SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
เอกสารประกอบการบรรยาย
เทคนิิ คการประเมิินผลการปฏิบตงาน
           ป            ปิ ัิ


สันติชย อินทรอ่อน และกฤษณะ ยอดแก้ว
      ั
      บริษท โ ลคอนเซิิรน จํากัด
         ิ ั โกลบัั     ์ ํ ั
        21-22 พฤศจิกายน 2555
ประเด็นการนํ าเสนอ
                            2


ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับการประเมินผล
                     ่

     กระบวนการบริหารผลงาน

       มาเริ่มต้น... กับการประเมิน

     Workshop : ลงมือปฏิบติ
                         ั

การเชื่อมโยงสูการปฏิบติ
              ่      ั
ประเด็นการนํ าเสนอ
                           3


ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับการประเมินผล
                     ่
จําเป็ นไหมที่ตองประเมิน
               ้
           4
การประเมิน คือ อะไรกันแน่ ...
                           5




    การ                                       วิจารณ
                         การวด
                             ั
  ประเมิน                                      ญาณ

Evaluation           Measurement             Judgment
ปัญหาของการประเมิน
             6




            Man




Processes          Tools
ปัญหาใหญ่ของการประเมิน
                       7




ธรกิจ Fail
ธุรกจ                             คน success
พัฒนาการของการประเมินผลทํางาน
                                                          8

การประเมินผล      เริ่มมีบทบาทมากขึ้นเพราะในยุคของการแข่งขัน ผูท่รูว่าตนเองมีความสามารถระดับใด และคู่แข่งมี
                                                               ้ี้
ความถนัดและความสามารถในระดับใด จะเป็ นผูชนะในการแข่งขัน
                                         ้


              ้
         ยุคดังเดิม                 ยุคสมัยใหม่           ยุคการเปลี่ยนแปลง             ภาพของอนาคต


         <30 ปี                         2540-50                    2550-60                     ต่อไป

• เน้นการควบคุม (Control)         • เน้นการกระจายอํานาจ       • เน้นความร่วมมือ         • เน้นการวัดผลการลงทุน
• ดูจากคุณลักษณะ (Trait)            (Decentralization)          (Collaboration)           (Return on Investment)
  เช่น เชื่อถือได้ เอาใจใส่งาน    • ดูจากผลงานเป็ นหลัก       • ดูจากผลงานและพฤติกรรม   • ดูจากศักยภาพ (Potential)
  จงรักภักดี ทะเยอทะยาน             (Performance)               (Performance &
                                                                Competency)
ความแตกต่างระหว่างการประเมินผลงานกับการบริหารผลงาน
                                   9



 ไม่เน้นเฉพาะแค่ผลงาน แต่เน้นที่พฤติกรรม ความรู ้ ทักษะ และความสามารถ
  ของพนักงานด้วย
 ไม่เน้นประเมิน แตเนนการตดตาม ใหคาแนะนา และสอนงาน
  ไมเนนประเมน แต่เน้นการติดตาม ให้คาแนะนํ า
                                       ํ
 ทําให้เกิดการสือสารระหว่างลูกน้องและหัวหน้าอย่างต่อเนื่ อง
                ่
 ผลงานมีแนวโน้มที่จะได้ตรงตามเป้ าหมายที่กาหนดมากกว่า
                                            ํ
องค์ประกอบของการบริหารผลงาน
                       10

ความรู ้




ทักษะ
                                         ผลงาน


 ความ
สามารถ




ความสุข
ประเด็นการนํ าเสนอ
                 11




กระบวนการบริหารผลงาน
กระบวนการบริหารผลงาน
                                    12




วางแผน          ติดตาม           พัฒนา            ประเมิน            ให้รางวัล


                การปรับปรุง/    เสริมจุดแข็ง/                         ตอบแทน
สิงที่คาดหวัง
 ่                                              รู้ว่าทําได้แค่ไหน
                 พัฒนางาน
                   ั            แก้ไขจุดอ่อน
                                   ้      ่                          ความทุ่มเท

ต้นเดือนม.ค.                      ก.พ.-พ.ค.                           ต้นเดือนมิ.ย.

ต้นเดือนก.ค.                      ส.ค.-พ.ย.                           ต้นเดือนธ.ค.
ประเด็นการนํ าเสนอ
                     13




มาเริ่มต้น... กับการประเมิน
สิงที่บอกว่าเขาควรได้เงินเดือนเพิมเท่าไหร่ควรดููจากอะไรบ้าง ?
   ่                              ่
                               14



 ผลงาน
 พฤติกรรมการทํางาน
 ความร้ ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบตงาน
  ความรู ความเขาใจ และทกษะการปฏบตงาน
                                   ัิ
 เวลาปฏิบตงาน   ัิ                           สมรรถนะ / Competency

 การฝึึ กอบรม
 .................
ผลงาน ?
                                     15




                                                          After
อะไรบางอย่างที่แสดงให้เห็นว่า….
สิงที่เราได้รบมอบหมายไปแล้ว หรือสิงที่เราให้คามันไปแล้ว
  ่          ั                     ่         ํ ่
วาจะตองทาใหสาเรจ เป็ นดังที่เราให้สจจะไว้เพียงใด
ว่าจะต้องทําให้สาเร็จ เปนดงทเราใหสจจะไวเพยงใด
                ํ                    ั

                                                                  Before
สมรรถนะ ?
               16



Skill
Knowledge

Attribute
องค์ประกอบของสมรรถนะ
                                               17

1. แรงจูงใ (Motives) – บางสิงบางอย่างที่ผลักดันอยู่ภายใน ทําให้คนได้ใช้ความคิดหรือ
           ใจ                    ่        ี                   ใ ใ ้ ไ ้ ้               ื
   แสดงออกในบางสิงบางอย่างที่เหนื อกว่าบุคคลทัวไป เช่น กล้าตัดสินใจ กล้าทําความผิด กล้า
                         ่                       ่
   เอาชนะอุปสรรค ฯลฯ
2. คุณลักษณะ (Traits) – ลักษณะทางกายภาพ และการตอบสนองต่อสถานการณ์หรือข้อมูลที่
   ไ รบใ กษณะที่ค่อนข้างถาวร เช่น สวย หล่อ ขี้ ีเหล่ ใ อน ขี้ ีบ่น ไ ยอมใคร คนจีนอาจ
   ได้้ ั ในลั         ี     ้                            ใจร้้        ไม่ ใ         ี
   เรียกว่า “โหงวเฮ้ง”
3. ความเชื่ือส่วนตัว (Self-Concept) – ทัศนคติ ค่านิ ยม หรือความเชื่ือบางอย่าง เช่น เชื่ือว่า “ทํา
                    ั                   ั                      ื                                ํ
   ดีได้ดี ทําชัวได้ชว” “มือใครยาวสาวได้สาวเอา” “ลูกค้าคือพระเจ้า เจ้านายคือพ่อของพระเจ้า”
                ่ ั่
4. ความรู ้ (Knowledge) - ข้อมูลและข่่าวสารบางอย่่างที่เี ป็็ นลักษณะเฉพาะสาขา
                               ้                                 ั
5. ทักษะ (Skill) - ความเชี่ยวชาญในสาขา/เรื่องที่โดดเด่น
ในแต่ละเรื่องเราจะประเมินอย่างไร ?
                             18



                   ระบบจัดเก็บข้อมูล    แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลและ
                    และรายงานผล              รายงานผล
ผลงาน



                 K : การทดสอบ           K : ข้อสอบ เอกสารอ้างอิง
                 S : การลงมือปฏิบติ
                              ฏ ั       S : เอกสารอ้างอิง แบบบันทึก
                                            เอกสารอางอง แบบบนทก
                 A : การสังเกต และ      A : แบบสังเกต แบบทดสอบ
สมรรถนะ              บันทึกพฤติกรรม
 KSA                                        จิตวิทยา แบบประเมิน
ข้อแนะนํ า Step ของการประเมิน
                            19




  มููลค่า
ศักยภาพ
 ความสุข
 ความสข
สมรรถนะ
 ผลงาน
พฤติกรรม
            2555    2556    2557     2558      2559   2560
เทคนิ คการถ่ายทอดเป้ าหมาย
อะไร คือ ความสามารถ และผลงาน
                           21
                                               ผลงาน

                                       ยอดขาย รายได้ กําไร




                       ความพึงพอใจของลูกค้า การรับรูว่าบริษทใส่ใจสิงแวดล้อม
                                                    ้      ั      ่

 ความสามารถ
                                      ระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพ
ความเชี่ยวชาญใน
              ใ
  การผลิตฟิล์ม
                                บุคลากรทมคุณภาพ เทคโนโลยีท่เี หมาะสม
                                บคลากรที่มีคณภาพ เทคโนโลยทเหมาะสม
ทิศทางการวัดผลในธุุรกิจปัจจุุบน
                                                              ั
                                                       22



                                                 Financial




                                                  Vision       Internal Business
            Customers                              and             Processes
                                                 Strategy




                                         Learning and Growth




From “A Balancing Act” by Howard Rohm in Perform magazine.
4 มุมมองของการวัดผลธุุรกิจ
                    ุ
                                  23
                                            Financial Perspective
The St t
Th Strategy                                If we succeed, how will
                                                we look to our
                                                shareholders?

                                  Customer Perspective
                                  To achieve our vision,
                                 how must we look to our
                                       customers?

                    Internal Perspective
                 To satisfy our customers,
                 which processes must we
                          excel at?

       Learning & Growth
          Perspective

   To hi
   T achieve our vision, how
                   i i    h
   must our organization learn
         and improve?
ในแต่ละเรื่องเราจะประเมินอย่างไร ?
                                                      24
                                               Long-term Shareholder
                                                  g
Financial
Fi    i l                                              Value


                             Cost Efficiency                            Revenue Growth


Customer

                   Price           Quality
                                         y       Service               Availability
                                                                                  y              Brand




Internal Process
                                                                                           Regulatory
                   Operations             Customer             Innovation
                                                                                           and Social
                   Management            Management            Processes
                                                                                           Processes
                    Processes             Processes



Learning & Growth


                   Human Capital                Organization Capital                  Information Capital
เป้ าหมายด้าน Finance
                             25


                        Long-term
                     Shareholder Value



   Cost Efficiency                       Revenue Growth

 Improve Cost Structure                  Expand Revenue
                                          Opportunities
Increase Asset Utilization          Enhance Customer Value
เป้ าหมายด้าน Customer
                        26



 Customer Retention          Customer Profitability


Customer Satisfaction            Market Share


             Customer Acquisition




Price   Quality   Service      Availability   Brand
เป้ าหมายด้าน Internal Process
                                      27

  Operations
  O                  Customer
                     C                                        Regulatory
                                             Innovation
 Management         Management                                and Social
                                             Processes
  Processes          Processes                                Processes


 Processes that     Processes that          Processes that    Processes that
  produce and      enhance customer           create new         improve
deliver products        value                products and    communities and
  and services                                 services      the environment


• Supply           • Selection             • New Ideas       • Environment
• Production       • Acquisition           • R&D Portfolio   • Safety &
• Distribution     • Retention             • Design/         Health
                   • Growth                Developp              p y
                                                             • Employment
                                           • Launch          • Community
เป้ าหมายด้าน Learning & Growth
                          28




                   Organization
                   O    i ti         Information
                                     I f     ti
Human Capital
                     Capital            Capital



• Skills         • Culture         • Systems
• Knowledge      • Leadership      • Database
• Attitude       • Organization    • Networks
                 Development
                        p
กลยุทธ์การบริหารธุุรกิจในโรงงานอุตสาหกรรม
                           ุ                            ุ
                                                       29
                                                  Enhance Long-term
                                                   Shareholder V l
                                                   Sh h ld Value


                                  Improve                             Increase Revenue Growth
                                Cost Efficiency
Financial


                     Build High                      Expand                      Enhance
               Performance Products                Market Share                 Brand Image

Customer



                      Achieve             Drive Demand                            Implement Good
                                                              Manage Dramatic
                     Operational        through Customer                           Environmental
                                                              Growth through
                     Excellence              Relation                                  Policy
                                                                Innovation
                                           Management
Internal Process

Learning & Growth

                   Develop Strategic                Build Learning          Expand Capabilities with
                    Competencies                        Culture                  Technology
ความเชื่อมโยงระหว่างเป้ าหมายธุุรกิจกับหน่ วยงานภายใน
                                      30

                                                     Corporate
                                                      Finance
Financial

                                                     Corporate
                                                     Marketing

Customer

                                                     Production

                                                    Supply Chain

                                                       R&D
Internal Process

Learning & Growth
                                                    Corporate HR

                                                        Info
                                                     Technology
ตัวอย่าง
                                                                                           31
                                                                                                                   ข้ อมู ล ปั จจุ บั น
               Strategy M ap                     วั ต ถุ ป ระสงค์ (O bjectives)         ตั วชี้ วั ด (KPI)
                                                                                                                  (B aseline D ata)
                                                                                                                                        เป้ าหมาย (Target) แผนงาน โครงการ กิ จ กรรม (Initiatives)

                                                 รายได้ จ ากลู ก ค้ า ใหม่          รายได้ จ ากลู ก ค้ า
                                                          เพิ่ ม                        ใหม่ /                         10%                 15%
          การเพิ่ มขึ้ นของรายได้
                                                                                     รายได้ ท้ ั งหมด
                                                                                  จํา น วน ลู ก ค้ า ที่ เพิ่ ม    2,000 ราย           2,500 ราย             - ออก prom otion ให ม่
         รายได้ จ ากลู ก ค้ า ให ม่ เ พิ่ ม        การห าลู ก ค้ า ให ม่
                                                                                           ขึ้ น                                                           - เพิ่ มบริ การที่ หลากหลาย
                                                                                  ยอดขายต่ อ ลู ก ค้ า 1             100,000           150,000
                                                                                       ราย                            บาท               บาท
         การแสวงหาลู ก ค้ า ให ม่
                                                     การบริ การที่ ดี             อั ต ราการร้ อ งเรี ยน          ไม่ เ กิ น 20%      ไม่ เ กิ น 15%      - นํา ระบบเทคโนโลยี ส ารสน
                                ราคาเหมาะ                                               จากลู ก ค้ า                                                        เทศมาใช้ ใ น การให้ บ ริ การ
   การบริ การที่ ดี
                                   สม                                                                                                                     - จั ด ทํา ระบบฐานข้ อ มู ล ลู ก ค้ า
                                                                                  ความเร็็ วใน การให้้               ไมเกน
                                                                                                                     ไม่ เ กิ น       ไมเกน
                                                                                                                                      ไม่ เ กิ น 50
                                                                                      บริ การ                       1 ชั่ ว โมง          นาที

กระบวน การจั ด ส่ ง             กระบวนการ                                         ร้ อ ยละของการส่ ง
   ทรวดเรว
   ที่ รวดเร็ ว                   ผลตทด
                                  ผลิ ต ที่ ดี    การจั ด ส่ งที่ รวดเร็ ว                            ไม่ เ กิ น 20%                  ไม่ เ กิ น 15%       - นํา ระบบ Bar-code มาใช้
                                                                                  ของทไมตรงเวลา
                                                                                  ของที่ ไม่ ต รงเวลา

                                                 การพั ฒ นาทั ก ษะของ              จํา น วน วัน ในการ                 7 วั น              10 วัน        - จั ด ทํา แผนงานอบรมอย่ า งต่ อ
                                                       พ นั ก งาน                       อบรมต่ อ ปี                                                                     เนื่ อง
    ทกษะของ
    ทั ก ษะของ            เทคโนโลยสาร
                          เทคโนโลยี ส าร                                                                                                                - จั ด กิ จ กรรมพ นกงานสมพ น ธ์
                                                                                                                                                          จดกจกรรมพ นั ก งานสั ม พั ธ
    พ นั ก งาน               สน เทศ                                                อั ต ราการเข้ า ออก                15%                  10%
ประเด็นการนํ าเสนอ
                   32




Workshop : ลงมือปฏิบติ
                    ั
33




Workshop
ความสามารถ และผลงานของ ORCA
                    34
                               ผลงาน

                                ?



ความสามารถ

    ?
ความสามารถ และผลงานของ ORCA
                    35
                                ผลงาน

                                  ?


                           ความสามารถหลัก

ความสามารถ

    ?
                           ความสามารถเฉพาะ
ความสามารถที่พงปรารถนา (สมรรถนะ)
                      ึ
                                  36

                  Operational Excellence = การปฏิบตงานทีเ่ ป็นเลิศ
                                                  ั ิ
                  Respect for change = กล้าเปลียนแปลง
                                               ่
                  Customer centric = เอาใจใส่ลกคา
                                      เอาใจใสลูกค้า

ความสามารถหลัก
                  Accountability = มีความรับผิดชอบ




ความสามารถเฉพาะ
                  Managerial Competency
                  Functional Competency
                  Leadership Competency
เป้ าหมายระดับบริษทของ ORCA
                                                                         ั
                                                                                        37

                                                                                                                                                  วาง           คลัง
                                                                       เป้ า   ขายใน    ขายต่าง   ออก                  การ                               วิศว
  มิติ              เป้ าหมาย                     ตัวชี้วด
                                                         ั                                              ตลาด   บุคคล          จัดซื้อ   โลจิสต์   แผน           วัตถุ
                                                                      หมาย     ประเทศ   ประเทศ    แบบ                  เงิน                              กรรม
                                                                                                                                                  ผลิต          ดิบ
การเงิน       การบริหารต้นทุนมี     เงินสดหมุนเวียน (Cash flow)
               ประสิทธิภาพ           รายได้จากลูกค้าใหม่/รายได้รวม
             รายได้เพิมขึ้น
                       ่
 ลูกค้า      การแสวงหาลูกค้าใหม่   จํานวนลูกค้าใหม่ทเ่ี พิมขึ้น
                                                            ่
             รักษาฐานลูกค้าเดิม    ยอดขายต่อ 1 ลูกค้า
                                    ยอดขายจากลูกค้ารายเดิม
                                    อัตราการร้องเรียน
กระบวน       การจัดส่งทีรวดเร็ว
                         ่          % การจัดส่งทีผดเวลา
                                                  ่ ิ
  การ        คุณภาพการผลิต         % ของเสียทีลดลง
                                                ่
 ภายใน
    ใ                               % ของสนคาคน
                                            ิ ้ ื
                                    % การพัฒนาระบบ ISO
  การ        บุคลากรมีศกยภาพสูง
                        ั           จํานวนวันการอบรม/ปี
 เรียนรู ้   ระบบการจูงใจทีดี
                            ่       % การพัฒนาระบบประเมินผล
และการ        ระบบเทคโนโลยีท่ี
               ระบบเทคโนโลยท        อตราการออกของพนกงาน
                                    อัตราการออกของพนักงาน
 เติบโต        เหมาะสมและทันสมัย    % การพัฒนาระบบ BI
การถ่ายทอดเป้ าหมายระดับบริษทสููระดับแผนก
                                        ั ่
                               38

                                 เป้ า
เป้ าหมาย           ตัวชี้วด
                           ั             นํ้ าหนัก   แผนก ก.   แผนก ข.   แผนก ค.   แผนก ง.
                                หมาย
สกัดงานหลัก
                                                         39

                       Job Description                                          งานหลักที่ทาประจํา
                                                                                           ํ
วางระบบบัญชีและโปรแกรมสําเร็จรูปทางบัญชี
วางแผนและควบคุมระบบงานดานภาษอากร
วางแผนและควบคมระบบงานด้านภาษีอากร                              งานวางแผน วางระบบบัญชีและการเงิน
ควบคุมและตรวจสอบระบบการจัดทําบัญชีให้สอดคล ้องกับ
ประมวลรัษฏากร
ควบคุม การจัดทําทะเบียนทรัพย์สนให้สอดคล ้องกับกฎหมาย
ควบคม การจดทาทะเบยนทรพยสนใหสอดคลองกบกฎหมาย
                                  ิ
ภาษีอากรและหลักเกณฑ์การคิดค่าเสือมราคา
                                    ่
ควบคุมและบริหารstockสินค้าคงเหลือ(ทางบัญชี)
จัดทําและวิเิ คราะห์งบการเงินรายงานผูบริหารประจําเดือน
   ั ํ              ์       ิ         ้ ิ ป ํ ื
ตรวจสอบรายงานต่างๆของแผนกบัญชี บัญชีคลัง                       งานวิเคราะห์และตรวจสอบรายงานทางการเงินต่างๆ
ปิ ดงบการเงินประจําปี
ควบคุมการทํางานผูใ้ ต้บงคับบัญชา
                       ้ั
บริหารบุคคลในหน่วยงานให้มประสิทธิภาพสูงสุด
                              ี
ปฏิบตตามกฎระเบียบข้อบังคับของบริษท
       ัิ                              ั
วิธีการวัดผลงานและสมรรถนะไปพร้อมกัน (KPI All in One)
                                                                                       40

          งาน                 ผลทคาดหวง
                                  ่ี    ั                  ั ชี้ ั
                                                          ตวชวดผลงานหลก  ั      ขอมูลใ ี
                                                                                 ้ ในอดต        เปาหมาย
                                                                                                 ป้           สมรรถนะทสนบสนุ น
                                                                                                              ส       ่ส ั ส
                                                                                                                       ี                  หลกสูตรการพฒนา
                                                                                                                                             ัส       ั
         (Job)             (Key Result Area :       (Key Performance Indicators (Historical     (Target)    (Competency Support)           (Development
                                KRAs)                            : KPIs)          Data)                                                       Course)
งานประจํา
งานวางแผน วางระบบ       ระบบบัญชีมความถูกต้อง จํานวนขอร้องเรียนเกี่ยวกับการเบิก
                                      ี                    ้                                -   3/7/…      ความละเอียดรอบคอบ การ การเงินสําหรับผูบริหร้
บัญชีและการเงิน         รวดเร็ว และสมบูรณ์        จ่ายเงินของบริษท / ระยะเวลาใน
                                                                  ั                                        บริหารการเงิน การบริหารบัญชี การบัญชีสาหรับผูบริหาร
                                                                                                                                                 ํ      ้
                                                  การจ่าย/เรียกเก็บเงิน / อัตราการ                         และภาษีอากร
                                                  ไหลเวียนของเงินสด
งานวิเคราะห์และ         รายงานทางการเงินมี        ร้อยละของรายงานการเงินที่                 -      5       ความละเอียดรอบคอบ การคิด การคิดวิเคราะห์และ
ตรวจสอบรายงานทางการ ความถูกต้องและแลว        ้    ผิดพลาดและไม่ทนตามกําหนด
                                                                     ั                                     วิเคราะห์ การจัดทํารายงาน ตัดสินใจ
เงินต่างๆ               เสร็จตามกําหนด
งานตามบทบาท
งานตามบทบาทของการ ผลงานของ                        จํานวนครังของข้อร้องเรียนเกี่ยวกับ
                                                             ้                              -     10       ทักษะทางการบริหาร ภาวะผูนา Mini MBA
                                                                                                                                   ้ํ
เป็ นผูบงคับบัญชา
        ้ั              ผูใ้ ต้บงคับบัญชา
                                ั                 การปฏิบตงานของผูใ้ ต้บงคับบัญชา
                                                           ัิ             ั                                                           ภาวะผูนา
                                                                                                                                            ้ํ
งานบริหารทรัพยากร       ผูใ้ ต้บงคับบัญชามีความ ร้อยละของบุคลากรในสังกัดทีได้รบ
                                  ั                                             ่ ั         -     80
บุคคล                   พึงพอใจต่อการปฏิบตงาน การพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร
                                               ัิ
งานที่ได้รบมอบหมายพิเศษ
           ั
งานอืนๆ ตามทีได้รบ
      ่        ่ ั      งานพิเศษประสบ             ร้อยละความสําเร็จของการ                   -     95       ปกติจะไม่กาหนดสมรรถนะใน -
                                                                                                                     ํ
มอบหมายพเศษ
มอบหมายพิเศษ            ความสาเรจตามท
                        ความสําเร็จตามที่         ดาเนนงานตามทไดรบมอบหมาย
                                                  ดําเนินงานตามทีได้รบมอบหมาย
                                                                    ่ ั                                    กลุ น
                                                                                                           กล่มนี้
                        มอบหมาย                   พิเศษ**
Workshop
                                                                        41



       งาน             ผลที่คาดหวัง            ตัวชี้วดผลงานหลัก
                                                       ั             ข้อมูลในอดีต      เป้ าหมาย       สมรรถนะที่สนับสนุ น        หลักสูตรการพัฒนา
      (Job)         (Key Result Area :   (Key Performance Indicators (Historical       (Target)      (Competency Support)          (Development
                         KRAs)                        : KPIs)           Data)                                                         Course)

อะไรคืองานหลักของ   คาดหวังอะไรจากงาน      จะรูได้อย่างไร ? ว่าสิงที่
                                               ้                 ่           สถิตใน
                                                                                 ิ    แล้วปีน้ีเอา   ถ้าจะทําให้ได้เข้าเป้าหรือ ถ้าคนทีน่ีมไม่พอต้อง
                                                                                                                                           ่ ี
    ่
   ฝาย/แผนก?             หลักนี้?                คาดหวังสําเร็จ               อดีต    เท่าไหร่ด? ี   สูงกว่าเป้ าคนทีน่ีตองเป็ น เรียนรูอะไรเพิมเติม?
                                                                                                                      ่ ้               ู้     ่
                                                                                                                ยังไง?
                                                                                                                  ัไ
ลงฟอร์มประเมินผลงาน
                                                            42

หน่ วยงาน : ฝ่ ายบัญชีการเงิน                               ตําแหน่ ง :       ผูจดการฝ่ ายบัญชี-การเงิน
                                                                                ้ั
ชื่อผูประเมิน : นาย ก. เลิศสกุล
      ้                                                     ชื่อผูถกประเมิน : น.ส. ข. ปัญญาเลิศวุฒชย
                                                                  ู้                                ิั
                        ตัวชี้วดผลงานหลัก
                        ตวชวดผลงานหลก
                                ั                                  ค่าเป้ าหมาย                  คะแนนที่ได้ นํ้ าหนัก คะแนนรวม
                                                                                                 คะแนนทได นาหนก
              (Key Performance Indicators : KPIs)       1        2         3    4          5        (ก)           (ข)   (ก x ข)
จํานวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินของบริษท
                                                 ั      7        5         3    1          0
ระยะเวลาในการจ่าย/เรียกเก็บเงิน (Credit term payment)                      7
อัตราการไหลเวียนของเงินสด (Cash flow)                                    ….
ร้อยละของรายงานการเงินทีผดพลาดและไม่ทนตามกําหนด
                            ่ ิ               ั                            5
จํานวนครังของข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบตงานของ
            ้                              ัิ                             10
ผูใ้ ต้บงคับบัญชา
        ั
ร้อยละของบุคลากรในสังกัดทีได้รบการพัฒนาตามแผนพัฒนา
                                  ่ ั                                    80
บุคลากร
                           รวมคะแนน
ลงฟอร์มประเมินผลสมรรถนะ
                                                                   43

หน่ วยงาน : ฝ่ ายบัญชีการเงิน                                      ตําแหน่ ง :       ผูจดการฝ่ ายบัญชี-การเงิน
                                                                                       ้ั
ชื่อผูประเมิน : นาย ก. เลิศสกุล
      ้                                                            ชื่อผูถกประเมิน : น.ส. ข. ปัญญาเลิศวุฒชย
                                                                         ู้                                ิั
                         ตัวชี้วดพฤติกรรม
                                ั ฤ                                           ค่าเป้ าหมาย              คะแนนที่ได้ นํ้ าหนัก คะแนนรวม
                                                                                                          แนน       น น         แนนรวม
                (Key Behavioral Indicators : KBIs)                  1       2        3     4       5       (ก)           (ข)   (ก x ข)
ความละเอียดรอบคอบ              จํานวนครังทีการตรวจสอบผิดพลาด
                                        ้ ่
                               จํานวนข้อผิดพลาดทีมผลกระทบมากต่อ
                                                 ่ ี
                               องค์การเกิดซํา้
การบริหารการเงิน               จํานวนนโยบายการเงินทีประสบ
                                                     ่
                               ความสําเร็จ
การบริหารบัญชีและภาษีอากร จํานวนนโยบายบัญชีและภาษีอากรที่
                               ประสบความสําเร็จ
การคิดวิเคราะห์                %ความถูกต้องในการประเมินภาพรวม
การจัดทํารายงาน                จํานวนข้อผิดพลาดของการวางแผนงาน
ทักษะทางการบริหาร              อัตราการลาออกของพนักงาน
ภาวะผูนา
      ้ํ                       จํานวนแผนกลยุทธ์ทประสบความสําเร็จ
                                                  ่ี
                        รวมคะแนน
ี ้ั
            วิธตงค่าเป้ าหมาย
                    44




(1 คะแนน)        (3 คะแนน)      (5 คะแนน)
ระดับค่าเป้ าหมาย
                                     45

ระด ับเปาหมายตําเกินไป
        ้      ่                                  ระด ับเปาหมายสูงเกินไป
                                                          ้




                   ระดับเป้ าหมาย                                    ระดับเป้ าหมาย
วิธีการกําหนดค่าเป้ าหมาย วิธท่ี 1
                                                                           ี
                                                               46


                                                                                             เป้ าหมายในแต่ละปี
                                                                     (5 คะแนน)               ยุทธศาสตร์ที่ตงไว้
                                                                                                            ั้
                                                            กรณทดทสุ
                                                            กรณี ที่ดีที่สด (Best case)      ค่แข่งขัน
                                                                                              คู ขงขน
                                                                                             คาดการณ์ในอนาคต (Scenario)


                                                                      (3 คะแนน)              ข้อมูลในอดีต
                                                            ข้อมูลพืนฐาน (Baseline)
                                                                    ้                        งานวิจย/สถิ ติที่เคยมี
                                                                                                      ั
                                                                                             คู่แข่งขัน


                                                                                             การคํานวณจุดคุ้มทุน (Breakeven)
                                                                     (
                                                                     (1 คะแนน) )             มาตรฐาน/ความคาดหวังขันตํา
                                                                                              มาตรฐาน/ความคาดหวงขนตา   ้ ่
                                                            กรณี ที่แย่ที่สด (Worst case)
                                                                           ุ
                                                                                             คู่แข่งขัน



* ในทางธุรกิจไม่แนะนํ าให ้ตังค่ามาตรฐานไว ้ทีจดคุ ้มทุน
                             ้                ่ ุ
วิธีการกําหนดค่าเป้ าหมาย วิธท่ี 2
                             ี
                 47

                (5 คะแนน)
              กรณี ที่ดีที่สด (Best case)
                            ุ



                (3 คะแนน)                      เป้ าหมายในแต่ละปี
              กรณี ที่ดีปานกลาง                ยุทธศาสตร์ที่ตงไว้
                                                              ั้
              (Normal Case)                    คู่แข่งขัน
                                               คาดการณ์ในอนาคต (Scenario)

                (1 คะแนน)
              กรณี ที่ประคองตัว
              (Reinvigorate Case)

                                               ข้อมูลในอดีต
                (-1 คะแนน)                     งานวิจย/สถิ ติที่เคยมี
                                                        ั
              กรณี ท่ีแย่ที่สด (Worst case)
                             ุ                 คู่แข่งขัน
การกําหนดค่าเป้ าหมาย
                                                      48

           ่ ป้
         ค่าเปาหมายแบบช่วง (range target)
                        ่


??         (1 คะแนน)                 (2 คะแนน)       (3 คะแนน)       (4 คะแนน)   (5 คะแนน)   ??
             76-80                      81-85          86-90            91-95      96-100




     ค่าเป้าหมายแบบก้าวกระโดด (Stretch target)
การกําหนดค่าเป้ าหมาย
                                                                        49

       ่ ป้
     ค่าเปาหมายแบบฤดูกาล (Seasoning target)




          ้ ่        ิ            ิ
* วิธการนีเมือวัดประสทธิภาพและประสทธิผลมักวัดเดือนปั จจุบนเทียบกับเดือนเดียวกันของปี ทแล ้ว หรืออาจเทียบเป็ นรายไตรมาส/ครึงปี ในรอบเดียวกัน
     ี                                                   ั                            ี่                                  ่
การกําหนดค่าเป้ าหมาย
                                                            50

  ่ ป้
ค่าเปาหมายแบบแบ่่งเกรด (Grade target)


    (0 คะแนน)                                                                                          (5 คะแนน)
    ทําไม่เสร็จ                                                                                          ทําเสร็จ




                           ไม่
                           ไ ่ว่าจะเลือกกําหนดค่่าเป้้ าหมายด้วยวิธการใด สิงสําคัญที่ตองคํานึึ ง คือ
                                      ื ํ                     ้ ิ ี ใ ่ิ ํ ั ี ้ ํ                 ื

                  “ค่าเป้ าหมายนัน บุุ คลากรได้รบประโยชน์อะไร? = องค์การได้รบประโยชน์อะไร?”
                                 ้              ั                           ั
กล่มดัชนี วดผลการปฏิบตงาน
                        ุ       ั      ฏ ัิ
                                    51


 การเงิน (Finance) - รายได้, มูลค่าเพิม, และต้นทุน
                                      ่
 ผลผลิต (Output) - ชิ้นงาน
  ผลผลต             ชนงาน
 มาตรฐาน (Standard) - ระดับความสําเร็จ,ความถูกต้อง
 ปฏิกรยา (Reaction) - ความคิดเห็นของลูกค้าภายใน/ภายนอก, ข้อร้องเรียน
      ิิ                         ็        ้ ใ              ้ ้ ี
 เวลา (Time) - รอบการปฏิบตงาน
                       ฏ ัิ
(
                       (ตัวอย่าง)) ดัชนี วดผลการปฏิบตงาน
                                          ั      ฏ ัิ
                                           52


กลุมดัชนี ช้ ีวดผลการปฏิบตงาน
  ่            ั         ัิ                                 ตัวอย่าง
               การเงิน           ร้อยละของต้นทุนการดําเนิ นงานที่ลดลง
                                                    ุ
               ผลผลิต            จํานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการฝึ กอบรม
                                 รายงานการวิจยที่ทาแล้วเสร็จ
                                                   ั ํ
         มาตรฐาน                 ระดับความสําเร็จของการจัดทําต้นทุนต่อหน่ วยผลผลิต
                                 ระดับความสําเร็จของการดําเนิ นงานตามแผนปฏิบตการ
                                  ระดบความสาเรจของการดาเนนงานตามแผนปฏบตการ     ัิ
          ปฏิกรยา
              ิิ                 ร้อยละความพึงพอใจของผูรบบริการ
                                                              ้ั
                                 จํานวนข้อร้องเรียน
                                  จานวนขอรองเรยน
            เวลา                 ร้อยละของเวลาในการให้บริการที่ลดลง
วิธีการตรวจสอบดัชนี ช้ ีวดผลงานที่พฒนาขึ้น
                                      ั         ั
                                   53


 ชัดเจนหรือต้องตีความ
 สอดคล้องกับเป้ าหมายยทธศาสตร์ของบริษท
  สอดคลองกบเปาหมายยุทธศาสตรของบรษท    ั
 สอดคล้องกับลักษณะงาน เช่น งานเชิงปริมาณ ตัวชี้วดต้องเป็ นเชิงปริมาณ
                                                 ั
                   ั ชี้ ั ้ ป็ ชิ
  งานเชงคุณภาพ ตวชวดตองเปนเชงคุณภาพ
       ชิ
 จํานวนต้องไม่มากเกินไป และสะท้อนความสําเร็จของหน่ วยงานได้จริง
ตัวอย่างแบบฟอร์มการประเมินคุณภาพ
                                                      ุ
                                                     54

                                                                       เกณฑ์การประเมิน
              มิตการประเมินคุณภาพ
                 ิ                                        ดีมาก     ดี     พอใช้ ปรับปรุง ไม่ควรใช้
                                                            4       3        2         1      0
ตัวชี้วดดังกล่าวสะท้อนความสําเร็จของหัวหน้า
           ั
ตัวชี้วดอย่ในกล่มผลการปฏิบตงาน
ตวชวดอยู นกลุ ผลการปฏบตงาน
         ั                  ัิ
       ้
การตังค่าเป้ าหมายท้าทายและสะท้อนความสําเร็จของงาน
ตัวชี้วดไม่คลุมเครือ หลายๆ คนอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน
             ั
รวมคะแนน

                             14-16
                             14 16 คะแนน หมายถึง ตัวชีวดผลงานตัวนี้มคณภาพสูงสามารถวดผลงานไดดี
                                         หมายถง ตวชวดผลงานตวนมคุณภาพสงสามารถวัดผลงานได้ด
                                                       ้ั           ี
                             11-13 คะแนน หมายถึง ตัวชีวดผลงานตัวนี้มคณภาพปานกลาง
                                                       ้ั             ีุ
                             8-10 คะแนน หมายถึง ตัวชีวดผลงานตัวนี้มคณภาพระดับพอใช้
                                                    ้ั             ีุ
                              >7 คะแนน หมายถึง ตวชวดผลงานตวนไมควรใช
                                        หมายถง ตัวชีวดผลงานตัวนี้ไม่ควรใช้
                                                    ้ั
ประเด็นการนํ าเสนอ
                          55




การเชื่อมโยงสูการปฏิบติ
              ่      ั
การประเมินผลงานและสมรรถนะ
                                56



            ผลงาน                              สมรรถนะ
• สิงที่ทาได้ภายในช่วงเวลาที่
   ่ ํ                               • สิงที่คาดว่าพนักงานคนนั้นมี
                                        ่
  กาหนด
  กําหนด                               ในชวงเวลาทกาหนด
                                       ในช่วงเวลาที่กาหนด
                                                      ํ


            ผลงาน                    ทดสอบ ให้ลงมือปฏิบติ สังเกต
                                                       ั
      ความกาวหนาของงาน
      ความก้าวหน้าของงาน                     จดบนทก
                                             จดบันทึก
57




              To Sh
              T Share :
ท่านคิดว่าผููประเมินแต่ละคนมีขอดีและข้อด้อย
             ้                  ้
                ต่างกันอย่างไร?




                         57
การประเมินแบบหลายองศา
         58



                    การประเมินผลงาน




                     การประเมินสมรรถนะ

                            หัวหน้า 60%
                              ั ้
                            ตนเอง 20%
                บุคคลอืนๆ 20% (ลูกน้อง+เพือน+ลูกค้า)
                       ่                 ่
จุุดอ่อนและจุุดแข็งของผููประเมินแต่ละคน
                                                     ้
    ผูประเมิน
      ้                                     จุดแข็ง                                             จุดอ่อน
ผููบงคับบัญชา
   ้ั             • มีความชอบธรรมตามนิ ตนย  ิ ั                            • อาจคํานึ งถึงประโยชน์สวนตน
                                                                                                   ่
                  • มีอานาจควบคุมการให้รางวัลและการลงโทษ
                       ํ                                                   • ไม่ค่อยมีแรงจูงใจในการทําให้การประเมินมีความ
                  • มีความรูเ้ กียวกับภาระความรับผิดชอบของผูรบการประเมิน
                                ่                           ้ั               แม่นตรง

เพือนร่วมงาน
  ่               • มีความรูเ้ กี่ยวกับภาระหน้าที่ของผูรบการประเมิน
                                                       ้ั                  • มักเป็ นคู่แข่งขันของกันและกัน
                  • มีโอกาสใกล้ชิด สามารถสังเกตการทํางานได้ดี              • อาจ “ฮัว” กัน
                                                                                     ้
                                                                           • อาจมีความลําเอียงเนื่ องจากความเป็ นเพือน
                                                                             อาจมความลาเอยงเนองจากความเปนเพอน      ่
ผูใต้บงคับบัญชา • มีโอกาสสังเกตการทํางานผูบงคับบัญชาได้อย่างใกล้ชิด
  ้ ั                                     ้ั                               • อาจมีความเกรงกลัว
                • สามารถประเมินการทํางานด้านการบริหารบุคคลของ              • อาจลําเอียงเพราะความภักดี
                  ผูบงคับบัญชาได้ดี
                    ้ั         ไ                                           • มีการแก้แค้น
ลูกค้า            • ช่วยสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีแก่องค์กร                       • ไม่มีโอกาสได้เห็นการทํางานอย่างต่อเนื่ อง
                  • ให้ความเห็นแบบตรงไปตรงมา
                    ใหความเหนแบบตรงไปตรงมา
ตนเอง             • ทราบเจตนาและความตังใจของตนเองเป็ นอย่างดี
                                          ้                                • อาจลําเอียงเข้าข้างตนเอง
                  • ทราบการปฏิบตงานของตนเอง
                                   ัิ
                  • ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตนเอง
                  • แก้ขอคับข้องใจได้ดี
                         ้
งานวิจย
                                              ั
                                            60



 92% ประเมินผลงานโดยหัวหน้างาน; 74%ทบทวนผลงานโดยหัวหน้างาน
 บริษทดิจตอลอิควิปเม้นท์ใช้วธประเมินโดยเพือนร่วมงาน (Peer) โ หวหน้า 1 เพือน
      ั ิ                ์ ิี        โ ่                    โดยมี ั      ่
    ร่วมงาน 3 ผลการศึกษาพบว่า วิธน้ ี เหมาะกับงานแบบทีม ซึ่งทําให้เกิดการรับรูการพัฒนาใน
                                 ี                                            ้
    กลุมและแน่่ นแฟ้้ นมากขึ้ ึน
       ่
   Rating committee ประกอบด้วยหัวหน้างานโดยตรงและหัวหน้างานอืนๆอีก 3-4 คน
                                                                        ่
   Self rating มักใช้รวมกับการประเมินโดยหัวหน้างาน
                        ่
   Subordinate rating = Upward feedback
                          g p
   360 degree feedback มักใช้เพือการพัฒนามากกว่าการเลือนตําแหน่ งและขึ้นเงินเดือน
                                       ่                      ่
61




             To Sh
             T Share :
ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นมากในระหว่างประเมิน




                       61
Error ของการประเมินผลที่เกิดจากคน
                                         62



   ผลจากความประทับใจส่วนตัว (Halo effect)
   การปล่อยคะแนน (Leniency) หรือกดคะแนน (Severity)
       ป่                           ื
   การให้คะแนนกระจุกตัวอยู่ตรงกลาง (Central tendency error)
   อคติสวนตัว (Personal Bias)
         ่
    ว ม ล เน             ม           ล ล             ร เมน (S a to e
    ความผิดพลาดเนื่ องจากมีบางอย่างคล้ายคลึงกับผู้ประเมิน (Similar-to-me
    errors) เช่น ชอบเที่ยวเหมือนกัน อยู่สเี ดียวกัน กินอาหารประเภทเดียวกัน ฯลฯ
   ความผิดพลาดเนื่ องจากเหตการณ์ท่เี กิดขึ้นใหม่ๆ (Recency effect)
    ความผดพลาดเนองจากเหตุการณทเกดขนใหมๆ
63




      To Sh
      T Share :
การเชื่อมโยงกับการบริหารงาน
การแจ้งผลประเมิน
                                 64


   ในขณะปฏิบตงาน
              ัิ
   หลงรอบการประเมน
    หลังรอบการประเมิน

                              ผลประเมนเปนความลบ
                               ผลประเมินเป็ นความลับ
                              ผลประเมินไม่เป็ นความลับ
การบริหารบุคคล
                               ุ
                          65

    100

                                           •   ยอดเยี่ยม
                                           •   เกินมาตรฐาน
                                           •   มาตรฐาน
                                           •   ตากวามาตรฐาน
                                               ตํากว่ามาตรฐาน
                                                 ่
ผลงาน

              ???
          0
                    สมรรถนะ          100
แบ่งแยกเพือบริหาร...
                                     ่
                                        66



   กลุมคนที่มีผลงานดีบางทีเรียกว่า ม้าศึก ต้องทําให้เขามีความรูสกว่า เขามี
      ่                                                         ้ึ
    ความสําคัญเพือที่จะสามารถรักษาเขาไว้ได้้
                 ่                      ไ้
 กลุ หนงสอ ควรไดรบการสนบสนุ น บางคนอาจเลื่อนขึ้นไปเป็ น มาศก ได
  กล่มหนังสือ ควรได้รบการสนับสนน บางคนอาจเลอนขนไปเปน ม้าศึก ได้
                     ั
 กลุมคีม ศักยภาพสูง แต่ผลงานตํา อาจถูกกลันแกล้งหรือเขามีความไม่พอใจ
      ่                          ่           ่
 กลุมเครื่องหมายคําถาม ควรได้รบการแก้ไข ซึ่ึงอาจเป็ นการพัฒนาหรือถ้าไม่่
     ่ ื           ํ        ไ ้ั      ้           ป็       ั     ื ้ไ
  สามารถปรับปรุงได้จริง ๆ เขาอาจต้องออกจากองค์กรไป
ต้นทุนของการมีกลุม Deadwood ในบริษท
              ุ          ุ่                ั
                             67



   ต้นทุนทางการเงิน
   ถ้าเป็ นระดับปฏิบตการ ทําใ ผูบงคับบัญชาเสียเวลา
                        ัิ   ให้ ้ ั
   ถาเปนผู รหาร เขาจะเป็ น ตวแบบ ทแย
    ถ้าเป็ นผ้บริหาร เขาจะเปน ตัวแบบ ที่แย่
   ลูกน้องไม่เรียนรูอะไรเลยจากนายที่ไม่เก่ง
                      ้
   ผลงานของลูกน้อง สัมพันธ์ กับของนาย
เหตุใดจึงไม่มีใครกล้าจัดการกับกลุม Deadwood
              ุ                           ุ่
                                68


 ไ แน่ ใจว่าเกณฑ์ท่ว่าดีหรือไม่ดีถกต้องไหม
  ไม่               ี        ไ ู ไ
 ไม่อยากพูดว่าใครไม่ดี ไม่ตองการ Deliver bad news ให้ใครเจ็บปวด
            ู                 ้
  หัวใจ
 กลัวเขาจะย้อนมาว่าเรา
 เราคิดว่าทุกคนพัฒนาได้
 หาคนมาทํางานแทนเขาไม่ได้
  หาคนมาทางานแทนเขาไมได
 กลัวกระบวนการทางกฎหมาย
 เขาทางานกบเรามายาวนานยอม ๆ กนบางเถอะ
       ํ      ั                        ั ้
วิธีการจัดการเด็ดขาดแต่ละมุนละม่อม
              (The Iron Hand in Vel et Glove)
                                  Velvet Glo e)
                              69



 จัดทีมผูบริหารหลาย ๆ คนมาคุยกับ Deadwood
           ้
 ในการประเมินผลงาน ควรใช้คณะกรรมการ
 ย้ายกล่ม Deadwood ไปทํางานกับนายที่แตกต่างกันไประยะ
  ยายกลุ                   ไปทางานกบนายทแตกตางกนไประยะ
  หนึ่ ง เพือจะได้ไม่มีความผูกพันด้านอารมณ์กบใครโดยเฉพาะ
             ่                              ั
 สอนให้นายรูจกวิธีการพูดคุยกับกลุม Deadwood
        ใ ้ ้ั                  ั ่
วิธีการจัดการเด็ดขาดแต่ละมุนละม่อม
               (The Iron Hand in Vel et Glove)
                                   Velvet Glo e)
                                 70


วิธีกาปันเหล็ก (The Iron Hand)
     ํ ้
  จัดทีมผูบริหารหลาย ๆ คนมาคุยกับ Deadwood
     ั ี ้ ิ                        ั
  ในการประเมินผลงาน ควรใช้คณะกรรมการ
  ย้ายกลุม Deadwood ไปทํางานกับนายที่แตกต่างกันไประยะ
           ่
   หนง เพอจะไดไมมความผูกพนดานอารมณกบใครโดยเฉพาะ
   หนึ่ ง เพือจะได้ไม่มีความผกพันด้านอารมณ์กบใครโดยเฉพาะ
             ่                              ั
  สอนให้นายรูจกวิธีการพูดคุยกับกลุม Deadwood
                 ้ั                   ่
วิธีการจัดการเด็ดขาดแต่ละมุนละม่อม
               (The Iron Hand in Vel et Glove)
                                   Velvet Glo e)
                                71


วิธละมุนละม่อม (The Velvet Glove)
   ี
     รายงานผลงานเขาบ่อย ๆ เขาจะได้ไม่ตกใจ เพราะเตรียมใจได้
                                    ไ      ใ             ใไ
     ให้เวลาเขาระยะหนึ่ งเพือจะได้หางานใหม่
                              ่
     ให้คาปรึกษาหารือ และสร้างสถานการณ์ท่ไม่ให้เขาเสียหน้า
           ํ                                 ี
     ดูแลเรองสภาพความเปนอยู่และเรองการเงนเขาดวย
             ่ื ส          ป็         ่ื       ิ  ้
เกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน
                    การจ่ายค่าตอบแทน
                                         72



 Evaluation Criteria Performance Grading      Performance   Link to Pay
                                                Weight
                    A+ (Outstanding)             70%         9-10%
                    A (Above Standard)                        7-8%
                    B (Standard)                              5-6%
                    C (Need Improvement)                      <4%
                    D (Unsatisfactory)           30%           0%
73




              To Sh
              T Share :
เทคนิ คการนํ าระบบบริหารผลงานไปใช้ให้ได้ผล
ลําดับการนํ าไปใช้ประโยชน์
                              74




Communicat     Job     T&D Staffing   Career M Compens Succession
                                             M. Compens.
    e      improvement                                   Plan
การกําหนดตัวผููประเมิน
                                                   ้
                                                        75



       ผูรบบริการ
          ้ั
     เพือนร่วมงาน
        ่
หัวหน้าสูงกว่าอีก 1 ระดับ
          ตนเอง
          หัวหน้า
                                ปี ท่ี 1          ปี ท่ี 2   ปี ท่ี 3   ปี ท่ี 4   ปี ท่ี 5
                            จานวนปทนาไปใช
                            จํานวนปี ท่นําไปใช้
                                       ี
สงครามแย่งชิงคนเก่ง... กําลังเริ่มขึ้น
                                         76

ปร ด็นจากหนังสือ War for Talent
ประเดนจากหนงสอ
ระบุว่า ...

ต้องกล้าหาญที่จะแบ่่งกลุมพนักงานตามความสามารถของเขา
  ้ ้         ี        ่ ั
  ผ้บงคบบญชา ชอบที่จะปฏิบตต่อลกน้องทกคนว่าเขามีความสามารถ
   ผู งคับบัญชา ชอบทจะปฏบตตอลูกนองทุกคนวาเขามความสามารถ
      ั                   ัิ
   เท่าเทียมกัน ซึ่งในความเป็ นจริงแล้ว คนมีผลงานไม่เท่ากัน
  ต้องแบ่งคนออกตามผลงานเพือจะได้ปฏิบตต่อคนแต่ละคนได้
   ตองแบงคนออกตามผลงานเพอจะไดปฏบตตอคนแตละคนได
                                ่          ัิ
   เหมาะสม บางคนควรได้รบการเลือนตําแหน่ ง บางคนควรได้รบ
                            ั       ่                       ั
   การพฒนา
   การพัฒนา
                                                76
คนเก่งและคนยอดแย่
       77

                    หลายบริษทมีนโยบายแข่งขันด้วยคน
                              ั
                    เก่ง เพราะรูว่าคนเก่ง (Talent)
                                ้
                    ใหคุ ประโยชนมากแคไหนกบธุรกจ
                    ใ ้ ณป โ ช ์           ่ไ ั ิ

                    แล้วบริษทเราล่ะ ....
                       ้ ิ ั ่

                    ต้องการคนเก่่งไหม?
                      ้           ไ


                    และต้องมีเท่าไหร่จึงเหมาะสม?
78




การประเมินที่ดีท่สด คือ ..
                 ีุ          “การไม่ประเมิน”
79
ประวัตการทํางาน
                                                    ิ
                                                             80

    สนตชย อนทรออน
    สันติชย อินทรอ่อน
          ั
    Email : inthornon@gmail.com, suntichai@gchrsolution.com
    Mobile : 084-913-0727
•      ผูจดการพัฒนาธุรกิจทรัพยากรบุคคล บริษท โกลบัล คอนเซิรน จํากัด
          ้ั                                    ั                ์
•      กําลังศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนเรศวร ศูนย์วทยบริการกรุงเทพมหานคร
                                                                             ิ
•      ประสบการณทางานดานวจย ที่ปรึกษา ใหคาปรกษาในภาครฐและเอกชนรวม ป ในสายงานการจดการทรพยากรบุคคล
       ประสบการณ์ทางานด้านวิจย ทปรกษา ให้คาปรึกษาในภาครัฐและเอกชนร่วม 8 ปี ในสายงานการจัดการทรัพยากรบคคล การ
                       ํ         ั                ํ
       พัฒนาบุคลากร การบริหารสมรรถนะ (Competencies) การปรับโครงสร้างองค์กร และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
•      องค์กรที่เคยร่วมงานด้วยคือ บริษท เอเชียแปซิฟิคคอนซัลแตนท์ จํากัด, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, สถาบันทรัพยากร-
                                      ั
       มนุ ษย มหาวทยาลยธรรมศาสตร, สถาบนวจยและใหคาปรกษาแหงมหาวทยาลยธรรมศาสตร, มูลนธพฒนาทรพยากรมนุ ษย
       มนษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันวิจยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มลนิ ธิพฒนาทรัพยากรมนษย์
                                                    ั      ํ                                         ั
       ระหว่างประเทศ ฯลฯ
•      ที่ปรึกษาและวิทยากรให้กบภาคเอกชนและภาครัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ได้แก่ บริษท สยามฟาร์มาซูตคอล จํากัด, บริษท
                               ั                                                          ั               ิ             ั
       กรุงไทยธุรกจบรการ จากด ภาครฐและรฐวสาหกจ ไดแก การไฟฟ้ าส่วนภมิภาค, องคการสุรา, กรมชลประทาน, สานกงาน
       กรงไทยธรกิจบริการ จํากัด ฯลฯ ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ การไฟฟาสวนภูมภาค องค์การสรา กรมชลประทาน สํานักงาน
       นโยบายและแผนพลังงาน, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์, สํานักงานคณะกรรมการประสานงาน
       โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ, สํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, บริษท ธนารักษ์พฒนาสินทรัพย์ จํากัด
                                                                                             ั          ั
       ฯลฯ
•      อาจารย์พเิ ศษมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนนทา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ฯลฯ
                                                                                     ั
ประวัตการทํางาน
                                                     ิ
                                                              81

    กฤษณะ ยอดแก้ว
          ยอดแกว
    Email : krisna@gchrsolution.com
    Mobile : 081-171-5454
•      ที่ปรึกษาธุรกิจทรัพยากรบุคคล บริษท โกลบัล คอนเซิรน จํากัด
                                         ั                  ์
•      ปริญญาโท สาขาพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์และองค์การ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
•      ประสบการณทางานดานวจย ที่ปรึกษา ใหคาปรกษาในภาครฐและเอกชนรวม ป ในสายงานบรหารธุรกจ การจัดการทรัพยากร
       ประสบการณ์ทางานด้านวิจย ทปรกษา ให้คาปรึกษาในภาครัฐและเอกชนร่วม 4 ปี ในสายงานบริหารธรกิจ การจดการทรพยากร
                       ํ             ั          ํ
       บุคคล การพัฒนาบุคลากร การบริหารสมรรถนะ (Competencies) และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
•      องค์กรที่เคยร่วมงานด้วยคือ บริษท ไอ เสต็ป จํากัด, บริษท โตโยต้ากําแพงเพชร (โคว้ยฮะ), สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงาน, มูลนิ ธิ
                                       ั                      ั                         ุ
       พฒนาทรพยากรมนุ ษยระหวางประเทศ
       พัฒนาทรัพยากรมนษย์ระหว่างประเทศ ฯลฯ
•      ที่ปรึกษาและวิทยากรให้กบภาคเอกชนและภาครัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ได้แก่ บริษท ไอสเต็ป จํากัด บริษท กรุงไทย
                                 ั                                                          ั                    ั
       ธุรกิจบริการ จํากัด บริษท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชันแนล จํากัด บริษท เฉลียวการช่างและค้าวัสดุกอสร้าง จํากัด ฯลฯ ภาครัฐ
                               ั                          ่               ั                          ่
       และรฐวสาหกจ ไดแก สํานักงาน กพ สานกงานปลดกระทรวงพาณชย
       และรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ สานกงาน กพ. สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์ กรมชลประทาน การเคหะแห่งชาติ กองทนเงินให้กยม
                                                                                          การเคหะแหงชาต กองทุนเงนใหกู ้ ื
       เพือการศึกษา องค์การสุรา การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค ฯลฯ
           ่
•                                  ้
       บรรยายให้กบหน่ วยงานทังภาครัฐและเอกชนด้านการบริการ การบริหารจัดการธุรกิจ,โลจิสติกส์ การทํางานเป็ นทีม การเสริมสร้าง
                    ั
       ทศนคตและจตสานกในการทางาน ไคเซน
       ทัศนคติและจิตสํานึ กในการทํางาน 5ส “ไคเซน” KAIZEN เป็ นต้น
                                                                เปนตน

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job EvaluationSakda Hwankaew
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งNabavee Serpa
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการTeetut Tresirichod
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)Suntichai Inthornon
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพMediaDonuts
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 

What's hot (20)

บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
Sipoc model
Sipoc modelSipoc model
Sipoc model
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluation
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้ง
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 

Viewers also liked

เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553Krumai Kjna
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency trainingwat_hr
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
KPI for HR Manager - Sample of KPIs for HR
KPI for HR Manager - Sample of KPIs for HRKPI for HR Manager - Sample of KPIs for HR
KPI for HR Manager - Sample of KPIs for HRYodhia Antariksa
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)yuiops
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Krishna Rama
 
Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550
Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550
Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550Avirot Mitamura
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนPeung Chanthimarn
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNatthawut Sutthi
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)maluree
 

Viewers also liked (20)

เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency training
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
KPI for HR Manager - Sample of KPIs for HR
KPI for HR Manager - Sample of KPIs for HRKPI for HR Manager - Sample of KPIs for HR
KPI for HR Manager - Sample of KPIs for HR
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550
Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550
Executive presentation [4] - NHSO IT Master Plan B.C.2550
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
Kpi
KpiKpi
Kpi
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (พิษณุโลก)
 

Similar to PMS for organization effectiveness

804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)pattarawadee
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurementKan Yuenyong
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional1clickidea
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA LogisticsAusda Sonngai
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องCuproperty
 
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3porche123
 
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)porche123
 
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานSakda Hwankaew
 
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนวัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนpiromnsw2
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชรsingle555
 
804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชรpattarawadee
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 

Similar to PMS for organization effectiveness (20)

14321
1432114321
14321
 
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
804501 ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
Organization measurement
Organization measurementOrganization measurement
Organization measurement
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
 
Com1 2
Com1 2Com1 2
Com1 2
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
 
Performance management
Performance managementPerformance management
Performance management
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
 
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
Vejthani HR : End User Guildline (PMS) 3
 
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
Vejthani HR : KPI (Key Performance Indicator) (Book)
 
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
 
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนวัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501HRMม.ราชภัฏกำแพงเพชร
 
804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร
804501 Hrm ม.ราชภัฏกำแพงเพชร
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 

PMS for organization effectiveness

  • 1. เอกสารประกอบการบรรยาย เทคนิิ คการประเมิินผลการปฏิบตงาน ป ปิ ัิ สันติชย อินทรอ่อน และกฤษณะ ยอดแก้ว ั บริษท โ ลคอนเซิิรน จํากัด ิ ั โกลบัั ์ ํ ั 21-22 พฤศจิกายน 2555
  • 2. ประเด็นการนํ าเสนอ 2 ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับการประเมินผล ่ กระบวนการบริหารผลงาน มาเริ่มต้น... กับการประเมิน Workshop : ลงมือปฏิบติ ั การเชื่อมโยงสูการปฏิบติ ่ ั
  • 3. ประเด็นการนํ าเสนอ 3 ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับการประเมินผล ่
  • 5. การประเมิน คือ อะไรกันแน่ ... 5 การ วิจารณ การวด ั ประเมิน ญาณ Evaluation Measurement Judgment
  • 7. ปัญหาใหญ่ของการประเมิน 7 ธรกิจ Fail ธุรกจ คน success
  • 8. พัฒนาการของการประเมินผลทํางาน 8 การประเมินผล เริ่มมีบทบาทมากขึ้นเพราะในยุคของการแข่งขัน ผูท่รูว่าตนเองมีความสามารถระดับใด และคู่แข่งมี ้ี้ ความถนัดและความสามารถในระดับใด จะเป็ นผูชนะในการแข่งขัน ้ ้ ยุคดังเดิม ยุคสมัยใหม่ ยุคการเปลี่ยนแปลง ภาพของอนาคต <30 ปี 2540-50 2550-60 ต่อไป • เน้นการควบคุม (Control) • เน้นการกระจายอํานาจ • เน้นความร่วมมือ • เน้นการวัดผลการลงทุน • ดูจากคุณลักษณะ (Trait) (Decentralization) (Collaboration) (Return on Investment) เช่น เชื่อถือได้ เอาใจใส่งาน • ดูจากผลงานเป็ นหลัก • ดูจากผลงานและพฤติกรรม • ดูจากศักยภาพ (Potential) จงรักภักดี ทะเยอทะยาน (Performance) (Performance & Competency)
  • 9. ความแตกต่างระหว่างการประเมินผลงานกับการบริหารผลงาน 9  ไม่เน้นเฉพาะแค่ผลงาน แต่เน้นที่พฤติกรรม ความรู ้ ทักษะ และความสามารถ ของพนักงานด้วย  ไม่เน้นประเมิน แตเนนการตดตาม ใหคาแนะนา และสอนงาน ไมเนนประเมน แต่เน้นการติดตาม ให้คาแนะนํ า ํ  ทําให้เกิดการสือสารระหว่างลูกน้องและหัวหน้าอย่างต่อเนื่ อง ่  ผลงานมีแนวโน้มที่จะได้ตรงตามเป้ าหมายที่กาหนดมากกว่า ํ
  • 10. องค์ประกอบของการบริหารผลงาน 10 ความรู ้ ทักษะ ผลงาน ความ สามารถ ความสุข
  • 11. ประเด็นการนํ าเสนอ 11 กระบวนการบริหารผลงาน
  • 12. กระบวนการบริหารผลงาน 12 วางแผน ติดตาม พัฒนา ประเมิน ให้รางวัล การปรับปรุง/ เสริมจุดแข็ง/ ตอบแทน สิงที่คาดหวัง ่ รู้ว่าทําได้แค่ไหน พัฒนางาน ั แก้ไขจุดอ่อน ้ ่ ความทุ่มเท ต้นเดือนม.ค. ก.พ.-พ.ค. ต้นเดือนมิ.ย. ต้นเดือนก.ค. ส.ค.-พ.ย. ต้นเดือนธ.ค.
  • 13. ประเด็นการนํ าเสนอ 13 มาเริ่มต้น... กับการประเมิน
  • 14. สิงที่บอกว่าเขาควรได้เงินเดือนเพิมเท่าไหร่ควรดููจากอะไรบ้าง ? ่ ่ 14  ผลงาน  พฤติกรรมการทํางาน  ความร้ ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบตงาน ความรู ความเขาใจ และทกษะการปฏบตงาน ัิ  เวลาปฏิบตงาน ัิ สมรรถนะ / Competency  การฝึึ กอบรม  .................
  • 15. ผลงาน ? 15 After อะไรบางอย่างที่แสดงให้เห็นว่า…. สิงที่เราได้รบมอบหมายไปแล้ว หรือสิงที่เราให้คามันไปแล้ว ่ ั ่ ํ ่ วาจะตองทาใหสาเรจ เป็ นดังที่เราให้สจจะไว้เพียงใด ว่าจะต้องทําให้สาเร็จ เปนดงทเราใหสจจะไวเพยงใด ํ ั Before
  • 16. สมรรถนะ ? 16 Skill Knowledge Attribute
  • 17. องค์ประกอบของสมรรถนะ 17 1. แรงจูงใ (Motives) – บางสิงบางอย่างที่ผลักดันอยู่ภายใน ทําให้คนได้ใช้ความคิดหรือ ใจ ่ ี ใ ใ ้ ไ ้ ้ ื แสดงออกในบางสิงบางอย่างที่เหนื อกว่าบุคคลทัวไป เช่น กล้าตัดสินใจ กล้าทําความผิด กล้า ่ ่ เอาชนะอุปสรรค ฯลฯ 2. คุณลักษณะ (Traits) – ลักษณะทางกายภาพ และการตอบสนองต่อสถานการณ์หรือข้อมูลที่ ไ รบใ กษณะที่ค่อนข้างถาวร เช่น สวย หล่อ ขี้ ีเหล่ ใ อน ขี้ ีบ่น ไ ยอมใคร คนจีนอาจ ได้้ ั ในลั ี ้ ใจร้้ ไม่ ใ ี เรียกว่า “โหงวเฮ้ง” 3. ความเชื่ือส่วนตัว (Self-Concept) – ทัศนคติ ค่านิ ยม หรือความเชื่ือบางอย่าง เช่น เชื่ือว่า “ทํา ั ั ื ํ ดีได้ดี ทําชัวได้ชว” “มือใครยาวสาวได้สาวเอา” “ลูกค้าคือพระเจ้า เจ้านายคือพ่อของพระเจ้า” ่ ั่ 4. ความรู ้ (Knowledge) - ข้อมูลและข่่าวสารบางอย่่างที่เี ป็็ นลักษณะเฉพาะสาขา ้ ั 5. ทักษะ (Skill) - ความเชี่ยวชาญในสาขา/เรื่องที่โดดเด่น
  • 18. ในแต่ละเรื่องเราจะประเมินอย่างไร ? 18 ระบบจัดเก็บข้อมูล แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลและ และรายงานผล รายงานผล ผลงาน K : การทดสอบ K : ข้อสอบ เอกสารอ้างอิง S : การลงมือปฏิบติ ฏ ั S : เอกสารอ้างอิง แบบบันทึก เอกสารอางอง แบบบนทก A : การสังเกต และ A : แบบสังเกต แบบทดสอบ สมรรถนะ บันทึกพฤติกรรม KSA จิตวิทยา แบบประเมิน
  • 19. ข้อแนะนํ า Step ของการประเมิน 19 มููลค่า ศักยภาพ ความสุข ความสข สมรรถนะ ผลงาน พฤติกรรม 2555 2556 2557 2558 2559 2560
  • 21. อะไร คือ ความสามารถ และผลงาน 21 ผลงาน ยอดขาย รายได้ กําไร ความพึงพอใจของลูกค้า การรับรูว่าบริษทใส่ใจสิงแวดล้อม ้ ั ่ ความสามารถ ระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ความเชี่ยวชาญใน ใ การผลิตฟิล์ม บุคลากรทมคุณภาพ เทคโนโลยีท่เี หมาะสม บคลากรที่มีคณภาพ เทคโนโลยทเหมาะสม
  • 22. ทิศทางการวัดผลในธุุรกิจปัจจุุบน ั 22 Financial Vision Internal Business Customers and Processes Strategy Learning and Growth From “A Balancing Act” by Howard Rohm in Perform magazine.
  • 23. 4 มุมมองของการวัดผลธุุรกิจ ุ 23 Financial Perspective The St t Th Strategy If we succeed, how will we look to our shareholders? Customer Perspective To achieve our vision, how must we look to our customers? Internal Perspective To satisfy our customers, which processes must we excel at? Learning & Growth Perspective To hi T achieve our vision, how i i h must our organization learn and improve?
  • 24. ในแต่ละเรื่องเราจะประเมินอย่างไร ? 24 Long-term Shareholder g Financial Fi i l Value Cost Efficiency Revenue Growth Customer Price Quality y Service Availability y Brand Internal Process Regulatory Operations Customer Innovation and Social Management Management Processes Processes Processes Processes Learning & Growth Human Capital Organization Capital Information Capital
  • 25. เป้ าหมายด้าน Finance 25 Long-term Shareholder Value Cost Efficiency Revenue Growth Improve Cost Structure Expand Revenue Opportunities Increase Asset Utilization Enhance Customer Value
  • 26. เป้ าหมายด้าน Customer 26 Customer Retention Customer Profitability Customer Satisfaction Market Share Customer Acquisition Price Quality Service Availability Brand
  • 27. เป้ าหมายด้าน Internal Process 27 Operations O Customer C Regulatory Innovation Management Management and Social Processes Processes Processes Processes Processes that Processes that Processes that Processes that produce and enhance customer create new improve deliver products value products and communities and and services services the environment • Supply • Selection • New Ideas • Environment • Production • Acquisition • R&D Portfolio • Safety & • Distribution • Retention • Design/ Health • Growth Developp p y • Employment • Launch • Community
  • 28. เป้ าหมายด้าน Learning & Growth 28 Organization O i ti Information I f ti Human Capital Capital Capital • Skills • Culture • Systems • Knowledge • Leadership • Database • Attitude • Organization • Networks Development p
  • 29. กลยุทธ์การบริหารธุุรกิจในโรงงานอุตสาหกรรม ุ ุ 29 Enhance Long-term Shareholder V l Sh h ld Value Improve Increase Revenue Growth Cost Efficiency Financial Build High Expand Enhance Performance Products Market Share Brand Image Customer Achieve Drive Demand Implement Good Manage Dramatic Operational through Customer Environmental Growth through Excellence Relation Policy Innovation Management Internal Process Learning & Growth Develop Strategic Build Learning Expand Capabilities with Competencies Culture Technology
  • 30. ความเชื่อมโยงระหว่างเป้ าหมายธุุรกิจกับหน่ วยงานภายใน 30 Corporate Finance Financial Corporate Marketing Customer Production Supply Chain R&D Internal Process Learning & Growth Corporate HR Info Technology
  • 31. ตัวอย่าง 31 ข้ อมู ล ปั จจุ บั น Strategy M ap วั ต ถุ ป ระสงค์ (O bjectives) ตั วชี้ วั ด (KPI) (B aseline D ata) เป้ าหมาย (Target) แผนงาน โครงการ กิ จ กรรม (Initiatives) รายได้ จ ากลู ก ค้ า ใหม่ รายได้ จ ากลู ก ค้ า เพิ่ ม ใหม่ / 10% 15% การเพิ่ มขึ้ นของรายได้ รายได้ ท้ ั งหมด จํา น วน ลู ก ค้ า ที่ เพิ่ ม 2,000 ราย 2,500 ราย - ออก prom otion ให ม่ รายได้ จ ากลู ก ค้ า ให ม่ เ พิ่ ม การห าลู ก ค้ า ให ม่ ขึ้ น - เพิ่ มบริ การที่ หลากหลาย ยอดขายต่ อ ลู ก ค้ า 1 100,000 150,000 ราย บาท บาท การแสวงหาลู ก ค้ า ให ม่ การบริ การที่ ดี อั ต ราการร้ อ งเรี ยน ไม่ เ กิ น 20% ไม่ เ กิ น 15% - นํา ระบบเทคโนโลยี ส ารสน ราคาเหมาะ จากลู ก ค้ า เทศมาใช้ ใ น การให้ บ ริ การ การบริ การที่ ดี สม - จั ด ทํา ระบบฐานข้ อ มู ล ลู ก ค้ า ความเร็็ วใน การให้้ ไมเกน ไม่ เ กิ น ไมเกน ไม่ เ กิ น 50 บริ การ 1 ชั่ ว โมง นาที กระบวน การจั ด ส่ ง กระบวนการ ร้ อ ยละของการส่ ง ทรวดเรว ที่ รวดเร็ ว ผลตทด ผลิ ต ที่ ดี การจั ด ส่ งที่ รวดเร็ ว ไม่ เ กิ น 20% ไม่ เ กิ น 15% - นํา ระบบ Bar-code มาใช้ ของทไมตรงเวลา ของที่ ไม่ ต รงเวลา การพั ฒ นาทั ก ษะของ จํา น วน วัน ในการ 7 วั น 10 วัน - จั ด ทํา แผนงานอบรมอย่ า งต่ อ พ นั ก งาน อบรมต่ อ ปี เนื่ อง ทกษะของ ทั ก ษะของ เทคโนโลยสาร เทคโนโลยี ส าร - จั ด กิ จ กรรมพ นกงานสมพ น ธ์ จดกจกรรมพ นั ก งานสั ม พั ธ พ นั ก งาน สน เทศ อั ต ราการเข้ า ออก 15% 10%
  • 32. ประเด็นการนํ าเสนอ 32 Workshop : ลงมือปฏิบติ ั
  • 34. ความสามารถ และผลงานของ ORCA 34 ผลงาน ? ความสามารถ ?
  • 35. ความสามารถ และผลงานของ ORCA 35 ผลงาน ? ความสามารถหลัก ความสามารถ ? ความสามารถเฉพาะ
  • 36. ความสามารถที่พงปรารถนา (สมรรถนะ) ึ 36 Operational Excellence = การปฏิบตงานทีเ่ ป็นเลิศ ั ิ Respect for change = กล้าเปลียนแปลง ่ Customer centric = เอาใจใส่ลกคา เอาใจใสลูกค้า ความสามารถหลัก Accountability = มีความรับผิดชอบ ความสามารถเฉพาะ Managerial Competency Functional Competency Leadership Competency
  • 37. เป้ าหมายระดับบริษทของ ORCA ั 37 วาง คลัง เป้ า ขายใน ขายต่าง ออก การ วิศว มิติ เป้ าหมาย ตัวชี้วด ั ตลาด บุคคล จัดซื้อ โลจิสต์ แผน วัตถุ หมาย ประเทศ ประเทศ แบบ เงิน กรรม ผลิต ดิบ การเงิน  การบริหารต้นทุนมี  เงินสดหมุนเวียน (Cash flow) ประสิทธิภาพ  รายได้จากลูกค้าใหม่/รายได้รวม รายได้เพิมขึ้น ่ ลูกค้า การแสวงหาลูกค้าใหม่ จํานวนลูกค้าใหม่ทเ่ี พิมขึ้น ่ รักษาฐานลูกค้าเดิม ยอดขายต่อ 1 ลูกค้า ยอดขายจากลูกค้ารายเดิม อัตราการร้องเรียน กระบวน การจัดส่งทีรวดเร็ว ่ % การจัดส่งทีผดเวลา ่ ิ การ คุณภาพการผลิต % ของเสียทีลดลง ่ ภายใน ใ % ของสนคาคน ิ ้ ื % การพัฒนาระบบ ISO การ บุคลากรมีศกยภาพสูง ั จํานวนวันการอบรม/ปี เรียนรู ้ ระบบการจูงใจทีดี ่ % การพัฒนาระบบประเมินผล และการ  ระบบเทคโนโลยีท่ี ระบบเทคโนโลยท อตราการออกของพนกงาน อัตราการออกของพนักงาน เติบโต เหมาะสมและทันสมัย % การพัฒนาระบบ BI
  • 38. การถ่ายทอดเป้ าหมายระดับบริษทสููระดับแผนก ั ่ 38 เป้ า เป้ าหมาย ตัวชี้วด ั นํ้ าหนัก แผนก ก. แผนก ข. แผนก ค. แผนก ง. หมาย
  • 39. สกัดงานหลัก 39 Job Description งานหลักที่ทาประจํา ํ วางระบบบัญชีและโปรแกรมสําเร็จรูปทางบัญชี วางแผนและควบคุมระบบงานดานภาษอากร วางแผนและควบคมระบบงานด้านภาษีอากร  งานวางแผน วางระบบบัญชีและการเงิน ควบคุมและตรวจสอบระบบการจัดทําบัญชีให้สอดคล ้องกับ ประมวลรัษฏากร ควบคุม การจัดทําทะเบียนทรัพย์สนให้สอดคล ้องกับกฎหมาย ควบคม การจดทาทะเบยนทรพยสนใหสอดคลองกบกฎหมาย ิ ภาษีอากรและหลักเกณฑ์การคิดค่าเสือมราคา ่ ควบคุมและบริหารstockสินค้าคงเหลือ(ทางบัญชี) จัดทําและวิเิ คราะห์งบการเงินรายงานผูบริหารประจําเดือน ั ํ ์ ิ ้ ิ ป ํ ื ตรวจสอบรายงานต่างๆของแผนกบัญชี บัญชีคลัง  งานวิเคราะห์และตรวจสอบรายงานทางการเงินต่างๆ ปิ ดงบการเงินประจําปี ควบคุมการทํางานผูใ้ ต้บงคับบัญชา ้ั บริหารบุคคลในหน่วยงานให้มประสิทธิภาพสูงสุด ี ปฏิบตตามกฎระเบียบข้อบังคับของบริษท ัิ ั
  • 40. วิธีการวัดผลงานและสมรรถนะไปพร้อมกัน (KPI All in One) 40 งาน ผลทคาดหวง ่ี ั ั ชี้ ั ตวชวดผลงานหลก ั ขอมูลใ ี ้ ในอดต เปาหมาย ป้ สมรรถนะทสนบสนุ น ส ่ส ั ส ี หลกสูตรการพฒนา ัส ั (Job) (Key Result Area : (Key Performance Indicators (Historical (Target) (Competency Support) (Development KRAs) : KPIs) Data) Course) งานประจํา งานวางแผน วางระบบ ระบบบัญชีมความถูกต้อง จํานวนขอร้องเรียนเกี่ยวกับการเบิก ี ้ - 3/7/… ความละเอียดรอบคอบ การ การเงินสําหรับผูบริหร้ บัญชีและการเงิน รวดเร็ว และสมบูรณ์ จ่ายเงินของบริษท / ระยะเวลาใน ั บริหารการเงิน การบริหารบัญชี การบัญชีสาหรับผูบริหาร ํ ้ การจ่าย/เรียกเก็บเงิน / อัตราการ และภาษีอากร ไหลเวียนของเงินสด งานวิเคราะห์และ รายงานทางการเงินมี ร้อยละของรายงานการเงินที่ - 5 ความละเอียดรอบคอบ การคิด การคิดวิเคราะห์และ ตรวจสอบรายงานทางการ ความถูกต้องและแลว ้ ผิดพลาดและไม่ทนตามกําหนด ั วิเคราะห์ การจัดทํารายงาน ตัดสินใจ เงินต่างๆ เสร็จตามกําหนด งานตามบทบาท งานตามบทบาทของการ ผลงานของ จํานวนครังของข้อร้องเรียนเกี่ยวกับ ้ - 10 ทักษะทางการบริหาร ภาวะผูนา Mini MBA ้ํ เป็ นผูบงคับบัญชา ้ั ผูใ้ ต้บงคับบัญชา ั การปฏิบตงานของผูใ้ ต้บงคับบัญชา ัิ ั ภาวะผูนา ้ํ งานบริหารทรัพยากร ผูใ้ ต้บงคับบัญชามีความ ร้อยละของบุคลากรในสังกัดทีได้รบ ั ่ ั - 80 บุคคล พึงพอใจต่อการปฏิบตงาน การพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร ัิ งานที่ได้รบมอบหมายพิเศษ ั งานอืนๆ ตามทีได้รบ ่ ่ ั งานพิเศษประสบ ร้อยละความสําเร็จของการ - 95 ปกติจะไม่กาหนดสมรรถนะใน - ํ มอบหมายพเศษ มอบหมายพิเศษ ความสาเรจตามท ความสําเร็จตามที่ ดาเนนงานตามทไดรบมอบหมาย ดําเนินงานตามทีได้รบมอบหมาย ่ ั กลุ น กล่มนี้ มอบหมาย พิเศษ**
  • 41. Workshop 41 งาน ผลที่คาดหวัง ตัวชี้วดผลงานหลัก ั ข้อมูลในอดีต เป้ าหมาย สมรรถนะที่สนับสนุ น หลักสูตรการพัฒนา (Job) (Key Result Area : (Key Performance Indicators (Historical (Target) (Competency Support) (Development KRAs) : KPIs) Data) Course) อะไรคืองานหลักของ คาดหวังอะไรจากงาน จะรูได้อย่างไร ? ว่าสิงที่ ้ ่ สถิตใน ิ แล้วปีน้ีเอา ถ้าจะทําให้ได้เข้าเป้าหรือ ถ้าคนทีน่ีมไม่พอต้อง ่ ี ่ ฝาย/แผนก? หลักนี้? คาดหวังสําเร็จ อดีต เท่าไหร่ด? ี สูงกว่าเป้ าคนทีน่ีตองเป็ น เรียนรูอะไรเพิมเติม? ่ ้ ู้ ่ ยังไง? ัไ
  • 42. ลงฟอร์มประเมินผลงาน 42 หน่ วยงาน : ฝ่ ายบัญชีการเงิน ตําแหน่ ง : ผูจดการฝ่ ายบัญชี-การเงิน ้ั ชื่อผูประเมิน : นาย ก. เลิศสกุล ้ ชื่อผูถกประเมิน : น.ส. ข. ปัญญาเลิศวุฒชย ู้ ิั ตัวชี้วดผลงานหลัก ตวชวดผลงานหลก ั ค่าเป้ าหมาย คะแนนที่ได้ นํ้ าหนัก คะแนนรวม คะแนนทได นาหนก (Key Performance Indicators : KPIs) 1 2 3 4 5 (ก) (ข) (ก x ข) จํานวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินของบริษท ั 7 5 3 1 0 ระยะเวลาในการจ่าย/เรียกเก็บเงิน (Credit term payment) 7 อัตราการไหลเวียนของเงินสด (Cash flow) …. ร้อยละของรายงานการเงินทีผดพลาดและไม่ทนตามกําหนด ่ ิ ั 5 จํานวนครังของข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบตงานของ ้ ัิ 10 ผูใ้ ต้บงคับบัญชา ั ร้อยละของบุคลากรในสังกัดทีได้รบการพัฒนาตามแผนพัฒนา ่ ั 80 บุคลากร รวมคะแนน
  • 43. ลงฟอร์มประเมินผลสมรรถนะ 43 หน่ วยงาน : ฝ่ ายบัญชีการเงิน ตําแหน่ ง : ผูจดการฝ่ ายบัญชี-การเงิน ้ั ชื่อผูประเมิน : นาย ก. เลิศสกุล ้ ชื่อผูถกประเมิน : น.ส. ข. ปัญญาเลิศวุฒชย ู้ ิั ตัวชี้วดพฤติกรรม ั ฤ ค่าเป้ าหมาย คะแนนที่ได้ นํ้ าหนัก คะแนนรวม แนน น น แนนรวม (Key Behavioral Indicators : KBIs) 1 2 3 4 5 (ก) (ข) (ก x ข) ความละเอียดรอบคอบ จํานวนครังทีการตรวจสอบผิดพลาด ้ ่ จํานวนข้อผิดพลาดทีมผลกระทบมากต่อ ่ ี องค์การเกิดซํา้ การบริหารการเงิน จํานวนนโยบายการเงินทีประสบ ่ ความสําเร็จ การบริหารบัญชีและภาษีอากร จํานวนนโยบายบัญชีและภาษีอากรที่ ประสบความสําเร็จ การคิดวิเคราะห์ %ความถูกต้องในการประเมินภาพรวม การจัดทํารายงาน จํานวนข้อผิดพลาดของการวางแผนงาน ทักษะทางการบริหาร อัตราการลาออกของพนักงาน ภาวะผูนา ้ํ จํานวนแผนกลยุทธ์ทประสบความสําเร็จ ่ี รวมคะแนน
  • 44. ี ้ั วิธตงค่าเป้ าหมาย 44 (1 คะแนน) (3 คะแนน) (5 คะแนน)
  • 45. ระดับค่าเป้ าหมาย 45 ระด ับเปาหมายตําเกินไป ้ ่ ระด ับเปาหมายสูงเกินไป ้ ระดับเป้ าหมาย ระดับเป้ าหมาย
  • 46. วิธีการกําหนดค่าเป้ าหมาย วิธท่ี 1 ี 46  เป้ าหมายในแต่ละปี (5 คะแนน)  ยุทธศาสตร์ที่ตงไว้ ั้ กรณทดทสุ กรณี ที่ดีที่สด (Best case)  ค่แข่งขัน คู ขงขน  คาดการณ์ในอนาคต (Scenario) (3 คะแนน)  ข้อมูลในอดีต ข้อมูลพืนฐาน (Baseline) ้  งานวิจย/สถิ ติที่เคยมี ั  คู่แข่งขัน  การคํานวณจุดคุ้มทุน (Breakeven) ( (1 คะแนน) )  มาตรฐาน/ความคาดหวังขันตํา มาตรฐาน/ความคาดหวงขนตา ้ ่ กรณี ที่แย่ที่สด (Worst case) ุ  คู่แข่งขัน * ในทางธุรกิจไม่แนะนํ าให ้ตังค่ามาตรฐานไว ้ทีจดคุ ้มทุน ้ ่ ุ
  • 47. วิธีการกําหนดค่าเป้ าหมาย วิธท่ี 2 ี 47 (5 คะแนน) กรณี ที่ดีที่สด (Best case) ุ (3 คะแนน)  เป้ าหมายในแต่ละปี กรณี ที่ดีปานกลาง  ยุทธศาสตร์ที่ตงไว้ ั้ (Normal Case)  คู่แข่งขัน  คาดการณ์ในอนาคต (Scenario) (1 คะแนน) กรณี ที่ประคองตัว (Reinvigorate Case)  ข้อมูลในอดีต (-1 คะแนน)  งานวิจย/สถิ ติที่เคยมี ั กรณี ท่ีแย่ที่สด (Worst case) ุ  คู่แข่งขัน
  • 48. การกําหนดค่าเป้ าหมาย 48 ่ ป้ ค่าเปาหมายแบบช่วง (range target) ่ ?? (1 คะแนน) (2 คะแนน) (3 คะแนน) (4 คะแนน) (5 คะแนน) ?? 76-80 81-85 86-90 91-95 96-100 ค่าเป้าหมายแบบก้าวกระโดด (Stretch target)
  • 49. การกําหนดค่าเป้ าหมาย 49 ่ ป้ ค่าเปาหมายแบบฤดูกาล (Seasoning target) ้ ่ ิ ิ * วิธการนีเมือวัดประสทธิภาพและประสทธิผลมักวัดเดือนปั จจุบนเทียบกับเดือนเดียวกันของปี ทแล ้ว หรืออาจเทียบเป็ นรายไตรมาส/ครึงปี ในรอบเดียวกัน ี ั ี่ ่
  • 50. การกําหนดค่าเป้ าหมาย 50 ่ ป้ ค่าเปาหมายแบบแบ่่งเกรด (Grade target) (0 คะแนน) (5 คะแนน) ทําไม่เสร็จ ทําเสร็จ ไม่ ไ ่ว่าจะเลือกกําหนดค่่าเป้้ าหมายด้วยวิธการใด สิงสําคัญที่ตองคํานึึ ง คือ ื ํ ้ ิ ี ใ ่ิ ํ ั ี ้ ํ ื “ค่าเป้ าหมายนัน บุุ คลากรได้รบประโยชน์อะไร? = องค์การได้รบประโยชน์อะไร?” ้ ั ั
  • 51. กล่มดัชนี วดผลการปฏิบตงาน ุ ั ฏ ัิ 51  การเงิน (Finance) - รายได้, มูลค่าเพิม, และต้นทุน ่  ผลผลิต (Output) - ชิ้นงาน ผลผลต ชนงาน  มาตรฐาน (Standard) - ระดับความสําเร็จ,ความถูกต้อง  ปฏิกรยา (Reaction) - ความคิดเห็นของลูกค้าภายใน/ภายนอก, ข้อร้องเรียน ิิ ็ ้ ใ ้ ้ ี  เวลา (Time) - รอบการปฏิบตงาน ฏ ัิ
  • 52. ( (ตัวอย่าง)) ดัชนี วดผลการปฏิบตงาน ั ฏ ัิ 52 กลุมดัชนี ช้ ีวดผลการปฏิบตงาน ่ ั ัิ ตัวอย่าง การเงิน  ร้อยละของต้นทุนการดําเนิ นงานที่ลดลง ุ ผลผลิต  จํานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการฝึ กอบรม  รายงานการวิจยที่ทาแล้วเสร็จ ั ํ มาตรฐาน  ระดับความสําเร็จของการจัดทําต้นทุนต่อหน่ วยผลผลิต  ระดับความสําเร็จของการดําเนิ นงานตามแผนปฏิบตการ ระดบความสาเรจของการดาเนนงานตามแผนปฏบตการ ัิ ปฏิกรยา ิิ  ร้อยละความพึงพอใจของผูรบบริการ ้ั  จํานวนข้อร้องเรียน จานวนขอรองเรยน เวลา  ร้อยละของเวลาในการให้บริการที่ลดลง
  • 53. วิธีการตรวจสอบดัชนี ช้ ีวดผลงานที่พฒนาขึ้น ั ั 53  ชัดเจนหรือต้องตีความ  สอดคล้องกับเป้ าหมายยทธศาสตร์ของบริษท สอดคลองกบเปาหมายยุทธศาสตรของบรษท ั  สอดคล้องกับลักษณะงาน เช่น งานเชิงปริมาณ ตัวชี้วดต้องเป็ นเชิงปริมาณ ั ั ชี้ ั ้ ป็ ชิ งานเชงคุณภาพ ตวชวดตองเปนเชงคุณภาพ ชิ  จํานวนต้องไม่มากเกินไป และสะท้อนความสําเร็จของหน่ วยงานได้จริง
  • 54. ตัวอย่างแบบฟอร์มการประเมินคุณภาพ ุ 54 เกณฑ์การประเมิน มิตการประเมินคุณภาพ ิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ไม่ควรใช้ 4 3 2 1 0 ตัวชี้วดดังกล่าวสะท้อนความสําเร็จของหัวหน้า ั ตัวชี้วดอย่ในกล่มผลการปฏิบตงาน ตวชวดอยู นกลุ ผลการปฏบตงาน ั ัิ ้ การตังค่าเป้ าหมายท้าทายและสะท้อนความสําเร็จของงาน ตัวชี้วดไม่คลุมเครือ หลายๆ คนอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน ั รวมคะแนน 14-16 14 16 คะแนน หมายถึง ตัวชีวดผลงานตัวนี้มคณภาพสูงสามารถวดผลงานไดดี หมายถง ตวชวดผลงานตวนมคุณภาพสงสามารถวัดผลงานได้ด ้ั ี 11-13 คะแนน หมายถึง ตัวชีวดผลงานตัวนี้มคณภาพปานกลาง ้ั ีุ 8-10 คะแนน หมายถึง ตัวชีวดผลงานตัวนี้มคณภาพระดับพอใช้ ้ั ีุ >7 คะแนน หมายถึง ตวชวดผลงานตวนไมควรใช หมายถง ตัวชีวดผลงานตัวนี้ไม่ควรใช้ ้ั
  • 55. ประเด็นการนํ าเสนอ 55 การเชื่อมโยงสูการปฏิบติ ่ ั
  • 56. การประเมินผลงานและสมรรถนะ 56 ผลงาน สมรรถนะ • สิงที่ทาได้ภายในช่วงเวลาที่ ่ ํ • สิงที่คาดว่าพนักงานคนนั้นมี ่ กาหนด กําหนด ในชวงเวลาทกาหนด ในช่วงเวลาที่กาหนด ํ ผลงาน ทดสอบ ให้ลงมือปฏิบติ สังเกต ั ความกาวหนาของงาน ความก้าวหน้าของงาน จดบนทก จดบันทึก
  • 57. 57 To Sh T Share : ท่านคิดว่าผููประเมินแต่ละคนมีขอดีและข้อด้อย ้ ้ ต่างกันอย่างไร? 57
  • 58. การประเมินแบบหลายองศา 58 การประเมินผลงาน การประเมินสมรรถนะ หัวหน้า 60% ั ้ ตนเอง 20% บุคคลอืนๆ 20% (ลูกน้อง+เพือน+ลูกค้า) ่ ่
  • 59. จุุดอ่อนและจุุดแข็งของผููประเมินแต่ละคน ้ ผูประเมิน ้ จุดแข็ง จุดอ่อน ผููบงคับบัญชา ้ั • มีความชอบธรรมตามนิ ตนย ิ ั • อาจคํานึ งถึงประโยชน์สวนตน ่ • มีอานาจควบคุมการให้รางวัลและการลงโทษ ํ • ไม่ค่อยมีแรงจูงใจในการทําให้การประเมินมีความ • มีความรูเ้ กียวกับภาระความรับผิดชอบของผูรบการประเมิน ่ ้ั แม่นตรง เพือนร่วมงาน ่ • มีความรูเ้ กี่ยวกับภาระหน้าที่ของผูรบการประเมิน ้ั • มักเป็ นคู่แข่งขันของกันและกัน • มีโอกาสใกล้ชิด สามารถสังเกตการทํางานได้ดี • อาจ “ฮัว” กัน ้ • อาจมีความลําเอียงเนื่ องจากความเป็ นเพือน อาจมความลาเอยงเนองจากความเปนเพอน ่ ผูใต้บงคับบัญชา • มีโอกาสสังเกตการทํางานผูบงคับบัญชาได้อย่างใกล้ชิด ้ ั ้ั • อาจมีความเกรงกลัว • สามารถประเมินการทํางานด้านการบริหารบุคคลของ • อาจลําเอียงเพราะความภักดี ผูบงคับบัญชาได้ดี ้ั ไ • มีการแก้แค้น ลูกค้า • ช่วยสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีแก่องค์กร • ไม่มีโอกาสได้เห็นการทํางานอย่างต่อเนื่ อง • ให้ความเห็นแบบตรงไปตรงมา ใหความเหนแบบตรงไปตรงมา ตนเอง • ทราบเจตนาและความตังใจของตนเองเป็ นอย่างดี ้ • อาจลําเอียงเข้าข้างตนเอง • ทราบการปฏิบตงานของตนเอง ัิ • ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตนเอง • แก้ขอคับข้องใจได้ดี ้
  • 60. งานวิจย ั 60  92% ประเมินผลงานโดยหัวหน้างาน; 74%ทบทวนผลงานโดยหัวหน้างาน  บริษทดิจตอลอิควิปเม้นท์ใช้วธประเมินโดยเพือนร่วมงาน (Peer) โ หวหน้า 1 เพือน ั ิ ์ ิี โ ่ โดยมี ั ่ ร่วมงาน 3 ผลการศึกษาพบว่า วิธน้ ี เหมาะกับงานแบบทีม ซึ่งทําให้เกิดการรับรูการพัฒนาใน ี ้ กลุมและแน่่ นแฟ้้ นมากขึ้ ึน ่  Rating committee ประกอบด้วยหัวหน้างานโดยตรงและหัวหน้างานอืนๆอีก 3-4 คน ่  Self rating มักใช้รวมกับการประเมินโดยหัวหน้างาน ่  Subordinate rating = Upward feedback g p  360 degree feedback มักใช้เพือการพัฒนามากกว่าการเลือนตําแหน่ งและขึ้นเงินเดือน ่ ่
  • 61. 61 To Sh T Share : ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นมากในระหว่างประเมิน 61
  • 62. Error ของการประเมินผลที่เกิดจากคน 62  ผลจากความประทับใจส่วนตัว (Halo effect)  การปล่อยคะแนน (Leniency) หรือกดคะแนน (Severity) ป่ ื  การให้คะแนนกระจุกตัวอยู่ตรงกลาง (Central tendency error)  อคติสวนตัว (Personal Bias) ่  ว ม ล เน ม ล ล ร เมน (S a to e ความผิดพลาดเนื่ องจากมีบางอย่างคล้ายคลึงกับผู้ประเมิน (Similar-to-me errors) เช่น ชอบเที่ยวเหมือนกัน อยู่สเี ดียวกัน กินอาหารประเภทเดียวกัน ฯลฯ  ความผิดพลาดเนื่ องจากเหตการณ์ท่เี กิดขึ้นใหม่ๆ (Recency effect) ความผดพลาดเนองจากเหตุการณทเกดขนใหมๆ
  • 63. 63 To Sh T Share : การเชื่อมโยงกับการบริหารงาน
  • 64. การแจ้งผลประเมิน 64  ในขณะปฏิบตงาน ัิ  หลงรอบการประเมน หลังรอบการประเมิน  ผลประเมนเปนความลบ ผลประเมินเป็ นความลับ  ผลประเมินไม่เป็ นความลับ
  • 65. การบริหารบุคคล ุ 65 100 • ยอดเยี่ยม • เกินมาตรฐาน • มาตรฐาน • ตากวามาตรฐาน ตํากว่ามาตรฐาน ่ ผลงาน ??? 0 สมรรถนะ 100
  • 66. แบ่งแยกเพือบริหาร... ่ 66  กลุมคนที่มีผลงานดีบางทีเรียกว่า ม้าศึก ต้องทําให้เขามีความรูสกว่า เขามี ่ ้ึ ความสําคัญเพือที่จะสามารถรักษาเขาไว้ได้้ ่ ไ้  กลุ หนงสอ ควรไดรบการสนบสนุ น บางคนอาจเลื่อนขึ้นไปเป็ น มาศก ได กล่มหนังสือ ควรได้รบการสนับสนน บางคนอาจเลอนขนไปเปน ม้าศึก ได้ ั  กลุมคีม ศักยภาพสูง แต่ผลงานตํา อาจถูกกลันแกล้งหรือเขามีความไม่พอใจ ่ ่ ่  กลุมเครื่องหมายคําถาม ควรได้รบการแก้ไข ซึ่ึงอาจเป็ นการพัฒนาหรือถ้าไม่่ ่ ื ํ ไ ้ั ้ ป็ ั ื ้ไ สามารถปรับปรุงได้จริง ๆ เขาอาจต้องออกจากองค์กรไป
  • 67. ต้นทุนของการมีกลุม Deadwood ในบริษท ุ ุ่ ั 67  ต้นทุนทางการเงิน  ถ้าเป็ นระดับปฏิบตการ ทําใ ผูบงคับบัญชาเสียเวลา ัิ ให้ ้ ั  ถาเปนผู รหาร เขาจะเป็ น ตวแบบ ทแย ถ้าเป็ นผ้บริหาร เขาจะเปน ตัวแบบ ที่แย่  ลูกน้องไม่เรียนรูอะไรเลยจากนายที่ไม่เก่ง ้  ผลงานของลูกน้อง สัมพันธ์ กับของนาย
  • 68. เหตุใดจึงไม่มีใครกล้าจัดการกับกลุม Deadwood ุ ุ่ 68  ไ แน่ ใจว่าเกณฑ์ท่ว่าดีหรือไม่ดีถกต้องไหม ไม่ ี ไ ู ไ  ไม่อยากพูดว่าใครไม่ดี ไม่ตองการ Deliver bad news ให้ใครเจ็บปวด ู ้ หัวใจ  กลัวเขาจะย้อนมาว่าเรา  เราคิดว่าทุกคนพัฒนาได้  หาคนมาทํางานแทนเขาไม่ได้ หาคนมาทางานแทนเขาไมได  กลัวกระบวนการทางกฎหมาย  เขาทางานกบเรามายาวนานยอม ๆ กนบางเถอะ ํ ั ั ้
  • 69. วิธีการจัดการเด็ดขาดแต่ละมุนละม่อม (The Iron Hand in Vel et Glove) Velvet Glo e) 69  จัดทีมผูบริหารหลาย ๆ คนมาคุยกับ Deadwood ้  ในการประเมินผลงาน ควรใช้คณะกรรมการ  ย้ายกล่ม Deadwood ไปทํางานกับนายที่แตกต่างกันไประยะ ยายกลุ ไปทางานกบนายทแตกตางกนไประยะ หนึ่ ง เพือจะได้ไม่มีความผูกพันด้านอารมณ์กบใครโดยเฉพาะ ่ ั  สอนให้นายรูจกวิธีการพูดคุยกับกลุม Deadwood ใ ้ ้ั ั ่
  • 70. วิธีการจัดการเด็ดขาดแต่ละมุนละม่อม (The Iron Hand in Vel et Glove) Velvet Glo e) 70 วิธีกาปันเหล็ก (The Iron Hand) ํ ้  จัดทีมผูบริหารหลาย ๆ คนมาคุยกับ Deadwood ั ี ้ ิ ั  ในการประเมินผลงาน ควรใช้คณะกรรมการ  ย้ายกลุม Deadwood ไปทํางานกับนายที่แตกต่างกันไประยะ ่ หนง เพอจะไดไมมความผูกพนดานอารมณกบใครโดยเฉพาะ หนึ่ ง เพือจะได้ไม่มีความผกพันด้านอารมณ์กบใครโดยเฉพาะ ่ ั  สอนให้นายรูจกวิธีการพูดคุยกับกลุม Deadwood ้ั ่
  • 71. วิธีการจัดการเด็ดขาดแต่ละมุนละม่อม (The Iron Hand in Vel et Glove) Velvet Glo e) 71 วิธละมุนละม่อม (The Velvet Glove) ี  รายงานผลงานเขาบ่อย ๆ เขาจะได้ไม่ตกใจ เพราะเตรียมใจได้ ไ ใ ใไ  ให้เวลาเขาระยะหนึ่ งเพือจะได้หางานใหม่ ่  ให้คาปรึกษาหารือ และสร้างสถานการณ์ท่ไม่ให้เขาเสียหน้า ํ ี  ดูแลเรองสภาพความเปนอยู่และเรองการเงนเขาดวย ่ื ส ป็ ่ื ิ ้
  • 72. เกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน การจ่ายค่าตอบแทน 72 Evaluation Criteria Performance Grading Performance Link to Pay Weight A+ (Outstanding) 70% 9-10% A (Above Standard) 7-8% B (Standard) 5-6% C (Need Improvement) <4% D (Unsatisfactory) 30% 0%
  • 73. 73 To Sh T Share : เทคนิ คการนํ าระบบบริหารผลงานไปใช้ให้ได้ผล
  • 74. ลําดับการนํ าไปใช้ประโยชน์ 74 Communicat Job T&D Staffing Career M Compens Succession M. Compens. e improvement Plan
  • 75. การกําหนดตัวผููประเมิน ้ 75 ผูรบบริการ ้ั เพือนร่วมงาน ่ หัวหน้าสูงกว่าอีก 1 ระดับ ตนเอง หัวหน้า ปี ท่ี 1 ปี ท่ี 2 ปี ท่ี 3 ปี ท่ี 4 ปี ท่ี 5 จานวนปทนาไปใช จํานวนปี ท่นําไปใช้ ี
  • 76. สงครามแย่งชิงคนเก่ง... กําลังเริ่มขึ้น 76 ปร ด็นจากหนังสือ War for Talent ประเดนจากหนงสอ ระบุว่า ... ต้องกล้าหาญที่จะแบ่่งกลุมพนักงานตามความสามารถของเขา ้ ้ ี ่ ั  ผ้บงคบบญชา ชอบที่จะปฏิบตต่อลกน้องทกคนว่าเขามีความสามารถ ผู งคับบัญชา ชอบทจะปฏบตตอลูกนองทุกคนวาเขามความสามารถ ั ัิ เท่าเทียมกัน ซึ่งในความเป็ นจริงแล้ว คนมีผลงานไม่เท่ากัน  ต้องแบ่งคนออกตามผลงานเพือจะได้ปฏิบตต่อคนแต่ละคนได้ ตองแบงคนออกตามผลงานเพอจะไดปฏบตตอคนแตละคนได ่ ัิ เหมาะสม บางคนควรได้รบการเลือนตําแหน่ ง บางคนควรได้รบ ั ่ ั การพฒนา การพัฒนา 76
  • 77. คนเก่งและคนยอดแย่ 77 หลายบริษทมีนโยบายแข่งขันด้วยคน ั เก่ง เพราะรูว่าคนเก่ง (Talent) ้ ใหคุ ประโยชนมากแคไหนกบธุรกจ ใ ้ ณป โ ช ์ ่ไ ั ิ แล้วบริษทเราล่ะ .... ้ ิ ั ่ ต้องการคนเก่่งไหม? ้ ไ และต้องมีเท่าไหร่จึงเหมาะสม?
  • 78. 78 การประเมินที่ดีท่สด คือ .. ีุ “การไม่ประเมิน”
  • 79. 79
  • 80. ประวัตการทํางาน ิ 80 สนตชย อนทรออน สันติชย อินทรอ่อน ั Email : inthornon@gmail.com, suntichai@gchrsolution.com Mobile : 084-913-0727 • ผูจดการพัฒนาธุรกิจทรัพยากรบุคคล บริษท โกลบัล คอนเซิรน จํากัด ้ั ั ์ • กําลังศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนเรศวร ศูนย์วทยบริการกรุงเทพมหานคร ิ • ประสบการณทางานดานวจย ที่ปรึกษา ใหคาปรกษาในภาครฐและเอกชนรวม ป ในสายงานการจดการทรพยากรบุคคล ประสบการณ์ทางานด้านวิจย ทปรกษา ให้คาปรึกษาในภาครัฐและเอกชนร่วม 8 ปี ในสายงานการจัดการทรัพยากรบคคล การ ํ ั ํ พัฒนาบุคลากร การบริหารสมรรถนะ (Competencies) การปรับโครงสร้างองค์กร และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ • องค์กรที่เคยร่วมงานด้วยคือ บริษท เอเชียแปซิฟิคคอนซัลแตนท์ จํากัด, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, สถาบันทรัพยากร- ั มนุ ษย มหาวทยาลยธรรมศาสตร, สถาบนวจยและใหคาปรกษาแหงมหาวทยาลยธรรมศาสตร, มูลนธพฒนาทรพยากรมนุ ษย มนษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันวิจยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มลนิ ธิพฒนาทรัพยากรมนษย์ ั ํ ั ระหว่างประเทศ ฯลฯ • ที่ปรึกษาและวิทยากรให้กบภาคเอกชนและภาครัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ได้แก่ บริษท สยามฟาร์มาซูตคอล จํากัด, บริษท ั ั ิ ั กรุงไทยธุรกจบรการ จากด ภาครฐและรฐวสาหกจ ไดแก การไฟฟ้ าส่วนภมิภาค, องคการสุรา, กรมชลประทาน, สานกงาน กรงไทยธรกิจบริการ จํากัด ฯลฯ ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ การไฟฟาสวนภูมภาค องค์การสรา กรมชลประทาน สํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน, กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์, สํานักงานคณะกรรมการประสานงาน โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ, สํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, บริษท ธนารักษ์พฒนาสินทรัพย์ จํากัด ั ั ฯลฯ • อาจารย์พเิ ศษมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนนทา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ฯลฯ ั
  • 81. ประวัตการทํางาน ิ 81 กฤษณะ ยอดแก้ว ยอดแกว Email : krisna@gchrsolution.com Mobile : 081-171-5454 • ที่ปรึกษาธุรกิจทรัพยากรบุคคล บริษท โกลบัล คอนเซิรน จํากัด ั ์ • ปริญญาโท สาขาพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์และองค์การ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • ประสบการณทางานดานวจย ที่ปรึกษา ใหคาปรกษาในภาครฐและเอกชนรวม ป ในสายงานบรหารธุรกจ การจัดการทรัพยากร ประสบการณ์ทางานด้านวิจย ทปรกษา ให้คาปรึกษาในภาครัฐและเอกชนร่วม 4 ปี ในสายงานบริหารธรกิจ การจดการทรพยากร ํ ั ํ บุคคล การพัฒนาบุคลากร การบริหารสมรรถนะ (Competencies) และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ • องค์กรที่เคยร่วมงานด้วยคือ บริษท ไอ เสต็ป จํากัด, บริษท โตโยต้ากําแพงเพชร (โคว้ยฮะ), สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงาน, มูลนิ ธิ ั ั ุ พฒนาทรพยากรมนุ ษยระหวางประเทศ พัฒนาทรัพยากรมนษย์ระหว่างประเทศ ฯลฯ • ที่ปรึกษาและวิทยากรให้กบภาคเอกชนและภาครัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ได้แก่ บริษท ไอสเต็ป จํากัด บริษท กรุงไทย ั ั ั ธุรกิจบริการ จํากัด บริษท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชันแนล จํากัด บริษท เฉลียวการช่างและค้าวัสดุกอสร้าง จํากัด ฯลฯ ภาครัฐ ั ่ ั ่ และรฐวสาหกจ ไดแก สํานักงาน กพ สานกงานปลดกระทรวงพาณชย และรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ สานกงาน กพ. สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์ กรมชลประทาน การเคหะแห่งชาติ กองทนเงินให้กยม การเคหะแหงชาต กองทุนเงนใหกู ้ ื เพือการศึกษา องค์การสุรา การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค ฯลฯ ่ • ้ บรรยายให้กบหน่ วยงานทังภาครัฐและเอกชนด้านการบริการ การบริหารจัดการธุรกิจ,โลจิสติกส์ การทํางานเป็ นทีม การเสริมสร้าง ั ทศนคตและจตสานกในการทางาน ไคเซน ทัศนคติและจิตสํานึ กในการทํางาน 5ส “ไคเซน” KAIZEN เป็ นต้น เปนตน