SlideShare a Scribd company logo
1 of 151
Download to read offline
การลดของเสียและการปรับปรุงผลผลิต
(Waste reduction and productivity improvement)
1. เพื่อเข้าใจถึงการผลิต
2. เพื่อเข้าใจถึงระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี
3. เพื่อเข้าใจถึงระบบการผลิตแบบลีน
4. การปรับปรุงผลผลิต
ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
 การผลิต จัดเป็นกระบวนการหนึ่งที่สาคัญในการประกอบ
ธุรกิจไม่ว่าองค์การนั้นจะประกอบธุรกิจลักษณะซื้อมาขายไป
ไม่ได้ทาการผลิตสินค้าเองโดยตรงก็ตาม ทั้งนี้เป็นเพราะการ
ผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพจะทาให้ต้นทุนของสินค้าสูง ส่งผลให้
การขายสินค้าเป็นไปด้วยความยากลาบาก ดังนั้นจึงมีความ
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนาการศึกษาเกี่ยวกับการผลิต เพื่อ
เป็นพื้นฐานในการประกอบธุรกิจต่อไป
4ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การผลิต หมายถึง การแปรสภาพจากทรัพยากรต่าง ๆ ให้
อยู่ในรูปสินค้าหรือบริการ ให้กลายเป็นผลผลิตที่มี
ประโยชน์ โดยการเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้น
 การผลิต หมายถึง การนาปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ ตั้งแต่
สองชนิดขึ้นไปมาทาให้เกิดสินค้าและบริการต่างๆ เพื่อ
สนองความต้องการของมนุษย์ สร้างอรรถประโยชน์ให้กับ
ผู้บริโภค เพิ่มมูลค่าของสิ่งของให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น Value
added การผลิตอาจใช้ปัจจัยการผลิตน้อยหรือมากตาม
ชนิดของสินค้าและบริการแต่ละชนิด
5ธีทัต ตรีศิริโชติ
6
ปัจจัยการ
ผลิตในทาง
เศรษฐศาสตร์
ที่ดิน/ทรัพยากร
ธรรมชาติ
แรงงาน
ทุน
-เงินทุน
-สินค้าทุน
ผู้ประกอบ
การ
ธีทัต ตรีศิริโชติ
 แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
7
-แบ่งตามลักษณะเฉพาะของ
ผลิตภัณฑ์
-แบ่งตามระบบการผลิตและ
ปริมาณการผลิต
ธีทัต ตรีศิริโชติ

เป็นการผลิตที่ผลิตภัณฑ์จะเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการ
ของลูกค้าแต่ละราย กระบวนการผลิตจึงไม่สามารถคาดการณ์ไว้
ล่วงหน้าได้ ผู้ผลิตต้องมีความสามารถและความชานาญหลายอย่าง
ตัวอย่างเช่น การตัดเย็บชุดวิวาห์ การรับสร้างบ้านบนที่ดินของลูกค้า
การทาผม เป็นต้น
8
การผลิตตามคาสั่งซื้อ (made-to-order)1.1
ธีทัต ตรีศิริโชติ

เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันตามความต้องการ
ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายส่วนใหญ่ การจัดหาวัตถุดิบและการเตรียม
กระบวนการผลิตสามารถทาได้ล่วงหน้า เครื่องจักรอุปกรณ์จะเป็น
เครื่องมือเฉพาะ งานและผู้ผลิตถูกอบรมมาเพื่อทางานตามหน้าที่
เฉพาะอย่าง เช่น การผลิตสบู่ การผลิตรถยนต์ เครื่องแบบนักเรียน
9
การผลิตเพื่อรอจาหน่าย (made-to-stock)1.2
ธีทัต ตรีศิริโชติ

เป็นการผลิตชิ้นส่วนที่จะประกอบเป็นสินค้าสาเร็จรูปได้หลายชนิด
มีลักษณะแยกออกเป็นส่วน เมื่อได้รับคาสั่งซื้อจากลูกค้าจึงทาการ
ประกอบให้เป็นสินค้าตามลักษณะที่ลูกค้าต้องการ ได้แก่ การผลิต
เครื่องใช้ไฟฟ้า หลายรุ่นที่มีการใช้อะไหล่
เหมือนกัน
ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
การผลิตเพื่อรอคาสั่งซื้อ (assembly-to-order)1.3

เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ราคาแพง และมี
ลักษณะเฉพาะตามความต้องการของลูกค้าเฉพาะราย เช่น การสร้าง
เขื่อน การสร้างทางด่วน การต่อเรือดาน้า การต่อเครื่องบิน มีปริมาณ
การผลิตต่อครั้งน้อยผลิตครั้งละ ชิ้นเดียวและใช้เวลานานการผลิตจะ
เกิดขึ้น ทีสถานที่ตั้งของโครงการ
11
การผลิตแบบโครงการ (project Manufacturing)2.1
ธีทัต ตรีศิริโชติ

เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะหลากหลายตามความต้องการของลูกค้า
โดยมีปริมาณการผลิตต่อครั้งเป็นล็อต มีการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ที่ผลิตค่อนข้างบ่อย
เช่น การบริการคนไข้ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ
จะถูกรวมกันตามหน้าที่การใช้งาน
12
การผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง (job shop)2.2
ธีทัต ตรีศิริโชติ

เป็นการผลิตที่คล้ายกับการผลิตแบบไม่ต่อเนื่องมากจนบางครั้ง
จัดเป็นการผลิตประเภทเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันตรงที่การผลิตแบบ
กลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตแยกเป็นกลุ่ม ๆ ในแต่ละ
กลุ่มจะผลิตตามมาตรฐานเดียวกันทั้งล็อต ในขณะที่การผลิตแบบไม่
ต่อเนื่องจะมีลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์หลากหลายมากกว่า
ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
การผลิตแบบกลุ่ม (batch production)2.3

เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกันในปริมาณมาก เช่น การผลิตแชมพู การ
ผลิตรถยนต์ การผลิตเครื่องซักผ้า การผลิตแบบไหลผ่านจะมีเครื่องจักอุปกรณ์
เฉพาะของแต่ละสายผลิตภัณฑ์แยกต่างหาก โดยไม่มีการใช้เครื่องจักรร่วมกัน
เครื่องจักรอุปกรณ์จะเป็นแบบเฉพาะงาน
ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
การผลิตตามสายการประกอบ (line- flow)2.4

เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวในปริมาณที่มากมายอย่างต่อเนื่องโดยใช้
เครื่องจักรเฉพาะอย่าง ซึ่งมักจะเป็นการผลิตหรือแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติให้
เป็นวัตถุดิบในการผลิตขั้นตอนต่อไป เช่น การกลั่นน้ามัน การผลิตสารเคมี การทา
กระดาษ เป็นต้น
ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
การผลิตแบบต่อเนื่อง (continuous process)2.5
1. การผลิตขั้นปฐมภูมิ ( primary production) คือ การผลิต
แบบดั้งเดิมเป็นการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติโดยตรง กรรมวิธีการ
ผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่น การเกษตรกรรม การป่าไม้ การ
ประมง การเลี้ยงสัตว์ การทานา ซึ่งประเทศล้าหลังทางเศรษฐกิจ
จะมีการผลิตในขั้นนี้เป็นส่วนใหญ่
ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
2. การผลิตขั้นทุติยภูมิ (secondary production) คือ การนาผลผลิตขั้น
ปฐมมาดัดแปลงเป็นผลผลิตใหม่ ไม่ให้เกิดการเน่าเสียสิ้นเปลือง เช่น การ
นาสับปะรดมาผลิตเป็นสับปะรดกระป๋อง การนาฝ้ายมาทอเป็นผ้า การทา
เหมืองแร่ การย่อยหิน การอุตสาหกรรมอื่นๆ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
3. การผลิตขั้นตติยภูมิ (tertiary production) คือ การนาผลผลิตขั้นปฐมภูมิ
และขั้นทุติยภูมิส่งไปถึงมือผู้บริโภคอย่างสะดวก ตลอดจนการให้บริการและการ
อานวยความสะดวกในด้านการค้าอื่นๆ ด้วย เช่น งานราชการ การค้าส่ง การค้า
ปลีก งานทนายความ การแพทย์ การให้ความบันเทิง การประกันภัย การ
ธนาคาร การบรรจุหีบห่อ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
การบริหารการผลิต (production / operations management) จึงเป็น
การบริหารกระบวนการแปรสภาพปัจจัยนาเข้าให้กลายเป็นผลผลิตที่มีมูลค่ามากกว่า
ผลรวมของปัจจัยนาเข้าโดยใช้ระบบการบริหารการผลิต โดยดูที่ความต้องการ
(Wants and Needs) ของลูกค้า
ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
โรงงาน
◦ การเลือกทาเลที่ตั้งโรงงาน ความใกล้ ปัจจัยเกี่ยวกับคน
ปัจจัยทางกายภาพและพลังงาน
การควบคุมวัสดุในการผลิต
วิธีการผลิต
การควบคุมการผลิต
ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
กระบวนการผลิตมีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ประการ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
ปัจจัยนาเข้า
(input)
กระบวนการแปลง
สภาพ (conversion
Process)
ผลผลิต (output)
1. ปัจจัยนาเข้า (input) คือทรัพยากรขององค์การที่ใช้ผลิตทั้งที่เป็น
สินทรัพย์ที่มีตัวตน (tangible assets) เช่น วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ และ
สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (intangible assets) เช่น แรงงาน ระบบการจัดการ ข่าวสาร
ทรัพยากรที่ใช้จะต้องมีคุณสมบัติและประโยชน์ใช้สอยที่เหมาะสม และมีต้นทุนการ
ผลิตที่ต่า เพื่อให้สินค้าสาเร็จรูปสามารถแข่งขันทางด้านราคาได้ในท้องตลาด
ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
2. กระบวนการแปลงสภาพ (conversion process) เป็นขั้นตอนที่ทาให้ปัจจัยนาเข้า
ที่ผ่านเข้ามามีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น
- รูปลักษณ์ (physical) โดยการผ่านกระบวนการผลิตในโรงงาน
- สถานที่ (location) โดยการขนส่ง การเก็บเข้าคลังสินค้า
- การแลกเปลี่ยน (exchange)โดยการค้าปลีก
การค้าส่ง
- การให้ข้อมูล (informational) โดยการติดต่อสื่อสาร
- จิตวิทยา (psychological) โดย การนันทนาการ ฯลฯ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
3. ผลผลิต (output) เป็นผลได้จากระบบการผลิตที่มีมูลค่าสูงกว่าปัจจัย
นาเข้าที่รวมกันอันเนื่องมาจากที่ได้ผ่านกระบวนการแปลงสภาพ ผลผลิตแบ่งเป็น 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ สินค้า (goods) และบริการ (service) ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน
หลายประการ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
ผู้บริหารที่มีการจัดการด้านการผลิตดี จะสามารถทาให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็นสาคัญของการผลิตจะต้องคานึงถึง คือ มีต้นทุนต่า
low cost สินค้าหรือบริการมีคุณภาพสูง และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค จะต้องมี
การจัดการผลิตที่ดีประกอบด้วย
ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
location
material
management
operation
processing
1.1 แหล่งวัตถุดิบ เลือกทาเลที่ตั้งให้ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ เพื่อลด
ต้นทุนในการขนส่ง
1.2 แหล่งแรงงาน ต้นทุนที่สาคัญของการประกอบธุรกิจอีกประการ
หนึ่งคือ แรงงาน ค่าแรงงานขั้นต่าตามกฎหมายแรงงาน
1.3 ระบบสาธารณูปโภค อันได้แก่ ถนนหนทาง ไฟฟ้า น้า โทรศัพท์
รวมถึงการคมนาคมด้านอื่น ไม่ว่าจะเป็นทางน้าหรือทางรถไฟ
เพราะสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นสิ่งจาเป็นในการประกอบธุรกิจ
ทั้งสิ้น
ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
1.4 ราคาที่ดิน เงินทุนบางส่วนจมอยู่กับค่าที่ดิน ดังนั้นจึงต้องมีการ
พิจารณาอย่างรอบคอบว่ามีความเหมาะสมและคุ้มค่ากับการลงทุน
หรือไม่ โดยเฉพาะเวลาในการคืนทุน
1.5 แหล่งระบายสินค้า การผลิตสินค้าหรือบริการขั้นสุดท้ายสินค้าหรือ
บริการนั้นจะต้องไปสู่ผู้บริโภค ดังนั้นจะต้องคานึงถึงการขนส่งสินค้า
1.6 สิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น ทางด้านภาษีอากร เป็นต้น รัฐบาลมีนโยบาย
กระจายรายได้สู่ชนบท
ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
2.1 คุณภาพของวัสดุที่ใช้ เพราะวัสดุที่ใช้ในการผลิตมีคุณภาพย่อม
ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพด้วยเช่นกัน
2.2 ต้นทุนของวัสดุ เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าวัสดุที่มีคุณภาพสูง
ย่อมต้องมีราคาสูงด้วย ปัญหาอยู่ที่ว่าจะบริหารอย่างไรให้มีต้นทุนต่อ
หน่วย
2.3 ปริมาณของวัสดุ ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ธุรกิจจะต้องมีประมาณ
การเกี่ยวกับผลผลิต
ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
1. การวางแผนการปฏิบัติ operation plan
2. ตารางการทางาน scheduling
3. เทคโนโลยีการจัดการ ปฏิบัติการ operations management
technology
-การออกแบบโดยนาเอาคอมพิวเตอร์
เข้ามาช่วย
-ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น
-หุ่นยนต์ การใช้คาสั่งป้อนเข้าให้ทางานต่างๆ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
4. การควบคุมการปฏิบัติการ (operations
control)
เป็นการกาหนดมาตรฐานที่จะใช้ในการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้ามีรูปแบบดังนี้
- quality control
- technology control
- labor control
- cost control
-ด้านอื่นๆ เช่น การใช้วัตถุที่มีพิษ การบาบัดของเสียเนื่องจาก
กระบวนการผลิต
ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
การจัดซื้อ (purchasing) หมายถึง การดาเนินงานตามขั้นตอน
ต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ วัสดุ และสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่
จาเป็นโดยมีคุณสมบัติ ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา แหล่งขาย และการ
นาส่ง ณ สถานที่ถูกต้อง (ปราณี ตันประยูร, 2537 : 137)
ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
1. เพื่อให้มีวัตถุดิบและวัสดุอื่น ๆ ในการผลิตอย่างเพียงพอ
2. เพื่อรักษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่จัดซื้อให้ได้มาตรฐานเดียวกัน
3. เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียหาย และความล้าสมัยของวัตถุดิบ
4. เพื่อให้กิจการมีกาไร ต้นทุนในการจัดซื้อต่า วัตถุดิบที่ใช้เพียงพอ
5. หลีกเลี่ยงปัญหาพัสดุซ้ากัน
ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
1. คุณสมบัติที่ถูกต้อง
2. ปริมาณที่ถูกต้อง
3. ราคาที่ถูกต้อง
4. ช่วงเวลาที่ถูกต้อง
5. แหล่งขายที่ถูกต้อง
6. การนาส่งที่ถูกต้อง
1. การกระจายการจัดซื้อ วิธีหนึ่งในการป้องกันมิให้อานาจในการ
ต่อรองต่ากว่าผู้ขาย
2. การสร้างแหล่งซื้อเพิ่มเติม วิธีนี้นิยมนามาใช้ในกรณีบริษัททาการ
ประเมินคุณสมบัติต่าง ๆ แล้วปรากฏว่ามีผู้ขายผ่านเกณฑ์การประเมินได้
จานวนน้อย
3. การหลีกเลี่ยงต้นทุนการเปลี่ยนแหล่งซื้อ
4. การกาหนดมาตรฐานวัสดุผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นมาตรฐาน
เดียวกันจะมีเกณฑ์กาหนดตรงกันเสมอ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
5. การรวมตัวย้อนหลัง เป็นลักษณะของการขยายธุรกิจแบบ
หนึ่ง วิธีการคือ ก้าวจากการเป็นผู้ผลิตอยู่เดิมไปเป็นเจ้าของแหล่ง
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอีกธุรกิจหนึ่ง
6. การเร่งรัดการจัดซื้อ เป็นการแสดงให้ฝ่ายผู้ซื้อได้ติดตาม
ตรวจสอบและประเมินการดาเนินงานของฝ่ายผู้ขายอย่างใกล้ชิด
ตลอดเวลา ทาให้ฝ่ายผู้ขายไม่กล้าบิดพลิ้ว
ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
1. รับการวิเคราะห์ใบขอให้ซื้อ (purchase requisition) ซึ่งจะ
วิเคราะห์ถึงประเภทของสิ่งของและจานวนที่ซื้อ
2. ศึกษาถึงสภาตลาด แหล่งที่จะจัดซื้อ และผู้ขาย
3. ส่งใบขอให้เสนอราคา (request for quotations) ไปยังผู้ขาย
หลาย ๆ แหล่ง
4. รับและวิเคราะห์ใบขอให้เสนอราคาจากผู้ขาย
5. เลือกผู้ขายที่เสนอราคาและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ดีที่สุด
ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
6. คานวณราคาของสิ่งของที่จะสั่งซื้อให้ถูกต้อง
7. ส่งใบสั่งซื้อ (purchase order) ไปยังผู้ขายที่ต้องการจะซื้อ
8. ติดตามผลให้เป็นไปตามที่ได้ติดต่อหรือตามสัญญา
9. วิเคราะห์รายงานการรับรองของ
10. วิเคราะห์และตรวจสอบใบกากับ
สินค้า (invoice) ของผู้ขายเพื่อการ
จ่ายเงิน
ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
ซื้อเพื่อขาย
ซื้อเพื่อเปลี่ยน
สภาพ
ซื้อเพื่อบริโภค

เป็นลักษณะของการซื้อมาเพื่อเก็งกาไร เป็นการจัดซื้อโดยพ่อค้าคนกลาง
ซึ่งจาเป็นต้องใช้ความพยายามในการแสวงหาสินค้าต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมและอยู่ใน
ความต้องการของลูกค้า
ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
การจัดซื้อเพื่อขายต่อ1.

เป็นลักษณะของการจัดซื้อเพื่อนาไปใช้ในการผลิต ซึ่งอาจจะ
เป็นอุตสาหกรรมขาดใหญ่กลางหรือเล็ก เป็นการจัดซื้อที่จัดทาโดย
ตัวแทนจัดซื้อ ถือว่าเป็นงานหลักงานหนึ่งของธุรกิจการผลิต
ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
การจัดซื้อเพื่อแปรสภาพ2.

การจัดซื้อในลักษณะนี้จะเป็นการซื้อในตลาดผู้บริโภค เป็นการซื้อที่
กระทาโดยผู้บริโภคเอง เป็นการซื้อเพื่อสมาชิกในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง
หรือเพื่อผลประโยชน์อื่นๆที่มุ่งหวัง
ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
การจัดซื้อเพื่อการบริโภค3.
หลักการและแนวคิดของสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลัง หรือสินค้าคงเหลือ (inventory) เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับธุรกิจ เพราะ
จัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนรายการหนึ่งซึ่งธุรกิจพึงมีไว้เพื่อให้การผลิตหรือการขาย
สามารถดาเนินไปได้อย่างราบรื่น การมีสินค้าคงคลังมากเกินไปอาจเป็นปัญหากับธุรกิจ
ทั้งในเรื่องต้นทุนการเก็บรักษาที่สูง สินค้าเสื่อมสภาพ หมดอายุ ล้าสมัย ถูกขโมย หรือ
สูญหาย นอกจากนี้ยังทาให้สูญเสียโอกาสในการนาเงินที่จมอยู่กับสินค้าคงคลังนี้ไปหา
ประโยชน์ในด้านอื่นๆ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
สินค้าคงคลัง หรือสินค้าคงเหลือ (inventory) หมายถึง วัสดุหรือสินค้าต่างๆ ที่
เก็บไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการดาเนินงาน อาจเป็นการดาเนินงานผลิต ดาเนินการขาย
หรือดาเนินงานอื่นๆ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 43
แบ่งได้เป็น 4 รูปแบบใหญ่ๆ คือ
1. วัตถุดิบ (raw material) คือสิ่งของหรือชิ้นส่วนที่ซื้อมาใช้ในการผลิต
2. งานระหว่างทา (work-in-process)
คือชิ้นงานที่อยู่ในขั้นตอนการผลิตหรือ
รอคอยที่จะผลิตในขั้นตอนต่อไป
โดยที่ยังผ่านกระบวน การผลิต
ไม่ครบทุกขั้นตอน
ธีทัต ตรีศิริโชติ 44
3. วัสดุซ่อมบารุง (maintenance/repair/operating supplies) คือ
ชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรที่สารองไว้เผื่อเปลี่ยนเมื่อชิ้นส่วนเดิมเสีย
หรือหมดอายุการใช้งาน
4. สินค้าสาเร็จรูป (finished goods)
คือปัจจัยการผลิตที่ผ่านทุกกระบวนการ
ผลิตครบถ้วนพร้อมที่จะขายให้ลูกค้าได้
ธีทัต ตรีศิริโชติ 45
ธีทัต ตรีศิริโชติ 46
ระบบสินค้าคงคลัง
การรับสินค้าเข้าสู่ระบบ
การเบิกสินค้าออกจากระบบ
การดูแลเก็บรักษาและขนย้าย
การตรวจสอบสินค้า
ที่มีอยู่ในคลัง
-ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ประมาณการไว้ในแต่ละ
ช่วงเวลา ทั้งในและนอกฤดูกาล โดยธุรกิจต้องเก็บสินค้าคงคลังไว้ใน
คลังสินค้า
- รักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่าเสมอ เพื่อรักษาระดับการ
ว่าจ้างแรงงาน การเดินเครื่องจักร ฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะเก็บสินค้าที่
ขายไม่หมดในช่วงขายไม่ดีไว้ขายตอนช่วงขายดีซึ่งช่วงนั้นอาจจะผลิตไม่
ทันขาย
-ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซื้อครั้งละมากๆ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 47
- ป้องกันการเปลี่ยนแปลงราคา และผลกระทบจากเงินเฟ้อเมื่อ
สินค้าในท้องตลาดมีราคาสูงขึ้น
- ป้องกันของขาดมือด้วยสินค้าเผื่อขาดมือ (Safety Stock) เมื่อ
เวลารอคอยล่าช้าหรือบังเอิญได้คาสั่งซื้อเพิ่มขึ้นกะทันหัน
- ทาให้กระบวนการผลิตสามารถดาเนินการต่อเนื่องอย่างราบรื่น
ไม่มีการหยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความเสียหายแก่กระบวนการ
ผลิตซึ่งจะทาให้คนง่านว่างงาน เครื่องจักรถูกปิด ผลิตไม่ทันคาสั่งของ
ลูกค้า
ธีทัต ตรีศิริโชติ 48
1. จุดมุ่งหมายหลักในการมีสินค้าคงคลัง มีไว้เพื่อให้การ
ดาเนินธุรกิจเป็นไปอย่างราบรื่น ไม่สะดุดหรือหยุดชะงัก แต่
บางครั้งธุรกิจอาจมีจุดมุ่งหมายอื่น เช่นถ้าคาดการณ์ว่าราคาสินค้า
มีแนวโน้มจะสูงขึ้นในอนาคต ก็อาจเก็งกาไรโดยเลือกเก็บสินค้าคง
คลังในปัจจุบัน เพื่อขายในราคาที่สูงขึ้นในอนาคต
ธีทัต ตรีศิริโชติ 49
2. ยอดขายในอดีตของธุรกิจ การนายอดขายที่
เกิดขึ้นในอดีตมาพยากรณ์ยอดขายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต การ
กาหนดปริมาณสินค้าคงคลังของธุรกิจจะแปรผันโดยตรงกับ
ยอดขายที่พยากรณ์ได้ ถ้าขายมาก ก็อาจต้องมีปริมาณสินค้าคง
คลังในระดับค่อนข้างมาก
ธีทัต ตรีศิริโชติ 50
3. การซื้อขายตามฤดูกาล (Seasonal Selling) ถ้าเป็น
ธุรกิจที่มีการซื้อขายตามฤดูกาล เช่นธุรกิจขายร่ม ซึ่งถ้าเข้าสู่ช่วงฤดูฝน
ยอดขายก็อาจมากกว่าปกติ ดังนั้นระดับของปริมาณสินค้าคงคลังใน
ในช่วงฤดูฝนก็จะมากขึ้นตามปริมาณของยอดขายที่เพิ่มขึ้น หลังจากนั้น
ยอดขายก็จะลดลงมาสู่ระดับปกติ ซึ่งระดับของปริมาณสินค้าคงคลังก็จะ
ลดลงตาม
ธีทัต ตรีศิริโชติ 51
4. คุณสมบัติของสินค้า อันได้แก่ วงจรชีวิต ความคงทน ขนาด
รูปลักษณ์ เป็นต้น ถ้าเป็นธุรกิจที่ขายผักหรือผลไม้ ซึ่งมีวงจรชีวิตน้อย
การที่ธุรกิจจะมีปริมาณสินค้าคงคลังมากก็คงไม่ใช่สิ่งที่ดีแน่นอน
ธีทัต ตรีศิริโชติ 52
5. การแบ่งประเภทของสินค้า สินค้าประเภทที่มีความสาคัญ
มาก ซึ่งสามารถขายได้เป็นจานวนมากก็ควรมีปริมาณสินค้าคงคลังมาก
และสินค้าที่มีความสาคัญน้อย เพราะขายได้น้อย ก็ควรมีปริมาณของ
สินค้าคงคลังน้อย
ธีทัต ตรีศิริโชติ 53
6. ความนิยมในตัวสินค้า ถ้าธุรกิจมีสินค้าประเภท
ล้าสมัยไม่เป็นที่นิยม ปริมาณสินค้าคงเหลือของสินค้าชนิดนี้ก็ควร
จะมีปริมาณน้อยกว่าสินค้าประเภทอื่นในสายการผลิตของธุรกิจ
นั้น
ธีทัต ตรีศิริโชติ 54
7. ความไม่แน่นอนในการจัดส่งสินค้าของ Suppliers ธุรกิจอาจต้อง
สั่งซื้อวัตถุดิบจาก Suppliers การจัดส่งวัตถุดิบอาจมีความล่าช้าเกิดขึ้นจาก
เหตุการณ์ไม่คาดคิด ดังนั้นในการกาหนดปริมาณของสินค้าคงคลัง ผู้ประกอบการก็
ควรจะต้องมีสินค้าเผื่อปลอดภัยเก็บไว้ด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้ธุรกิจหยุดชะงัก และ
สูญเสียโอกาสในการขาย
ธีทัต ตรีศิริโชติ 55
8. การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการบริหารสินค้าคงคลัง
โดยเฉพาะด้านการสื่อสาร หากการสื่อสารผิดพลาด ธุรกิจก็จะเสียโอกาสใน
การขายสินค้าให้แก่ลูกค้า การตอบสนองต่อคาสั่งซื้อจากลูกค้าล่าช้า ก็จะ
ทาให้คาดการณ์ปริมาณสินค้าคงคลังเพื่อรองรับการขายได้ยากขึ้น หาก
ธุรกิจสามารถพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานได้ดี
เท่าไร การคาดการณ์ปริมาณสินค้าคงคลังก็จะง่ายขึ้น
ธีทัต ตรีศิริโชติ 56
9. การเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ อันได้แก่ กฎหมาย ข้อกาหนด
และระเบียบข้อบังคับต่างๆ ซึ่งทาให้เกิดทั้งโอกาส หรืออุปสรรคต่อการดาเนิน
ธุรกิจ และส่งผลโดยตรงต่อปริมาณสินค้าคงคลังของธุรกิจแต่ละประเภท โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกับธุรกิจที่ขึ้นกับนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 57
10. ต้นทุนของสินค้าคงคลัง (Inventory Cost) ทั้งนี้ในการกาหนด
ปริมาณของสินค้าคงคลังของธุรกิจนั้นต้องคานึงถึงต้นทุนต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วย
โดยจุดมุ่งหมายหลักก็คือ ต้องมีปริมาณของสินค้าคงคลังที่เหมาะสมและมี
ต้นทุนในการบริหารต่าที่สุด
ธีทัต ตรีศิริโชติ 58
วิธีปิดบัญชีตรวจนับ คือเลือกวันใดวันหนึ่งที่จะทาการปิดบัญชี
แล้วห้ามมิให้มีการเบิกจ่ายเพิ่มเติม หรือเคลื่อนย้ายสินค้าคงคลังทุก
รายการ โดยต้องหยุดการซื้อ-ขายตามปกติ แล้วตรวจนับของทั้งหมด วิธีนี้
จะแสดงมูลค่าของสินค้าคงคลัง ณ วันที่ตรวจนับได้อย่างเที่ยงตรง แต่ก็ทา
ให้เสียรายได้ในวันที่ตรวจนับของ
ธีทัต ตรีศิริโชติ 59
วิธีเวียนกันตรวจนับ (Cycle Counting) จะปิดการเคลื่อนย้าย
สินค้าคงคลังเป็นส่วนๆ เพื่อตรวจนับ เมื่อส่วนใดตรวจนับเสร็จก็เปิดขาย
หรือเบิกจ่ายได้ตามปกติ และปิดแผนกอื่นตรวจนับต่อไป จนครบทุก
แผนก วิธีนี้จะไม่เสียรายได้จากการขายแต่โอกาสที่จะคลาดเคลื่อนมีสูง
ธีทัต ตรีศิริโชติ 60
•นิยามคาว่าการผลิตแบบทันเวลาพอดี
•ความสูญเปล่าชนิดต่างๆ
•การผลิตที่ปรับเรียบ
• Takt Time
•ระบบคัมบัง
•การวางผังเครื่องจักร
•การเดินเครื่องหลายๆเครื่อง
•การควบคุมตัวเองโดยอัตโนมัติ
•การทาเป็นมาตรฐาน
•ระบบ 5 ส
•การจัดการด้วยสายตา
•Poka-Yoke
•การบารุงรักษาแบบทุกคนมีส่วนร่วม
“ทาการผลิตเฉพาะสินค้าหรือชิ้นส่วนที่ลูกค้าต้องการ ภายในเวลาและ
ปริมาณที่ลูกค้าต้องการ”
พัฒนาขึ้นครั้งแรกที่บริษัทโตโยต้ามอเตอร์ จากการประยุกต์แนวคิดของ
ระบบซุปเปอร์มาเก็ตหรือระบบดึง มาสร้างระบบการผลิตที่เรียกว่าระบบ
การผลิตแบบ Toyota (Toyota Production System : TPS)
ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (JIT)
สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายได้มากขึ้น ในขณะที่ต้นทุนต่า
คุณภาพสูง และมีเวลานา (Lead Time) ที่สั้นลง
ระบบการผลิตแบบเน้นปริมาณ (Mass Production)
“การผลิตแบบปริมาณมาก มีรุ่นการผลิตที่ใหญ่ เพื่อลดต้นทุนในการผลิตโดยเฉพาะใน
ส่วนของต้นทุนทางอ้อมต่อหน่วยให้ต่าลง”
ชิ้นส่วนและวัตถุดิบจะถูกผลิตขึ้นแล้วส่งต่อไปกระบวนการถัดไป โดยไม่ได้พิจารณาถึง
ความต้องการ
ความสูญเปล่าหลักๆ ทั้ง 8 ชนิด
 ข้อบกพร่อง (Defect)
 การผลิตมากเกินไป (Overproduction)
 กระบวนการผลิต (Processing)
 การขนส่ง (Transport)
 สินค้าคงคลัง (Inventory)
 การเคลื่อนไหว (Movement)
 การรอคอย (Waiting)
 ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงานที่
ไม่ได้ถูกนาไปใช้ (Unused Employee
Creativity)
 การผลิตมากเกินไป เกิดจากการผลิต
สินค้าที่ไม่มีการสั่งซื้อ ทาให้มีสินค้าคง
คลังที่มากเกินไป
 สินค้าคงคลัง ก็เป็นความสูญเปล่า ยิ่งมี
มากก็ทาให้เกิดความสูญเปล่าใน
กระบวนการผลิตมากขึ้นตามไปด้วย
 ปกปิดปัญหาที่เกิดขึ้นในสายการผลิต
 ทาให้เกิดต้นทุนจม
กระบวนการ (Process) คือ การไหลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งวัตถุจะถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์
สาเร็จรูป กระบวนการผลิตมีการดาเนินงานอยู่ 4 แบบ ได้แก่
 การแปรรูป (Transformation) : การเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือคุณภาพ
 การตรวจสอบ (Inspection) : การเปรียบเทียบกับมาตรฐาน
 การขนส่ง (Transport) : การเปลี่ยนสถานที่ เคลื่อนย้าย
 การจัดเก็บ (Storage) : ช่วงเวลาที่ไม่มีการทางาน การขนส่ง หรือการตรวจสอบเกิดขึ้น
การปฏิบัติการ (Operation) คือ การกระทาใดๆ ที่คนงานหรือเครื่องจักรปฏิบัติต่อวัตถุดิบหรือ
ชิ้นงาน
การปรับเรียบการผลิต
(Leveled Production)
คือ การจัดการลดความไม่สม่าเสมอในการผลิตทั้งในส่วนของปริมาณ
การผลิตและลาดับการผลิต ด้วยการเฉลี่ยจานวนชนิดและปริมาณการ
ผลิตสินค้าในแต่ละช่วงเวลาให้ใกล้เคียงกับความต้องการของลูกค้ามาก
ที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการผลิตสินค้าที่มากเกินไป และลดเวลานาใน
การผลิต เพื่อรองรับต่อความต้องการที่มีหลากหลายได้ยิ่งขึ้น
จะมีการจัดลาดับการผลิตให้ผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการมากและมีผลิตมากในต้นเดือนเป็นชุดใหญ่
แล้วตามด้วยผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการรองลงมาเป็นชุดๆ
ตัวอย่างแผนการผลิตประจาเดือน
-การสั่งซื้อของลูกค้าต่อเดือน =
35,000
-A 20,000 ชิ้น
-B 10,000 ชิ้น
-C 5,000 ชิ้น
Takt Time : อัตราความต้องการสินค้าของลูกค้า เป็นรอบเวลามาตรฐานในการทางาน เพื่อ
นาไปใช้สาหรับควบคุมการผลิต จัดสมดุล และปรับเรียบการผลิต
การจัดลาดับการผลิต
ระบบคัมบัง (Kanban)
: แผ่นป้ายที่ให้ข้อมูลข่าวสารในการสั่งงานแบบอัตโนมัติแก่พนักงานหรือ
ผู้เกี่ยวข้อง ว่าจะผลิตหรือเคลื่อนย้ายอะไร เมื่อไร เท่าไร ที่ไหน ด้วย
วิธีการอย่างไร เป็นต้น โดยคัมบังจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับชิ้นงาน
อาจจะใช้อุปกรณ์อื่นๆแทนแผ่นป้ายก็ได้เพื่อให้สามารถมองเห็นได้ด้วย
สายตา
ชนิดของคัมบัง : มี 3 ชนิด คือ
1. คัมบังสั่งเคลื่อนย้าย : สั่งให้กระบวนการรับชิ้นงานมาจากกระบวนการก่อน
หน้า
2. คัมบังการผลิต : สั่งให้กระบวนการก่อนหน้าผลิตชิ้นงานเพิ่ม
3. คัมบังผู้จัดส่งวัตถุดิบ : สั่งให้ผู้จัดส่งวัตถุดิบจากภายนอกจัดส่งชิ้นงานเพิ่ม
ตัวอย่างระบบคัมบัง
ระบบดึง (Pull Production System)
จะผลิตเมื่อมีความต้องการเท่านั้น ใช้คัมบังในระบบการผลิตแบบ
ดึง โดยจะมีการผลิตชิ้นงานก็ต่อเมื่อกระบวนการถัดไปเบิกชิ้นงาน
ออกไป ส่งผลให้เกิด “การดึง”
ระบบผลัก (Push Production System)
ใช ้ในการผลิตแบบชุดใหญ่ๆ (Large-lot Production) จะทาการ
ผลิตชิ้นงานตามแผนการผลิตที่กาหนดไว้ล่วงหน้าสาหรับแต่ละ
กระบวนการจะทาให้เกิด การผลัก ชิ้นงานไปข้างหน้าต่อๆไปตาม
แผนการผลิต แม้ลูกค้าไม่มีการสั่งซื้อก็ตาม ระบบนี้จึงทาให้เกิดสินค้า
คงคลังมากเกินไป ซึ่งถือเป็นความสูญเปล่า
ความสูญเปล่าที่เป็นผลมาจากการวางผังตามการปฏิบัติการ
1. การขนถ่าย (Conveyance)
2. พื้นที่ที่สูญเปล่า (Waste Space)
3. ความล่าช้าจากการผลิตเป็นชุด (Lot Delays)
 กาจัดความสูญเปล่าจากการขนถ่ายชิ้นงานระหว่างกระบวนการผลิต
ระยะทางไกลๆ
 วัสดุและชิ้นงานไหลผ่านกระบวนการผลิตทีละน้อยๆ
 ไม่มีชิ้นงาน WIP จานวนมาก
 ประหยัดพื้นที่
 ขจัดความล่าช้าจากการผลิตเป็นชุด ทาให้ชิ้นงานไหลผ่าน
กระบวนการผลิตได้เร็วขึ้น
การหลีกเลี่ยงความสูญเปล่าของการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่าง
คนและเครื่องจักรจากวางผังเครื่องจักรตามกระบวนการผลิต
- การอบรมข้ามสายงาน (Cross-training)
- การเคลื่อนไหวไปพร้อมกับงาน
“ขั้นตอนการผลิตขั้นสุดท้ายจะอยู่ใกล้กับขั้นตอนแรกมากๆ ดังนั้น
พนักงานจึงไม่ต้องเดินไกลเพื่อไปเริ่มต้นรอบการผลิตครั้งต่อไป”

- เพื่อดาเนินการผลิตชิ้นงานเพียงชิ้นหนึ่ง หรือ 2-3 ชิ้นในช่วงเวลาหนึ่งๆ แทน
การผลิตแบบชุดใหญ่
- ลดระยะทางในการเดินและจะไม่มีพื้นที่เหลือสาหรับชิ้นงาน WIP ที่เก็บสะสม
มากเกินไป
- ราคาถูกกว่าเครื่องจักรใหญ่และใช้งานและซ่อมบารุงได้ง่ายกว่า

- สามารถติดตั้งอย่างรวดเร็วได้โดยง่าย เพื่อให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ได้
หลากหลายชนิดมากยิ่งขึ้นในช่วงกะหนึ่งๆ
- สามารถเคลื่อนที่ได้ เพื่อย้ายพวกมันไปยังสถานที่อื่นๆได้ตามความจาเป็น
หรือเพื่อทาการทดลองการวางผังการผลิตใหม่
“ เมื่อพนักงานไม่ต้องคอยเฝ้าดูเครื่องจักรเพื่อตรวจจับปัญหาหรือเพื่อหยิบ
ชิ้นงานออก พวกเขาก็จะมีเวลาที่จะไปทางานที่เพิ่มมูลค่าต่อไปได้”
“เพื่อให้สามารถคาดการณ์รอบการผลิตของกระบวนการได้แต่ละกระบวนการ
จะต้องกาหนดงานที่เป็นมาตรฐานของตนเอง”
ส่วนประกอบของงานทั้ง 3 ของงานที่เป็นมาตรฐาน
1. ระบบ 5ส สาหรับการจัดระบบสถานที่ทางานและการทาให้เป็น
มาตรฐาน
“ การจัดเตรียมสถานที่ทางานเบื้องต้นที่ดีเป็นขั้นตอนแรกที่จาเป็น
สาหรับโปรแกรมการปรับปรุงสถานที่ปฏิบัติงานทุกๆโปรแกรม”
“เพื่อที่จะได้การผลิตเป็นชุดเล็กๆอย่างคุ้มค่า จะต้องเรียนรู้วิธีที่จะลดเวลาที่
ต้องการใช้ในการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรลง”
ขั้นตอนในการทา SMED
“กุญแจไปสู่การมีของเสียเป็นศูนย์คือ การที่ต้องตรวจเจอและป้องกันสภาวะที่
ผิดปกติก่อนที่พวกมันจะสามารถทาให้เกิดจุดบกพร่องขึ้นได้”
“ TPM ช่วยปรับปรุงประสิทธิผลของอุปกรณ์ด้วยวิธีการหลากหลายแบบซึ่งเกี่ยวข้อง
กับทุกคนในบริษัท โดยเฉพาะคนงานที่อยู่หน้างานจะมีบทบาทหลักในกิจกรรม TPM
ที่เรียกว่า การบารุงรักษาด้วยตนเอง”
“เพื่อสนับสนุนให้เกิดการผลิตแบบทันเวลาพอดี จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งที่จะต้องใช้
ตัววัดซึ่งจะเสริมแนวทางการดาเนินงานแบบใหม่ให้แข็งแกร่งขึ้น”
ตัวอย่างของการวัดสมรรถนะที่ใช้ในการผลิตแบบ JIT :
- อัตราส่วนการเพิ่มคุณค่า (Value-added Ratio)
- เวลานาในการผลิต (Production Lead Time)
- ระดับสินค้าคงคลัง (Inventory Level)
- เวลาที่ใช้ในการติดตั้งเครื่องจักร (Setup Time)
- ระยะเคลื่อนย้าย (Distance Moved)
- อัตราของเสีย (Defect Rate)
- ค่าประสิทธิผลของเครื่องจักรโดยรวม (Overall Equipment Effectiveness :
OEE)
ธีทัต ตรีศิริโชติ 92
ประวัติระบบการผลิตแบบลีน
คาว่า Lean เกิดขึ้นครั้ง
แรกเมื่อปี ค.ศ.1990 ซึ่งเกิดจาก
การศึกษา วิเคราะห์เปรียบเทียบ
โรงงานประกอบรถยนต์ของญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริกา และยุโรป ว่าทาไม
ญี่ปุ่นจึงประสบผลสาเร็จในการ
ดาเนินธุรกิจผลิตรถยนต์ มากกว่า
สหรัฐอเมริกา และยุโรป
ประวัติระบบการผลิตแบบลีน
ก่อนหน้านั้นในช่วงปี ค.ศ. 1945-1970 โทอิจิ
โอโนะ อดีตรองประธานบริษัท Toyota Motor
Corporation ได้คิดระบบการผลิตแบบโตโยต้า
(Toyota Production System) ขึ้นมา หรือที่เรียกกัน
ว่า TPS
ซึ่งก่อนหน้าที่จะมาเป็น TPS โอโนะได้ไปดูงาน
ที่บริษัทผลิตรถยนต์ฟอร์ดที่สหรัฐอเมริกา เห็นว่าที่ฟอร์ด
ได้ใช้สายการผลิตแบบต่อเนื่อง และนั้นคือจุดกาเนิด
ความคิดเรื่อง ระบบการผลิตแบบโตโยต้า โดยมุ่งเน้นการ
ไหลของงานอย่างต่อเนื่อง
แนวคิด-ทฤษฎี Lean Manufacturing
ระบบการผลิตแบบลีน คืออะไร ???
ระบบการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing
System) คือ ระบบการผลิตที่มุ่งเน้นในเรื่องการไหล
(Flow) ของงานเป็นหลัก โดยการกาจัดความสูญเปล่า
(Waste) ต่างๆของงาน และเพิ่มคุณค่า (Value) ให้กับตัว
สินค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด
แนวคิด-ทฤษฎี Lean Manufacturing
ประเภทของความสูญเปล่า
1. ของเสีย (Defect)
2. ผลิตเกินต้องการ (Over Production)
3. สินค้าคงคลังเกินความจาเป็น (Unnecessary Inventory)
4. กระบวนการที่ไม่จาเป็น (Unnecessary Process)
5. การเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น (Unnecessary Motion)
6. การขนส่งที่ไม่จาเป็น (Unnecessary Transportation)
7. การรอคอย (Waiting)
แนวคิด-ทฤษฎี Lean Manufacturing
5 ขั้นตอนหลักในการดาเนินกิจกรรม การผลิตแบบลีน
Step1 : Value คือ การกาหนดคุณค่าของสินค้า จากมุมมองของลูกค้า ทั้ง
ภายในและภายนอก
Step2 : Value Stream คือ การสร้างแผนผังสายธารคุณค่าในปัจจุบัน และ
อนาคต ในสิ่งที่อยากเห็น หาทางขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
Step3 : Flow คือ งานไหลอย่างต่อเนื่อง ขจัดอุปสรรคต่างๆ ที่ขัดขวางการ
ไหลของงานในสายการผลิต
Step4 : Pull คือ การสร้างระบบการผลิตแบบดึง
Step5 : Perfection คือ การกาจัดความสูญเปล่า และเพิ่มคุณค่าอย่าง
ต่อเนื่อง
• Lean คือระบบของกระบวนการผลิตที่เน้นการกาจัดความสิ้นเปลืองในการผลิต
• การใช้ทรัพยากรเพื่อประโยชน์อื่นนอกเหนือจากการสร้างสิ่งที่มีมูลค่า ถือว่าเป็นความ
สิ้นเปลือง
• Toyota เป็นผู้ที่พัฒนาแนวคิด lean อย่างจริงจัง ในทศวรรศ 1980
• อะไรคือความสิ้นเปลือง
• สิ่งที่ไม่เพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
• ฟังก์ชันที่ไม่จาเป็น
• requirement ที่ไม่ชัดเจน
• การสื่อสารและกระบวนการทางานภายในองค์กรที่ช้า
• ระบบบริหารที่พิธีรีตองมากเกินกว่า
 Wastes of Software Development
• งานเอกสาร
• ฟีเจอร์อื่นๆเพิ่มเติม (ที่ไม่จาเป็น)
• การสร้างสิ่งที่ผิดจากความต้องการ
• การรอข้อมูลที่จะนามาใช้ทางาน
• การสับเปลี่ยนงานที่ทาอยู่
• ข้อบกพร่องในซอฟต์แวร์
 สร้าง value stream mapping เพื่อหาสิ่งที่ลดประสิทธิภาพของการผลิต
 หลักการเบื่องต้นที่นาพาสู่การ เรียนรู้ความต้องการลูกค้า
 พยายามมุ่งเน้นไปที่จุดประสงค์ของการใช้งานที่แท้จริง มากกว่ายึดตาม
requirement
 ทดลองทา ทดลองใช้งาน วิเคราะห์ผลลัพธ์ หากมีปัญหาก็แก้ไขทันที
 การตอบรับจากลูกค้าในแต่ละรอบ เป็นสิ่งสาคัญ
 สร้าง และ เพิ่มผลตอบรับจากลูกค้า ระหว่างการพัฒนาให้มากที่สุด
 ทดสอบระบบให้บ่อยที่สุด อย่าทาให้ปัญหามันสะสม
 พยายามทางานจริงให้เกิดขึ้นเร็วที่สุด รับฟังผลตอบรับ
 อย่าพยายามเสียเวลาหา tools ที่ดีที่สุด top 3 ของ tools นั้นแล้วลองใช้ทุก
อัน
 ยอมรับความคิดเห็นจากลูกค้า นามาวิเคาระห์ แล้วกลับไปแก้งานให้เร็วที่สุด
 Iteration คือ วงจรของการพัฒนาซอฟแวร์ ซึ่งประกอบไปด้วย
 Design Programmed Tested Integrated Delivered
 ได้รับผลตอบรับจากลูกค้ามากขึ้น สามารถจัดการงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
 ทาให้ทีมจัดการงานได้อย่างยืดหยุ่น พอใจทุกฝ่ายมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ และยึดหลัก
ทาสิ่งที่สาคัญที่สุดก่อนเป็นสาคัญ
 วนรอบ iteration ถี่ ได้รับผลตอบรับจากลูกค้าเยอะ งานตรงใจลูกค้า
 ทาให้มีความเข้าใจตรงกัน แก้ปัญหาความเข้าใจคลาดเคลื่อน
 ควรทา automated test แก้ปัญหาตั้งแต่ต้นก่อนจะกลายเป็นปัญหาใหญ่ 
เป็นการเช็คความเข้ากันของงานของแต่ละคน
 รวมงานของคนทั้งทีม ควรจะทุกวัน
 ร่วมงานข้ามทีม สัปดาห์ละครั้ง
•คือการนาปัญหามาวิเคราะห์ แล้วพยายามคิดการแก้ปัญหาในหลายๆทาง แล้วอภิปรายถึง
ผลดีผลเสีย หลังจากนั้นทาการคานึงถึงข้อจากัดต่างๆในการพัฒนา แล้วเลือกวิธีการ
แก้ปัญหาที่ดีที่สุด
 ไม่ใช่การผัดวันประกันพรุ่ง แต่เป็นการคงการตัดสินใจที่เด็ดขาดไว้เท่าที่จะทาได้ แต่
อย่าปล่อยให้อะไรไม่ชัดเจนนานเกินไป
 ปัญหาทั่วไป ลงรายละเอียดเร็วเกินไป (depth-first )
 ควรแก้ไขโดย พยายามมองเป็น ภาพรวมก่อนที่จะจะลงรายละเอียดลึกๆ
(breadth - first )
 มองภาพรวมก่อนเพราะ
 ความต้องการลูกค้าไม่คงที่
 ลูกค้าไม่รู้ว่าต้องการอะไร จนกว่าเราจะเสนอทางเลือก
 เสนอตัวเลือกที่หลากหลาย ให้ลูกค้านาไปตัดสินใจ
 ความต้องการของลูกค้ามักไม่แน่ชัด
 ลูกค้ามักไม่รู้ว่าตัวเองต้องการอะไรจนกว่าจะเห็นตัวเลือกจากนักพัฒนา
 ควรสร้างแผนที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อยู่เสมอ เราไม่สามารถทานายอนาคต
การตัดสินใจ
(Disition Making)
วิธีการนี้ไม่ใช่การผัดวันประกันพรุ่ง
(isn't a Procastination)
 ส่วนใหญ่การตัดสินใจโดยสังหรณ์ใจสาคัญกว่าการตัดสินใจแบบสมเหตุสมผล
Depth First Breath First
สร้างข้อตกลงร่วมกันตั้งแต่แรกๆ ทาให้ข้อตกลงร่วมกันล้าช้า
ตัดสินใจด้วยเหตุผล ตัดสินใจด้วยสัญชาตญาณ
ใช้การทานายและสมมติฐานเป็น
หลักในการตัดสินใจ
ใช้ข้อมูลทันสมัยและกระแสตอบรับ
ในการตัดสินใจ
 ทาไมต้องส่งมอบให้เร็ว ?
 ลูกค้าชอบงานที่ส่งมอบอย่างรวดเร็ว
 การส่งมอบที่รวดเร็วหมายถึงเวลาที่น้อยลงในการเปลี่ยนใจของลูกค้า
 เผยให้เห็นข้อบกพร่องของงานที่เสร็จเพียงบางส่วน หรืองานที่กาลังทาอยู่ได้
 ทาให้ผู้คนสามารถคิดออกได้ว่าอะไรที่ต้องทาให้เสร็จ งานจะกาหนดทิศทางด้วยตัวของ
มันเอง
 งานที่มีความซับซ้อนสูงสามารถตกลงให้เหลือเพียงเส้นตรงได้เมื่อมีการยกตัวอย่างถึง
รูปแบบงานที่ทาให้เกิดปัญหาขึ้นได้
 ทาการตัดสินใจในปัจจุบัน ไม่ใช่การตัดสินใจล่วงหน้า
• หัวใจหลักก็คือ การลดเวลาของแต่ละ Iteration ในการทางาน
• การรับงานเข้ามาอย่างคงที่(Steady rate of arrival)
• ควบคุมว่าอะไรที่จะเข้ามาในคิวงานของตนเอง
• ดาเนินงานให้เสร็จเป็นส่วนเล็ก ๆ กระจายงานไปสู่สมาชิกในทีมอย่างทั่วถึง
• การจัดลาดับความสาคัญและการเลือกงานที่จะทาเป็นหัวใจหลักสาคัญ
• การทางานให้เสร็จบ่อย ๆ เป็นหัวใจหลักสาคัญยิ่งกว่า
 การบริการอย่างคงที่(Steady rate of service)
 กาจัดความไม่แน่นอนในการดาเนินการออก
 การทางานชิ้นเล็ก ๆ นั้นเกิดความผิดพลาดขึ้นได้น้อยกว่า
 ทางานแบบขนานเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาคอขวด
 ส่งมอบงานอย่างสม่าเสมอ
•การทางานอย่างเต็มเวลา 100% ไม่ใช่เรื่องที่ดี เราต้องเว้นที่ว่างไว้เพื่อรองรับการ
เปลี่ยนแปลง
•ปฏิบัติตามกฎ 80/20 สาหรับเวลาในการทางาน
•งานชิ้นใหญ่นั้นต้องใช้เวลามากกว่าใน “คิว” และต้องการจานวนคนมากกว่าในการทางาน
ให้สาเร็จ
 การทางานแบบ Rapid development ช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย แต่ฝ่าย
บริหารอาจะไม่คิดเช่นนั้น
 ตัดสินใจว่าอะไรที่ส่งมอบช้าแล้วจะทาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยใช้บัญชีรายรับ
รายจ่าย
 สร้างโมเดลทางด้านเศาษฐกิจของ
◦เพิ่มขีดความสามารถของคนในทีม เพื่อให้ใช้
ความสามารถของตัวเองอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
 ไม่ควรนาวิธีการปฏิบัติของที่ๆหนึ่งไปใช้กับอีกที่ๆหนึ่ง
 ให้คนในกลุ่มทุกคนช่วยกันออกแบบขั้นตอนการทางานของกลุ่ม
 สนใจวัตถุประสงค์ของงานมากกว่าสนใจตัวเอง
 จุดประสงค์จะต้องชัดเจน
 จุดประสงค์จะต้องประสบความสาเร็จได้
 ทีมจะต้องมีการติดต่อกับลูกค้าเป็นประจา
 มีข้อตกลงร่วมกันระหว่างคนในทีม
 เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
 เครื่องป้องกัน (safety)
 มีประสิทธิภาพ และความมีวินัย
Managers Leaders
จัดการกับความซับซ้อน
- วางแผนและดูแลเรื่องงบประมาณ -
จัดระเบียบการทางานและบุคลากร
- ติดตามและควบคุมการทางาน
จัดการกับการเปลี่ยนแปลง
- กาหนดทิศทางของงาน
- จัดคน
- ช่วยให้เกิดแรงจูงใจ
ในทีมที่ดีนั้นจะต้องมี Master developers และ Respected Leaders
 ให้ทีมได้มีโอกาสมีส่วนร่วมกับกลุ่มคนที่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ เช่น เข้าร่วมการ
สัมนา อบรมต่างๆ
 ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตัวเองของคนในทีม
 Tool 17 Perceived Integrity - ความสมบูรณ์ที่ลูกค้ารับรู้ได้
 Tool 18 Conceptual Integrity - ความสมบูรณ์ของระบบภายใน
 Tool 19 Refactoring - บางครั้งระบบที่มีความซับซ้อน และเราพบวิธีแก้ปัญหาที่ดีกว่า
จึงต้องมีการแก้ไขโครงสร้างระบบ เพื่อให้มี Conceptual Integrity
 tool 20 Testing ต้องมีการทดสอบระบบเพื่อให้แน่ใจว่า ระบบมีการทางาน ตามที่เรา
ต้องการจริงๆ
 Sub-optimization
 1. ถ้าเป็นระบบที่ซับซ้อนให้เริ่มจากการแบ่งส่วนของระบบให้เป็นระบบย่อยๆแล้ว
จัดการทีละส่วนก่อน
 2. วัดความสามารถแต่ละส่วนทาให้ลดประสิทธิภาพทั้งระบบ (ต้องวัดความสามารถ
ทั้งระบบ)
 การที่เรา optimize ทุกๆ ส่วนเป็นวิธีที่ไม่สมควร
 เราควร optimize ส่วนที่สาคัญมากๆ ซึ่งเราควรจะแยกแยะออกให้ได้ว่าส่วนไหนเป็น
ส่วนสาคัญที่เราจะ optimize ส่วนที่สาคัญส่วนใหญ่จะเป็นส่วนของ business logic
 จะวัดส่วนที่สาคัญได้จาก argregation ซึ่งการวัดจาก aggregation จะวัดจาก
ความสัมพันธ์ที่ปกปิด individual performance เรียกว่า information
measurement
 Priority -> Business Value
 ประมาณ 45% ของ Feature ที่ทาไม่ค่อยได้ใช้ (ref:according to a study of the Standish
Group).
 การเขียน code น้อยๆ จะได้ low-cost , high quality (ref : Barry Boehm and Philip
Papaccio)
Time Cost Quality Scope
“สิ่งไหนที่ไม่ได้ทาให้เกิดมูลค่า ( Value ) นั้นคือความสูญเสีย”
แนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์
แนวคิดทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
การเพิ่มผลผลิต คือ: การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้คุ้มค่า
แนวคิดทางด้านวิทยาศาสตร์
Output
Input
การเพิ่มผลผลิต
คือ: ทัศนคติของจิตใจที่แสวงหาทางปรับปรุง
แนวคิดทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
การขึ้นราคาขาย การลดต้นทุน
Cost-based price Market-based price
กาไร
กาไร
กาไร
กาไร
ต้นทุน
ราคาขาย
ต้นทุน !!
ลด
ราคาขาย = ต้นทุน + กาไร กาไร = ราคาขาย - ต้นทุน
วิธีการเพิ่มกาไร
ต้นทุนการผลิต
วัตถุดิบ
( ทางตรงและทางอ้อม)
เครื่องจักร
ค่าแรง
โสหุ้ยการผลิต
( น้า , ไฟฟ้า , เชื้อเพลิง , ขนส่ง .....)
ความพยายามในการลดต้นทุนที่ไม่ถูกต้อง
ต้นทุนวัตถุดิบ
จัดซื้อวัตถุดิบราคาต่า
คุณภาพต่า การส่งมอบมีปัญหา
ต้นทุนเครื่องจักร
เพิ่มความเร็วของเครื่องจักรอย่างไม่ถูกต้อง
อายุเครื่องจักรสั้น อุบัติเหตุ ของเสีย ต้นทุนสูง
ต้นทุนแรงงาน
ใช้ระบบค่าแรงจูงใจไม่ถูกต้อง
ขวัญกาลังใจพนักงานต่า ของเสีย
ความสูญเสีย 7 ประการ
1.ความสูญเสียจากผลิตมากเกินไป
2.ความสูญเสียจากการเก็บวัสดุคงคลังที่ไม่จาเป็น
3.ความสูญเสียจากการขนส่ง / ขนย้าย
4.ความสูญเสียกระบวนการที่ขาดประสิทธิผล
5.ความสูญเสียจากการเคลื่อนไหว
6.ความสูญเสียจากการรอคอย / การว่างงาน
7.ความสูญเสียจากการผลิตของเสียหรือแก้ไขงานเสีย
(Muda ความสูญเสีย , Mura ความไม่สม่าเสมอ ,
Muri การทางานเกินความสามารถ )
1.ความสูญเสียจากผลิตมากเกินไป(Overproduction)
แนวคิดเดิม : - ผลิตมากที่สุด โดยไม่คานึงถึงหน่วยงานถัดไป
( รายการที่ไม่ต้องการ , จานวนมากกว่า & อัตราเร็วกว่า)
- เผื่อว่ามีปัญหา จะได้งานป้อนหน่วยงานถัดไป
ปัญหา : ต้นทุนจม (สินค้าและภาชนะบรรจุ)
เกิดการขนย้ายซ้าซ้อน
ของเสียไม่ได้รับการแก้ไขทันที
ปิดบังปัญหาการผลิต เช่น เวลาตั้งเครื่อง เครื่องจักรเสีย
ทาให้ใช้เวลาในการผลิต (Production Lead Time )นาน
เพิ่มงานด้านการควบคุมและดูแลรักษา (เช่นงานเอกสาร)
การปรับปรุง
ผลิตเฉพาะสิ่งที่ต้องการในปริมาณและเวลาที่ต้องการ
เท่านั้น
กาจัดจุดคอขวดของสายการผลิต
บารุงรักษาเครื่องจักรให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
ลดเวลาการตั้งเครื่องจักร (Set up Time )
พร้อมกับ กาหนดปริมาณการผลิตแต่ละล็อตให้เล็กลง
ฝึกให้พนักงานมีทักษะหลายอย่าง
( Multi skilled Workers )
2. ความสูญเสียจากการเก็บวัสดุคงคลังที่ไม่จาเป็ น
( Unnecessary Stock )
แนวคิดเดิม : - ประกันว่ามีวัสดุสาหรับผลิตตลอดเวลา
- ซื้อมากได้ส่วนลดมาก ทาให้ต้นทุนต่า
ปัญหา : - ใช้พื้นที่จัดเก็บมาก
- ต้นทุนจม : วัตถุดิบ แรงงาน โสหุ้ยการผลิต
- วัสดุเสื่อมคุณภาพ
- ปรับการผลิตตามตลาดที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก
- ต้องเพิ่มทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อการจัดการ :
( อุปกรณ์ขนถ่าย,พนักงาน,คอมพิวเตอร์ควบคุม และอื่นๆ )
- อุบัติเหตุจากความไม่เป็นระเบียบ
การปรับปรุง
กาหนดปริมาณมาตรฐานในการจัดเก็บ (สูงสุด–ต่ำสุด,จุดสั่งซื้อ)
ชี้บ่งการควบคุมด้วยแนวคิด
การควบคุมด้วยการมองเห็น (Visual Control )
ใช้ระบบ “เข้าก่อน – ออกก่อน” (First in First out : FIFO)
ปรับปรุงเพื่อลดความไม่แน่นอน ในการจัดส่งจากผู้ส่งมอบ
ปรับปรุง กระบวนการผลิต และ การวางแผนการผลิต
เพื่อลดความไม่แน่นอนของการผลิต
3.ความสูญเสียจากการขนส่ง / ขนย้าย
(Transportation / Conveyance)
แนวคิดเดิม :
“ การขนส่ง เป็นกระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ”
ปัญหา : ต้นทุนสูญเปล่า ( คน / พลังงาน / อุปกรณ์ / เวลา )
วัสดุเสียหาย / สูญหาย
อุบัติเหตุจากการขนส่ง
เสียโอกาสในการผลิตสินค้า
ถ้าวางแผนการขนส่งไม่ดี ไม่ทันต่อการผลิต
การปรับปรุง
ปรับปรุงผัง (Layout) เครื่องจักร วัตถุดิบ งานระหว่างผลิต
สินค้าสาเร็จรูป และของเสีย เพื่อลดระยะทางขนส่ง
ลดการขนส่งซ้าซ้อน
ศึกษาและวางมาตรฐานเส้นทางการขนส่ง
ใช้อุปกรณ์ขนถ่าย และการดูแลรักษาที่เหมาะสม
(คน , รถลาก , Pallet , สายลาเลียง , รถยก , ลิฟท์ ,
รอกชัก , Crane เป็นต้น )
4. ความสูญเสียจากกระบวนการที่ขาดประสิทธิภาพ
( Non – effective Process )
แนวคิดเดิม :
“ การทางานโดยไม่จาเป็น วิธีการหรือการลาดับงาน
ไม่เหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มกับผลิตภัณฑ์ ”
ปัญหา : เกิดต้นทุนที่ไม่จาเป็นในการทางาน
เสียเวลาในการเตรียม และการผลิตที่ไม่จาเป็น
ใช้เครื่องจักรโดยไม่เกิดประโยชน์
การปรับปรุง
ศึกษาลาดับขั้นตอนการทางาน
วิเคราะห์ความจาเป็นของแต่ละกระบวนการ
โดยใช้หลักการ 5W 1Hในการตั้งคาถาม
ปรับปรุงโดยใช้หลักการ ECSR
( Eliminate – Combine – Rearrange – Simplify )
หากระบวนการทดแทน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์งาน
อย่างเดียวกันหรือดีกว่า
ปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ์ และเลือกใช้วัสดุ
What = อะไร
Who = ใคร
Where = ที่ไหน
When = เมื่อไร
Why = ทำไม
How = อย่ำงไร
5. ความสูญเสียจากการเคลื่อนไหว( Motion )
แนวคิดเดิม :
“ ทางานในตาแหน่ง / ท่าทาง /อุปกรณ์เครื่องมือที่
ไม่เหมาะสม ทางานล่าช้า และเกิดความล้าโดยไม่จาเป็น ”
ปัญหา : ความเหนื่อยล้าและเครียด ส่งผลต่อคุณภาพของงาน
อาจเกิดอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยหรือสุขภาพพนักงาน
ในระยะยาว
เกิดระยะทางในการเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น
ทาให้กระทบเวลา และประสิทธืภาพการทางาน
ต้นทุนแรงงาน เพิ่มสูงขึ้น
การปรับปรุง
ศึกษาการเคลื่อนไหว (Motion Study) เพื่อปรับปรุงท่าทาง
การทางานให้เหมาะสมตามหลักการยศาสตร์(Ergonomics)
ลดระยะการเดินของพนักงาน
จัดสภาพแวดล้อม ให้เหมาะสมกับการทางาน
( แสงสว่าง , อุณหภูมิ , เสียง )
ปรับปรุงอุปกรณ์เครื่องมือ ให้เหมาะสมกับร่างกาย
ผู้ปฏิบัติงาน
ให้พนักงานได้ออกกาลังกาย เพื่อให้แข็งแรงอยู่เสมอ
6. ความสูญเสียจากการรอคอย / การว่างงาน
( Waiting / Idle / Delay )
แนวคิดเดิม :
“ เครื่องจักรรอวัสดุ รอซ่อม รอพนักงาน หรือ
พนักงานรอวัตถุดิบ อุปกรณ์ คาสั่งผลิต ”
ปัญหา :
เสียเวลาการผลิต การส่งมอบล่าช้า
เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost )
เกิดปัญหาเรื่องขวัญกาลังใจระหว่างพนักงาน
การปรับปรุง
จัดแผนการผลิต จัดหาวัสดุ และ ลาดับงานให้ดี
บารุงรักษาเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
( กิจกรรม TPM )
จัดสมดุลการผลิต ( Line Balancing )
ลดเวลาปรับเครื่องจักร ( Set up Time )
ฝึกให้พนักงานมีทักษะหลากหลาย
เพื่อโยกย้ายงานกรณีมีปัญหาการผลิต
ใช้ประโยชน์จากเวลาว่าง เช่น 5ส , ฝึกอบรม ,
ช่วยเหลือแผนกอื่นๆ
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement

More Related Content

What's hot

บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบViam Manufacturing
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็วบทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็วTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 

What's hot (20)

บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิตแนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
แนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิต
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็วบทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 

Similar to Waste reduction and productivity improvement

Innovation or die in sport industry.
Innovation or die in sport industry.Innovation or die in sport industry.
Innovation or die in sport industry.KASETSART UNIVERSITY
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5praphol
 
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxบทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentlwiwattho
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงินsiriwaan seudee
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itatiwaporn
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itatiwaporn
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfsurakitsiin
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullthanapat yeekhaday
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital TransformationIMC Institute
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationPunyapon Tepprasit
 

Similar to Waste reduction and productivity improvement (20)

Innovation or die in sport industry.
Innovation or die in sport industry.Innovation or die in sport industry.
Innovation or die in sport industry.
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxบทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentl
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Ita
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Ita
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-full
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and Transportation
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

Waste reduction and productivity improvement