายไว้หรือไม่เพียงใด
สรุป กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ ์
• 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (
Environmental Analysis )
• 2. การจัดวางทิศทางของสถานศึกษา(Establishing
Organizational Direction)
• 3. การกาหนดกลยุทธ ์ของสถานศึกษา ( Strategy
Formulation )
• 4. การปฏิบัติงานตามกลยุทธ ์ ( Strategy
Implementation )
• 5. การควบคุมเชิงกลยุทธ ์ ( Strategy Control )
-
/
-
-
-
-
- /
-
-
-
-
-
/
S
tra
te
g
icP
la
n
n
in
g
S
tra
te
g
ic
Im
p
le
m
e
n
ta
tio
n
S
tra
te
g
ic
M
o
n
o
to
rin
g
ขั้นตอนการบริหารเชิงกลยุทธ ์
• การวางแผน
• การกาหนดจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา
(Organization Purpose)การวิเคราะห์ SWOT เพื่อ
ทราบ จุดแข็ง จุดอ่อน ภายในของสถานศึกษา
โอกาสที่ดีและภัยคุกคามจากสภาพภายนอก กาหนด
เป็ นกลยุทธ ์ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนสถานศึกษา
กาหนดวิสัยทัศน์(Vision) ซึ่งเป็ นการกาหนดเป้ าหมาย
ในอนาคตที่เป็ นไปได้ในระยะเวลาที่ชัดเจน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ขั้นตอนสาคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ ์
1.1 การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)
เพื่อทราบจุดแข็งจุดอ่อนภายในของสถานศึกษา
โอกาสที่ดีและภัยคุกคามจากสภาพภายนอก
S = Strength
W = Weakness
O = Opportunity
T = Threat
วิธีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
1.1 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
สถานศึกษา
1.2 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
สถานศึกษา
1.3 ให้คะแนนถ่วงน้าหนักเพื่อประเมิน
สถานภาพสถานศึกษา
แนวทางการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายนอก
STEP
• S:Social ได้แก่ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี
ความเชื่อ ค่านิยม
• T:Technology เทคโนโลยี นวัตกรรม ภูมิ
ปัญญา
• E:Economic เศรษฐกิจ ค่าเงิน นโยบาย
การเงิน การคลัง
C-PEST
• C : Customer- ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีใน
ปัจจุบัน ทาให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สามารถเข้าถึงการบริการ
• P : Politics มีกฎ ระเบียบ คาสั่ง นโยบาย ที่ชัดเจน
ถูกต้อง มีความต่อเนื่องของหน่วย/สถานศึกษา ทา
ให้เกิดความเชื่อมั่นกับผู้รับบริการ
• E : Environment , Economic – การจัดสรร
งบประมาณของรัฐบาล ชุมชน
• S : Society , Culture , Value – พัฒนาองค์ความรู ้
แนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายใน
2s 4M
Structure : S1 โครงสร้างและนโยบายของ
สถานศึกษา
Service : S2 ระบบการให้บริการ
Man : ทรัพยากรบุคคล
Money : งบประมาณ
Material : เครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์
Management/Method : การบริหารจัดการ
แนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายใน (ต่อ)
7S
• Strategy : เป้ าหมาย กลยุทธ ์สถานศึกษา
• Structure : โครงสร้างสถานศึกษา
• System : ระบบการบริหารจัดการสถานศึกษา
• Staff : บุคลากร
• Style : บุคลิกของสถานศึกษา วัฒนธรรมสถานศึกษา
• Skill : ทักษะของบุคลากร
• Share Value : ค่านิยมของคนในสถานศึกษา ความเป็ น
หนึ่งเดียว ความสามัคคี
สรุป การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
• เมื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับ จุดแข็ง-จุดอ่อน โอกาส-
อุปสรรค จากการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัย
ภายนอกด้วยการประเมิน สภาพภายในและสภาพ
ภายนอกของสถานศึกษาแล้ว ให้นา จุดแข็ง-จุดอ่อน
ภายใน เปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอก
เพื่อดูว่าสถานศึกษา กาลังเผชิญสถานการณ์เช่นใด
และภายใต้สถานการณ์ สถานศึกษาควรจะทา
อย่างไร โดยทั่วไป แล้วผลจากการดาเนินการวิเคราะห์
SWOT ดังกล่าวนี้ สถานศึกษา จะอยู่ในสถานการณ์4
้
• OStars Situation (SO) กลยุทธ ์สร้าง เปิ ด เพิ่ม บุก
รุก ขยาย
• OQuestion Marks Situation (WO) ปรับปรุง
พัฒนา แก้ไข ทบทวน ประสานความร่วมมือ ขอรับ
การสนับสนุน
• OCash Cows Situation (ST) ปรับปรุง พัฒนา ลด
ต้นทุน ลดระยะเวลา
• O Dogs Situation (WT) เลิก/ลดภารกิจบางด้านที่
มีจุดอ่อน และภัยคุกคาม หรือ คิดใหม่ ทาใหม่ ถ่าย
การจัดวางทิศทางของสถานศึกษา
( Establishing Organizational
Direction )
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
เป้ าหมาย
วัตถุประสงค์
กลยุทธ ์
สิ่งที่ต้องกาหนดในการจัดวางทิศทางของ
สถานศึกษา
• วิสัยทัศน์ของ สถานศึกษา (Organizational
Vision)
• ภารกิจของ สถานศึกษา (Organizational
Mission)
• เป้ าหมายของ สถานศึกษา (Organizational
Goals)
• วัตถุประสงค์ของ สถานศึกษา (Organizational
Objective)
• กลยุทธ ์ของ สถานศึกษา
วิสัยทัศน์ (Vision)
วิสัยทัศน์ (Vision)
ภาพ สิ่งดี ๆ ที่ผู้บริหารและบุคลากร ต้องการให้
เกิดขึ้นในสถานศึกษา
ในอนาคตข้างหน้า เป็ นอุดมคติ (Ideology) ภาพ
อนาคตที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา
วิสัยทัศน์จะเกิดขึ้นได้จากปัญญาของผู้บริหารที่มี
สายตาที่กว้างไกล รวมทั้งยาวไกลด้วย
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา (Organizational
Vision)
• เพื่อให้ทราบถึงจุดหมายปลายทางในการ
ดาเนินกิจกรรม ว่าในที่สุดแล้วสถานศึกษา
ต้องการจะเป็ นอะไร ซึ่งเป็ นภาพความต้องการ
ในอนาคต
การกาหนดพันธกิจของสถานศึกษา
พันธกิจ (Mission)
เป็ นการกาหนดว่าสถานศึกษาต้องมีภาระผูกพัน
อะไรบ้าง หรือต้องทากิจกรรมหลักอะไรบ้างจึงจะ
สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งเอาไว้ได้ จากนั้นจึงนา
กิจกรรมหลักที่กาหนดขึ้นมาระบุถึงผลลัพธ ์ที่
สถานศึกษาคาดหวัง
เป็ นข้อความที่จะบอกว่าสถานศึกษานั้น ๆ จะ
ดาเนินงาน อย่างไร และเพื่อใคร เนื้อหาของพันธกิจ
มักจะครอบคลุมขอบเขตของการดาเนินงาน ปรัชญา
• ตัวอย่างการเขียน พันธกิจ
• 1. พัฒนา ผู้เรียน ให้ได้คุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล
• 2. ส่งเสริม ให้ผู้เรียน มีคุณธรรม อยู่
อย่างพอเพียง
• 3. ส่งเสริมและพัฒนา สู่ความเป็ นครูมือ
อาชีพ ในศตวรรษที่21
• 4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการ
บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมอย่างมี
เป้ าหมายของสถานศึกษา
• เป้ าหมายคือวัตถุประสงค์ที่มีการระบุอย่าง
ชัดเจน สามารถวัดได้ หรืออาจะเขียนใน
รูปแบบที่ระบุปริมาณชัดเจน เป้ าหมายที่ดี
ควรมีความท้าทาย สามารถทาได้ สอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์และพันธกิจชัดเจน เข้าใจง่าย
และทุกคนในสถานศึกษาต้องเข้าใจตรงกัน
ตัวอย่าง การเขียน เป้ าประสงค์
• 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตามเกณฑ์สถานศึกษากาหนด
• 2. ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
• 3. ผู้เรียนได้รับการปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
• 4. ผู้เรียนปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 5. ส่งเสริมให้ครูเป็ นครูยุคใหม่ ครูเป็ นผู้เรียนรู ้มีจิตวิญญาณ
ความเป็ นครู มีความแม่นยาทางวิชาการ มีทักษะการจัดการ
เรียนรู ้ที่หลากหลาย
• 6. ครูจัดการเรียนรู ้ที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู ้
่
การกาหนดกลยุทธ ์ของ
สถานศึกษา
( Strategy Formulation )
• การกาหนดกลยุทธ ์สถานศึกษา เป็ นการ
กาหนดวิธีการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
ซึ่งต้องเหมาะสมสอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมและสถานภาพของ
สถานศึกษา ที่ได้ศึกษาไว้ โดยยึด
ทิศทางของสถานศึกษา กลุ่มเป้ าหมาย
ที่ได้รับผลประโยชน์ ลักษณะงานที่ทา
และทางเลือกที่เหมาะสม
ตัวอย่างการเขียน กลยุทธ ์
• กลยุทธ ์1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม
หลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือ
ในการเรียนรู ้
• กลยุทธ ์2 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความสานึกในความเป็ นชาติ
ไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความรับผิด
ขอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และห่างไกลยาเสพติด
• กลยุทธ ์3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้
ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และลดความเสี่ยงจาก
การออกกลางคันโดยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง
• กลยุทธ ์4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถ
จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ
• กลยุทธ ์5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทาง
การกระจายอานาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วน
่
การปฏิบัติงานตามกลยุทธ ์
( Strategy Implementation )
• การนาแผนไปปฏิบัติ คือการจัดเตรียมบุคคลผู้
ปฏิบัติตามแผนและการกาหนดมอบหมาย
ความรับผิดชอบ ตามตัวชี้วัดผลการ
ดาเนินงาน (KPIs) ตัวชี้ในระดับผลผลิต
(Output) และผลลัพธ ์(Outcome)
• การควบคุมและประเมินผล ได้แก่การติดตาม
โครงการ (Project monitoring) การ
ตรวจสอบและติดตามความก้าวหน้า การ
เปรียบเทียบผลลัพธ ์ที่ว่าเป็ นไปตามที่เป้ าหมาย
การนาแผนกลยุทธ ์ไปใช้
• ก่อนการนาแผนกลยุทธ ์ไปใช้ในระดับองศ ์การและระดับแผนงาน
ผู้บริหารทั้ง ต้องนาแผนกลยุทธ ์ของแต่ละระดับจัดทาพันธะสัญญา(MOU:
Memorandum of Understanding) ระหว่างผู้บังคับบัญชาและ
ผู้รับผิดชอบ ก่อนนาไปสู่การปฏิบัติ
• จัดทาคู่มือการดาเนินการ
• คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual/Work Manual) เป็ น
คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานสาหรับผู้รับผิดชอบระดับแผนงานหรืองาน
ภารกิจ ที่จะนาแนวทางในคู่มือนโยบายมาสู่แนวทางการปฏิบัติให้แก่
บุคลากรในกลุ่มงานภารกิจได้รับรู ้และปฏิบัติไปในแนวเดียวกัน ฉะนั้น
เป้ าหมายของกลุ่มจึงยึด พันธะกิจที่กลุ่มรับผิดชอบมากระจายเป็ น
เป้ าหมาย ตัวชี้วัดสาคัญ ที่แสดง วัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัด วิธีดาเนินการ
ทีจะนาไปสู่เป้ าหมายของสถานศึกษา
• คู่มือการทางาน (Work Instruction) บุคลากรในแต่ละกลุ่มภารกิจที่
การประเมินและควบคุมกลยุทธ ์(Strategic
Evaluation and Control)
วัตถุประสงค์ของการประเมินและควบคุมกลยุทธ ์
• เพื่อติดตามว่ามีการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ ์
ที่กาหนดไว้หรือไม่
• เพื่อประเมินความเหมาะสมของแผนที่วางไว้และ
ประเมินความสอดคล้องกับโครงสร้างสถานศึกษา
• เพื่อประเมินสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงและ
สัมพันธ ์กับกิจกรรม
• เพื่อทราบผลการดาเนินงานว่าบรรลุผลตามที่
กาหนดไว้หรือไม่
การควบคุมกลยุทธ ์ประกอบด้วย
• กาหนดวัตถุประสงค์และสิ่งที่ต้องควบคุม
• กาหนดเกณฑ์และมาตรฐานการปฏิบัติงาน
• วัดผลการปฏิบัติงานตามช่วงเวลาที่กาหนด
• เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐาน
และเกณฑ์ที่กาหนด
• ปรับปรุงแก้ไข
กระบวนการประเมินและควบคุมกลยุทธ ์
• ติดตามผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดสาคัญที่
กาหนด (Track Status)
• การรายงานความก้าวหน้าเป็ นระยะ
(Communicate Process)
• วัดและประเมินผลเมื่อครบกาหนดตามแผน
(Measurement and Evaluation)
แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ ์แบบครบวงจร ที่นิยม
ใช้กัน
นิยมใช้วงจรการบริหารแบบเดมิ่ง (Deming Cycle)
คือการจัดระบบการบริหารให้ครบทั้ง 4 ขั้นตอน
ได้แก่
• การวางแผน (Plan)
• การนาแผนไปปฏิบัติ (Do)
• การติดตามประเมินผล (Check)
• การปรับมาตรฐาน(Act)
• PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้น
โดย วอล์ทเตอร ์ซิวฮาร ์ท(Walter Shewhart
)ผู้บุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการ
อุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้ เริ่มเป็ นที่รู ้จัก
กันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร ์ด เดมมิ่ง (W.Edwards
Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพ
เผยแพร่ให้เป็ นเครื่องมือสาหรับการปรับปรุง
กระบวนการทางานของพนักงานภายใน
โรงงานให้ดียิ่ง
Scenario Analysis
การวิเคราะห์พยากรณ์แนวโน้ม(Scenario
Analysis) คือ อะไร
• วิเคราะห์จากแนวโน้ม (trends) ที่เห็นอยู่ใน
ปัจจุบัน
• ความไม่แน่นอน (uncertainties) ที่อาจ
เกิดขึ้นได้ในอนาคต
• สร้างผลลัพธ ์ทางเลือกที่เป็ นไปได้
S T E P a n a l y s i s ภายนอก
องค์กร
• S = Social
• T = Technology
• E = Economic
• P = Politics
S O A R a n a l y s i s ภายในองค์กร
• S = Strengths (จุดแข็ง)
• O = Opportunities (โอกาส)
• A = Aspiration (ความมุ่งมาด
ปรารถนา)
• R = Results (ผลลัพธ ์)
Scenario building
• คาดคะเน (projection) อนาคตที่เป็ นไปได้
ภายใต้สมมติฐานเพื่อกาหนดเป้ าหมายและ
ตัวชี้วัด
S c e n a r i o p l a n n i n g
• เพื่อกาหนดยุทธศาสตร ์/กลยุทธ ์และ
โครงการ/กิจกรรม
ปัจจัย สู่ความสาเร็จ
• ปัจจัย ที่มีผลต่อการวางแผนในอนาคตให้มี
ความแม่นยามากยิ่งขึ้นให้คือ “ข้อมูล”
• สถานการณ์ในอนาคตจะต้องถูกสร้างขึ้นจาก
ข้อมูลที่น่าเชื่อถือมากกว่าการคาดคะเน
สรุป
การนาหลักบริหารเชิงกลยุทธ ์ไปใช้ใน
สถานศึกษา
(Strategic management to the school.)
ในการบริหารสถานศึกษา หากผู้บริหารนาหลักการ
บริหารเชิงกลยุทธ ์ไปประยุกต์ใช้ในการจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จะช่วยให้ทิศทางการจัด
การศึกษา เป้ าหมายของสถานศึกษา (School Goals) การ
ระดมทรัพยากร และการประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน
เครือข่ายประสบความสาเร็จได้มากยิ่งขึ้น
ใบงาน
• แบงกลุ่ม จัดทา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
เป้ าประสงค์และกลยุทธ ์สถานศึกษา ศูนย์
การศึกษาพิเศษจังหวัด.....................

More Related Content

What's hot

ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
I'Lay Saruta
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
kroofon fon
 
Swot
 Swot Swot
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
Faris Singhasena
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
Twatchai Tangutairuang
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไปแนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
ประพันธ์ เวารัมย์
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
จตุรพล ชานันโท
 

What's hot (20)

ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
8ติวข้อสอบสสวทสารและแยกสาร
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
Swot
 Swot Swot
Swot
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดี คุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไปแนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 

Similar to การบริหารสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์.pptx

ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
kanidta vatanyoo
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2kruliew
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
kruliew
 
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
Chalermpon Dondee
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
รูปแบบ สคริฟเวน 2003
รูปแบบ สคริฟเวน 2003รูปแบบ สคริฟเวน 2003
รูปแบบ สคริฟเวน 2003
norparaw
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qdMUQD
 
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
maruay songtanin
 

Similar to การบริหารสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์.pptx (20)

ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
 
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
รูปแบบ สคริฟเวน 2003
รูปแบบ สคริฟเวน 2003รูปแบบ สคริฟเวน 2003
รูปแบบ สคริฟเวน 2003
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

การบริหารสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์.pptx

  • 2. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู ้ ความ เข้าใจ ทักษะในการบริหารสถานศึกษา เชิงกลยุทธ ์ • เพื่อให้นาความรู ้และประสบการณ์ไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการบริหาร สถานศึกษา เชิงกลยุทธ ์
  • 3. ทาไมต้องบริหารเชิงกลยุทธ ์ • 1. เพื่อกาหนดทิศทางของสถานศึกษา (Set Direction) • 2. เพื่อสร้างความสอดคล้องในการปฏิบัติ (Harmony) • 3. เพื่อสร้างความพร้อมให้แก่สถานศึกษา (Provide Readiness) • 4. เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน (Improve Competitive Efficiency)
  • 4. การบริหารเชิงกลยุทธ ์(Strategic Management) • คือการบริหารเชิงรุกที่สร้างความพร้อมให้กับ สถานศึกษา โดยสมาชิกเข้าใจตัวตนของ สถานศึกษา จึงกาหนดทิศทางการดาเนินงาน สร้าง ความสอดคล้องของการปฏิบัติงานให้มีความพร้อม ต่อการเปลี่ยนแปลง มีการจัดสรรทรัพยากรที่ เหมาะสม สามารถพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถ และเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน นาไปสู่การเพิ่ม โอกาสความสาเร็จบรรลุวัตถุประสงค์ของ สถานศึกษา
  • 5. • การบริหารเชิงกลยุทธ ์(Strategic Management) หมายถึงกระบวนการ ซึ่งรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน 3 ประการ คือ • 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ ์(Strategic analysis) เป็ นงานที่จะต้องทาไว้ล่วงหน้าและต้องมีการพัฒนา จึงจะเป็ นการพัฒนากลยุทธ ์ที่เหมาะสม • 2) การกาหนดกลยุทธ ์(Strategy formulation) เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ต้องทาไว้ล่วงหน้าให้ เป็ นแผน ซึ่งได้ผลลัพธ ์คือ กลยุทธ ์ที่กาหนด • 3) การปฏิบัติตามกลยุทธ ์และการควบคุม
  • 6. กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ ์(Strategic Management Process) • 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environment Analysis) ผู้บริหารจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยใน ด้านต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานของ สถานศึกษา ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ คือ • สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) • สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) • สถานศึกษา ทาการวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ อุปสรรค (Threat) หรือที่เรียกว่า การวิเคราะห์SWOT (SWOT Analysis) ว่าแต่ละปัจจัยมีส่วนเอื้ออานวยหรือ ขัดขวางการดาเนินงานของสถานศึกษา อย่างไรบ้าง
  • 7.
  • 8. • 2. การกาหนดทิศทางของสถานศึกษา (Set OrganizationDirection) • ผู้บริหารจะนาข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับจากการ วิเคราะห์โอกาสและข้อจากัดมาทาการ ประมวลผล เพื่อใช้กาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ ์ ของสถานศึกษา โดยที่การกาหนดทิศทาง ของสถานศึกษา สามารถกระทาได้ในลักษณะ ของการกาหนดภารกิจและการตั้งเป้ าหมาย (Mission and Goal Establishment) ของ
  • 9. • 3. การกาหนดกลยุทธ ์(Strategy Formulation) หมายถึง การนาทิศทางของ สถานศึกษา ที่กาหนดไว้อย่างกว้างๆ มา พัฒนาเพื่อเป็ นแนวทางการดาเนินงานใน อนาคตของสถานศึกษา โดยมักจะกาหนดกล ยุทธ ์ตามระดับขั้นภายในสถานศึกษา
  • 10. • 4. การนากลยุทธ ์ไปปฏิบัติ (Strategy Implementation) หมายถึง การนากลยุทธ ์ ที่ถูกกาหนดขึ้นไปประยุกต์ในการดาเนินงาน อย่างเป็ นรูปธรรม ผ่านการจัดโครงสร้าง บุคลากร และการประสานงานร่วมกันอย่าง เป็ นระบบ
  • 11. • 5. การควบคุมและการประเมินกลยุทธ ์ (Strategy Evaluation and Control) หมายถึง การติดตามและตรวจสอบ (Monitoring) วิเคราะห์ปัญหา กาหนด แนวทาง ปรับปรุง และพัฒนาให้กลยุทธ ์ที่ กาลังดาเนินอยู่เกิดความสอดคล้องกับ สถานการณ์จริง เพื่อสถานศึกษา จะได้คุณ ค่าสูงสุดจากการดาเนินงานตลอดจนทาการ ประเมินผลจากการดาเนินกลยุทธ ์ว่าประสบ ผลสาเร็จดังที่ตั้งเป้ าหมายไว้หรือไม่เพียงใด
  • 12. สรุป กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ ์ • 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ( Environmental Analysis ) • 2. การจัดวางทิศทางของสถานศึกษา(Establishing Organizational Direction) • 3. การกาหนดกลยุทธ ์ของสถานศึกษา ( Strategy Formulation ) • 4. การปฏิบัติงานตามกลยุทธ ์ ( Strategy Implementation ) • 5. การควบคุมเชิงกลยุทธ ์ ( Strategy Control )
  • 14. ขั้นตอนการบริหารเชิงกลยุทธ ์ • การวางแผน • การกาหนดจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา (Organization Purpose)การวิเคราะห์ SWOT เพื่อ ทราบ จุดแข็ง จุดอ่อน ภายในของสถานศึกษา โอกาสที่ดีและภัยคุกคามจากสภาพภายนอก กาหนด เป็ นกลยุทธ ์ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนสถานศึกษา กาหนดวิสัยทัศน์(Vision) ซึ่งเป็ นการกาหนดเป้ าหมาย ในอนาคตที่เป็ นไปได้ในระยะเวลาที่ชัดเจน
  • 16. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ขั้นตอนสาคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ ์ 1.1 การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) เพื่อทราบจุดแข็งจุดอ่อนภายในของสถานศึกษา โอกาสที่ดีและภัยคุกคามจากสภาพภายนอก S = Strength W = Weakness O = Opportunity T = Threat
  • 18. แนวทางการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก STEP • S:Social ได้แก่ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม • T:Technology เทคโนโลยี นวัตกรรม ภูมิ ปัญญา • E:Economic เศรษฐกิจ ค่าเงิน นโยบาย การเงิน การคลัง
  • 19. C-PEST • C : Customer- ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีใน ปัจจุบัน ทาให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถเข้าถึงการบริการ • P : Politics มีกฎ ระเบียบ คาสั่ง นโยบาย ที่ชัดเจน ถูกต้อง มีความต่อเนื่องของหน่วย/สถานศึกษา ทา ให้เกิดความเชื่อมั่นกับผู้รับบริการ • E : Environment , Economic – การจัดสรร งบประมาณของรัฐบาล ชุมชน • S : Society , Culture , Value – พัฒนาองค์ความรู ้
  • 20. แนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน 2s 4M Structure : S1 โครงสร้างและนโยบายของ สถานศึกษา Service : S2 ระบบการให้บริการ Man : ทรัพยากรบุคคล Money : งบประมาณ Material : เครื่องไม้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ Management/Method : การบริหารจัดการ
  • 21. แนวทางการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน (ต่อ) 7S • Strategy : เป้ าหมาย กลยุทธ ์สถานศึกษา • Structure : โครงสร้างสถานศึกษา • System : ระบบการบริหารจัดการสถานศึกษา • Staff : บุคลากร • Style : บุคลิกของสถานศึกษา วัฒนธรรมสถานศึกษา • Skill : ทักษะของบุคลากร • Share Value : ค่านิยมของคนในสถานศึกษา ความเป็ น หนึ่งเดียว ความสามัคคี
  • 22. สรุป การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม • เมื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับ จุดแข็ง-จุดอ่อน โอกาส- อุปสรรค จากการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัย ภายนอกด้วยการประเมิน สภาพภายในและสภาพ ภายนอกของสถานศึกษาแล้ว ให้นา จุดแข็ง-จุดอ่อน ภายใน เปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอก เพื่อดูว่าสถานศึกษา กาลังเผชิญสถานการณ์เช่นใด และภายใต้สถานการณ์ สถานศึกษาควรจะทา อย่างไร โดยทั่วไป แล้วผลจากการดาเนินการวิเคราะห์ SWOT ดังกล่าวนี้ สถานศึกษา จะอยู่ในสถานการณ์4 ้
  • 23.
  • 24. • OStars Situation (SO) กลยุทธ ์สร้าง เปิ ด เพิ่ม บุก รุก ขยาย • OQuestion Marks Situation (WO) ปรับปรุง พัฒนา แก้ไข ทบทวน ประสานความร่วมมือ ขอรับ การสนับสนุน • OCash Cows Situation (ST) ปรับปรุง พัฒนา ลด ต้นทุน ลดระยะเวลา • O Dogs Situation (WT) เลิก/ลดภารกิจบางด้านที่ มีจุดอ่อน และภัยคุกคาม หรือ คิดใหม่ ทาใหม่ ถ่าย
  • 27. สิ่งที่ต้องกาหนดในการจัดวางทิศทางของ สถานศึกษา • วิสัยทัศน์ของ สถานศึกษา (Organizational Vision) • ภารกิจของ สถานศึกษา (Organizational Mission) • เป้ าหมายของ สถานศึกษา (Organizational Goals) • วัตถุประสงค์ของ สถานศึกษา (Organizational Objective) • กลยุทธ ์ของ สถานศึกษา
  • 28. วิสัยทัศน์ (Vision) วิสัยทัศน์ (Vision) ภาพ สิ่งดี ๆ ที่ผู้บริหารและบุคลากร ต้องการให้ เกิดขึ้นในสถานศึกษา ในอนาคตข้างหน้า เป็ นอุดมคติ (Ideology) ภาพ อนาคตที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา วิสัยทัศน์จะเกิดขึ้นได้จากปัญญาของผู้บริหารที่มี สายตาที่กว้างไกล รวมทั้งยาวไกลด้วย
  • 29. วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา (Organizational Vision) • เพื่อให้ทราบถึงจุดหมายปลายทางในการ ดาเนินกิจกรรม ว่าในที่สุดแล้วสถานศึกษา ต้องการจะเป็ นอะไร ซึ่งเป็ นภาพความต้องการ ในอนาคต
  • 30. การกาหนดพันธกิจของสถานศึกษา พันธกิจ (Mission) เป็ นการกาหนดว่าสถานศึกษาต้องมีภาระผูกพัน อะไรบ้าง หรือต้องทากิจกรรมหลักอะไรบ้างจึงจะ สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งเอาไว้ได้ จากนั้นจึงนา กิจกรรมหลักที่กาหนดขึ้นมาระบุถึงผลลัพธ ์ที่ สถานศึกษาคาดหวัง เป็ นข้อความที่จะบอกว่าสถานศึกษานั้น ๆ จะ ดาเนินงาน อย่างไร และเพื่อใคร เนื้อหาของพันธกิจ มักจะครอบคลุมขอบเขตของการดาเนินงาน ปรัชญา
  • 31. • ตัวอย่างการเขียน พันธกิจ • 1. พัฒนา ผู้เรียน ให้ได้คุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล • 2. ส่งเสริม ให้ผู้เรียน มีคุณธรรม อยู่ อย่างพอเพียง • 3. ส่งเสริมและพัฒนา สู่ความเป็ นครูมือ อาชีพ ในศตวรรษที่21 • 4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมอย่างมี
  • 32. เป้ าหมายของสถานศึกษา • เป้ าหมายคือวัตถุประสงค์ที่มีการระบุอย่าง ชัดเจน สามารถวัดได้ หรืออาจะเขียนใน รูปแบบที่ระบุปริมาณชัดเจน เป้ าหมายที่ดี ควรมีความท้าทาย สามารถทาได้ สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์และพันธกิจชัดเจน เข้าใจง่าย และทุกคนในสถานศึกษาต้องเข้าใจตรงกัน
  • 33. ตัวอย่าง การเขียน เป้ าประสงค์ • 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามเกณฑ์สถานศึกษากาหนด • 2. ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา • 3. ผู้เรียนได้รับการปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์ • 4. ผู้เรียนปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 5. ส่งเสริมให้ครูเป็ นครูยุคใหม่ ครูเป็ นผู้เรียนรู ้มีจิตวิญญาณ ความเป็ นครู มีความแม่นยาทางวิชาการ มีทักษะการจัดการ เรียนรู ้ที่หลากหลาย • 6. ครูจัดการเรียนรู ้ที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู ้ ่
  • 34.
  • 36. • การกาหนดกลยุทธ ์สถานศึกษา เป็ นการ กาหนดวิธีการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ซึ่งต้องเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมและสถานภาพของ สถานศึกษา ที่ได้ศึกษาไว้ โดยยึด ทิศทางของสถานศึกษา กลุ่มเป้ าหมาย ที่ได้รับผลประโยชน์ ลักษณะงานที่ทา และทางเลือกที่เหมาะสม
  • 37. ตัวอย่างการเขียน กลยุทธ ์ • กลยุทธ ์1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม หลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่องมือ ในการเรียนรู ้ • กลยุทธ ์2 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความสานึกในความเป็ นชาติ ไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความรับผิด ขอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และห่างไกลยาเสพติด • กลยุทธ ์3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนให้ ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และลดความเสี่ยงจาก การออกกลางคันโดยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง • กลยุทธ ์4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถ จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ • กลยุทธ ์5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทาง การกระจายอานาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วน ่
  • 39. • การนาแผนไปปฏิบัติ คือการจัดเตรียมบุคคลผู้ ปฏิบัติตามแผนและการกาหนดมอบหมาย ความรับผิดชอบ ตามตัวชี้วัดผลการ ดาเนินงาน (KPIs) ตัวชี้ในระดับผลผลิต (Output) และผลลัพธ ์(Outcome) • การควบคุมและประเมินผล ได้แก่การติดตาม โครงการ (Project monitoring) การ ตรวจสอบและติดตามความก้าวหน้า การ เปรียบเทียบผลลัพธ ์ที่ว่าเป็ นไปตามที่เป้ าหมาย
  • 40. การนาแผนกลยุทธ ์ไปใช้ • ก่อนการนาแผนกลยุทธ ์ไปใช้ในระดับองศ ์การและระดับแผนงาน ผู้บริหารทั้ง ต้องนาแผนกลยุทธ ์ของแต่ละระดับจัดทาพันธะสัญญา(MOU: Memorandum of Understanding) ระหว่างผู้บังคับบัญชาและ ผู้รับผิดชอบ ก่อนนาไปสู่การปฏิบัติ • จัดทาคู่มือการดาเนินการ • คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual/Work Manual) เป็ น คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานสาหรับผู้รับผิดชอบระดับแผนงานหรืองาน ภารกิจ ที่จะนาแนวทางในคู่มือนโยบายมาสู่แนวทางการปฏิบัติให้แก่ บุคลากรในกลุ่มงานภารกิจได้รับรู ้และปฏิบัติไปในแนวเดียวกัน ฉะนั้น เป้ าหมายของกลุ่มจึงยึด พันธะกิจที่กลุ่มรับผิดชอบมากระจายเป็ น เป้ าหมาย ตัวชี้วัดสาคัญ ที่แสดง วัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัด วิธีดาเนินการ ทีจะนาไปสู่เป้ าหมายของสถานศึกษา • คู่มือการทางาน (Work Instruction) บุคลากรในแต่ละกลุ่มภารกิจที่
  • 41. การประเมินและควบคุมกลยุทธ ์(Strategic Evaluation and Control) วัตถุประสงค์ของการประเมินและควบคุมกลยุทธ ์ • เพื่อติดตามว่ามีการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ ์ ที่กาหนดไว้หรือไม่ • เพื่อประเมินความเหมาะสมของแผนที่วางไว้และ ประเมินความสอดคล้องกับโครงสร้างสถานศึกษา • เพื่อประเมินสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงและ สัมพันธ ์กับกิจกรรม • เพื่อทราบผลการดาเนินงานว่าบรรลุผลตามที่ กาหนดไว้หรือไม่
  • 42. การควบคุมกลยุทธ ์ประกอบด้วย • กาหนดวัตถุประสงค์และสิ่งที่ต้องควบคุม • กาหนดเกณฑ์และมาตรฐานการปฏิบัติงาน • วัดผลการปฏิบัติงานตามช่วงเวลาที่กาหนด • เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐาน และเกณฑ์ที่กาหนด • ปรับปรุงแก้ไข
  • 43. กระบวนการประเมินและควบคุมกลยุทธ ์ • ติดตามผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดสาคัญที่ กาหนด (Track Status) • การรายงานความก้าวหน้าเป็ นระยะ (Communicate Process) • วัดและประเมินผลเมื่อครบกาหนดตามแผน (Measurement and Evaluation)
  • 44. แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ ์แบบครบวงจร ที่นิยม ใช้กัน นิยมใช้วงจรการบริหารแบบเดมิ่ง (Deming Cycle) คือการจัดระบบการบริหารให้ครบทั้ง 4 ขั้นตอน ได้แก่ • การวางแผน (Plan) • การนาแผนไปปฏิบัติ (Do) • การติดตามประเมินผล (Check) • การปรับมาตรฐาน(Act)
  • 45.
  • 46. • PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้น โดย วอล์ทเตอร ์ซิวฮาร ์ท(Walter Shewhart )ผู้บุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการ อุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้ เริ่มเป็ นที่รู ้จัก กันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร ์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพ เผยแพร่ให้เป็ นเครื่องมือสาหรับการปรับปรุง กระบวนการทางานของพนักงานภายใน โรงงานให้ดียิ่ง
  • 47. Scenario Analysis การวิเคราะห์พยากรณ์แนวโน้ม(Scenario Analysis) คือ อะไร • วิเคราะห์จากแนวโน้ม (trends) ที่เห็นอยู่ใน ปัจจุบัน • ความไม่แน่นอน (uncertainties) ที่อาจ เกิดขึ้นได้ในอนาคต • สร้างผลลัพธ ์ทางเลือกที่เป็ นไปได้
  • 48. S T E P a n a l y s i s ภายนอก องค์กร • S = Social • T = Technology • E = Economic • P = Politics
  • 49. S O A R a n a l y s i s ภายในองค์กร • S = Strengths (จุดแข็ง) • O = Opportunities (โอกาส) • A = Aspiration (ความมุ่งมาด ปรารถนา) • R = Results (ผลลัพธ ์)
  • 50. Scenario building • คาดคะเน (projection) อนาคตที่เป็ นไปได้ ภายใต้สมมติฐานเพื่อกาหนดเป้ าหมายและ ตัวชี้วัด
  • 51. S c e n a r i o p l a n n i n g • เพื่อกาหนดยุทธศาสตร ์/กลยุทธ ์และ โครงการ/กิจกรรม
  • 52. ปัจจัย สู่ความสาเร็จ • ปัจจัย ที่มีผลต่อการวางแผนในอนาคตให้มี ความแม่นยามากยิ่งขึ้นให้คือ “ข้อมูล” • สถานการณ์ในอนาคตจะต้องถูกสร้างขึ้นจาก ข้อมูลที่น่าเชื่อถือมากกว่าการคาดคะเน
  • 53. สรุป การนาหลักบริหารเชิงกลยุทธ ์ไปใช้ใน สถานศึกษา (Strategic management to the school.) ในการบริหารสถานศึกษา หากผู้บริหารนาหลักการ บริหารเชิงกลยุทธ ์ไปประยุกต์ใช้ในการจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จะช่วยให้ทิศทางการจัด การศึกษา เป้ าหมายของสถานศึกษา (School Goals) การ ระดมทรัพยากร และการประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน เครือข่ายประสบความสาเร็จได้มากยิ่งขึ้น
  • 54. ใบงาน • แบงกลุ่ม จัดทา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์และกลยุทธ ์สถานศึกษา ศูนย์ การศึกษาพิเศษจังหวัด.....................