SlideShare a Scribd company logo
1 of 130
Download to read offline
การจัดการเชิงกระบวนการ
(Process management)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 "ระบบ" กับ "กระบวนการ" ต่างกันอย่างไร?
 คุณลักษณะทั่วไปของกระบวนการ
 Types of organizational structure
 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พศ. 2558,2562
 หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
 ระบบงาน (system) หมายถึง วิธีการที่องค์กรใช้ในการทางานให้สาเร็จ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
บุคลากรขององค์กร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม รวมไปถึงกระบวนการสนับสนุน
ระบบงานจะประสานกระบวนการทางานภายในกับแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ จาก
ภายนอกที่จาเป็นต่อการพัฒนา ผลิต และส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้า และทาให้
องค์กรได้รับความสาเร็จในอนาคต
 กระบวนการ(process) หมายถึง กิจกรรมที่เชื่อมโยงกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเกี่ยวข้องกับ
การผลิต(หรือบริการ)ให้แก่ลูกค้า(ผู้รับบริการ) ทั้งภายในและภายนอกองค์กร
กระบวนการเป็นขั้นตอนหรือกิจกรรมที่มีลาดับขั้นตอนชัดเจน เกิดจากการผสมผสาน
ระหว่าง คน เครื่องจักร เครื่องมือ เทคนิค วัสดุ และการปรับปรุง มาทางานร่วมกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
1. Definability : สามารถระบุขอบข่ายได้ มีความชัดเจน ทั้งขั้นตอนการดาเนินงาน ปัจจัย
นาเข้า และผลผลิตที่ต้องการ
2. Order : มีระบบระเบียบ ประกอบด้วยกิจกรรมและขั้นตอนที่ทาซ้าได้ มีผู้รับผิดชอบ
หรือกรอบเวลา สถานที่ ในการปฏิบัติ
3. Customer : มีผู้รับผลผลิตหรือผลลัพท์ของกระบวนการ ซึ่งก็คือลูกค้าหรือผู้รับบริการ
นั่นเอง
4. Value-adding : เป็นการสร้างคุณค่าให้กับผู้รับทั้งต้นน้า และปลายน้า
5. Embeddedness : เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างองค์กร กระบวนการไม่สามารถเกิดขึ้น
เองได้ โดยปราศจากโครงสร้างองค์กรรองรับ
6. Cross-functionality : กระบวนการมักมีลักษณะข้ามหน่วยงานจึงต้องอาศัยการสื่อสาร
และการประสานงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
การจัดการระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับกระบวนการทั้งหลายในองค์การ
เพื่อให้ได้รับผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ กิจกรรมหลัก ๆ เริ่มตั้งแต่ การ
ออกแบบ การพัฒนา การจัดซื้อ การผลิต และการส่งมอบไปถึงผู้รับบริการ โดย
มุ่งเน้นให้กระบวนการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น การจัดการ
ระบบปฏิบัติการจึงมักเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์กระบวนการภายในองค์กร
ระบบปฏิบัติการอาจแตกต่างกันตามธรรมชาติของผลิตภัณฑ์หรือบริการ รูปแบบ
การทางาน และข้อจากัดต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน รวมทั้งระดับพัฒนาการของ
องค์การ
สรุป การจัดการระบบปฏิบัติการ
ออกแบบ ดาเนินการ จัดการ ติดตาม ควบคุม ประเมินผล ปรับปรุง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
โครงสร้างองค์การตามหน้าที่
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
 นักศึกษารู้โครงสร้างองค์กรไปทาไม? ไปเชื่อมโยงกับกระบวนการอย่างไร?
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
 ให้นักศึกษานาเสนอโครงสร้างองค์กรในที่ทางานและ
อธิบาย ข้อดี ข้อเสีย ของโครงสร้างองค์กรดังกล่าว
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
http://office.dpt.go.th/asdg/images/PD
F/PMQA/regulation/Rule_PMQA-58.pdf
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
http://office.dpt.go.th/asdg/images/PD
F/PMQA/regulation/Rule_PMQA-62.pdf
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
ตัวชี้วัดตาม (Lag Indicator) หมายถึง ตัวชี้วัดผลงานที่เป็นตัวแสดงให้เห็นถึง
ผลลัพธ์สุดท้ายของกระบวนการนั้น ๆ ว่าเป็นอย่างไร เช่น ยอดขาย ส่วนแบ่งการตลาด
อัตราการเกิดอุบัติเหตุ ฯลฯ
ตัวชี้วัดนา (Lead Indicator) หมายถึง ตัวชี้วัดผลงานนาที่เป็นตัวแสดงให้เห็น
ถึงผลระหว่างกระบวนการ สามารถนาไปใช้พยากรณ์แนวโน้มของตัวชี้วัดตามได้ เช่น
จานวนครั้งที่มีโปรโมชั่นลดแลกแจกแถม เปอร์เซ็นต์การปิดการขาย จานวนครั้งที่มีการ
ตรวจสอบความปลอดภัยฯลฯ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 43
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 44
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 45
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 46
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 47
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 48
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 49
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 50
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 51
 เป้าหมายของกระบวนการทางาน
เนื่องจากเป้าหมายสูงสุดของการให้บริการ คือ ผู้รับบริการ
ได้รับผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ดังนั้นผู้ให้บริการจึงจาเป็นต้องทราบถึง
ความต้องการของผู้รับบริการ และ รับฟังความคิดเห็นของ
ผู้รับบริการ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 52
SIPOC คือ ภาพรวมของกระบวนการทางาน ที่ทาให้คนทางานเข้าใจวัตถุประสงค์
และขอบเขตของงานมากขึ้น
S – Supplier บุคคล/ส่วนงานที่ให้ปัจจัยนาเข้า
I – Input ปัจจัยนาเข้า
P – Process กระบวนการทางาน
O – Output ผลลัพธ์
C – Customer ผู้รับบริการ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 53
 5 นาทีกับเครื่องมือ Lean | ตอนที่ 2 : SIPOC
https://www.youtube.com/watch?v=_04mDTtxa2c
 SIPOC Diagram explained (with example)
https://www.youtube.com/watch?v=j9oWnnbtkOo
 5 นาทีกับเครื่องมือ Lean | ตอนที่ 3 : VSM
https://www.youtube.com/watch?v=gZUFv_u9ZXk
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 54
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 55
Suppliers
Inputs
Process
Customers
Outputs
Outcome
3
1
2
สินค้าหรือบริการคืออะไร
ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร
ความต้องการคืออะไร
4
5
6
กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร
ปัจจัยนาเข้าของ
กระบวนการคืออะไร
ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร
องค์กร
ของเรา
Value Chain : SIPOC Model
Supplier Customer
Output
Process
Input
Partners
7
คู่ความร่วมมือคือใคร
Customer of
Customer
8
หน่วยงาน
กรม
หน่วยงาน
กระทรวง
อื่นหรือ
เอกชน
หน่วยงาน
ท ้องถิ่น
หน่วยงาน
จังหวัด
ผู้รับ
บริการ
Input Process Output
หน่วยงาน
อื่น
พันธมิตร
คู่ความร่วมมือ
ผู้รับบริการ
หรือลูกค ้า
ลูกค้าของ
ลูกค้า
ผู้ส่งมอบ
ผู้เกี่ยวข้อง
ผู้ส่งมอบ
ของ
ผู้ส่งมอบ
ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย
Value Chain / Supply Chain
Output
Process
Input
Output
Process
Input Output
Process
Input
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 58
• เมื่อต้องการกาหนดขอบเขตงานที่ชัดเจนในการปรับปรุงกระบวนการทางาน
• เมื่อต้องการประเมินกระบวนการทางาน ก่อนการปรับปรุงกระบวนการทางาน
• เมื่อมีความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับ
• ใครเป็นผู้ให้ปัจจัยนาเข้าในกระบวนการทางาน
• ปัจจัยนาเข้ามีข้อกาหนดหรือเงื่อนไขอะไรบ้าง
• ผู้รับบริการคือใคร
• ผู้รับบริการมีเงื่อนไขอะไรบ้าง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 59
1. กาหนดชื่อกระบวนการทางาน เช่น การเบิกจ่ายค่าตอบแทน การจัดการเรียนการสอน การขอ
ใช้ยานพาหนะ การสารวจความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
2. กาหนดขอบเขตกระบวนการทางาน โดยกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของกระบวนการ
ทางาน
3. กาหนดเป้าประสงค์ของกระบวนการทางาน และ กาหนดผู้รับผิดชอบกระบวนการทางาน
4. แสดงผลลัพธ์ของกระบวนการทางาน
5. กาหนดผู้รับบริการ
6. แสดงปัจจัยนาเข้า
7. กาหนดบุคคล/ส่วนงานที่ให้ปัจจัยนาเข้า
8. แสดงกระบวนการทางาน ซึ่งอาจประกอบด้วย 5 – 7 ขั้นตอน ในรูปแบบแผนภาพผังการ
ทางาน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 60
• SIPOC ทาให้ผู้ให้บริการเข้าใจกระบวนการทางานในทิศทางเดียวกัน
• SIPOC แสดงกระบวนการทางาน และ ขอบเขตงานหรือการปรับปรุงงานได้อย่างชัดเจน
• SIPOC เป็นเครื่องมือที่จะนาไปสู่การวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้น
ในกระบวนการทางาน
• SIPOC ทาให้เข้าใจความต้องการของผู้รับบริการ
• SIPOC ทาให้เห็นถึงข้อบกพร่องบางอย่าง
• การได้รับปัจจัยนาเข้าที่ไม่ต้องการ
• ผลลัพธ์ที่ผู้รับบริการไม่ต้องการ แต่ได้รับ
• ขั้นตอนในกระบวนการทางานครบถ้วน แต่ไม่ใช้ขั้นตอนที่จาเป็น
• SIPOC เป็นการทบทวนกระบวนการทางาน จนทาให้ทราบจุดแข็งและโอกาสพัฒนา
• SIPOC ทาให้เข้าใจความซับซ้อนของกระบวนการทางาน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 61
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 62
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 63
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 64
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 65
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 66
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 67
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 68
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 69
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 70
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 71
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 72
7 QC Tools
1. Pareto Diagram
2. Cause & Effect Diagram
3. Graph
4. Check Sheet
5. Scatter Diagram
6. Histogram
7. Control Chart
7 Tools
ผังพาเรโต (Pareto Diagram)
❑ Pareto ชื่อแผนภูมินี้มีที่มาจากชื่อของผู้
คิดค้นซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตา
เลียนชื่อ Vilfredo Federico Damaso
Pareto
❑ แผนภูมิชนิดนี้มักถูกนามาใช้ในการแสดงให้เห็นขนาดของปัญหาและเพื่อจัดลาดับ
ความสาคัญของปัญหา
หลักการของผังพาเรโต
❑ หลักการของพาเรโตนั้นใช้หลัก 20/80 – คือเน้นในแง่ความสาคัญและ
ผลกระทบของปัญหา
❑ ส่วนน้อย 20 % จะเป็นส่วนสาคัญ อีก 80 % จะเป็นส่วนไม่ค่อยสาคัญ เช่นมี
ปัญหาอยู่ 20 % เท่านั้นที่สร้างความเสียหายส่วนใหญ่ให้กับกิจการ จึงต้องแก้
ตรงนั้นก่อน
ลักษณะของผังพาเรโต
❑ แกนซ้าย เป็นจานวนของเสีย
❑ แกนขวา เป็นร้อยละของปัญหา
❑ แกนนอน เป็นชนิดของปัญหา
❑ ผังพาเรโต จะจัดเรียงชนิดของปัญหาที่
มีจานวนของเสียเกิดขึ้นมากที่สุด จาก
ซ้ายไปขวา
❑ เป็นการจัดลาดับความสาคัญเพื่อแก้ไข
สิ่งที่สาคัญกว่าก่อนเพื่อลดผลกระทบ
ได้มากที่สุด
ตัวอย่าง ผังพาเรโต
ปัญหา 1 ปัญหา 2 ปัญหา 3 ปัญหา 4 ปัญหา 5 ปัญหา 6
5 นาที กับ เครื่องมือ Lean | ตอนที่ 1 : Pareto
https://www.youtube.com/watch?v=p7hZvH9gkJI
ผังก้างปลา (Cause & Effect Diagram)
❑ บางครั้งอาจถูกเรียกว่า Ishikawa Diagram ซึ่ง
ตั้งขึ้นตามชื่อของผู้คิดค้นชาวญี่ปุ่น คือ Dr.Kaoru
Ishikawa ศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมแห่ง
มหาวิทยาลัยโตเกียว ผู้ริเริ่มในการนาผังนี้มาใช้ใน
วงการอุตสาหกรรม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953
ผังก้างปลา (Cause & Effect Diagram)
❑ บ้างก็เรียกว่าผังแสดงเหตุและผล (Cause-and-Effect Diagram) หรือบ้างก็
เรียกกันง่าย ๆ ว่า ผังก้างปลา (Fishbone Diagram)
❑ เป็นแผนผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะ ทางคุณภาพกับปัจจัย
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
หลักการของผังก้างปลา
สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก
สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก
สาเหตุรอง
สาเหตุย่อย
สาเหตุย่อย
สาเหตุรอง
สาเหตุย่อย
สาเหตุรอง สาเหตุรอง
ปัญหา
ตัวอย่าง ผังก้างปลา
แผนภูมิ หรือกราฟ (Graph)
❑ แผนภูมิ หรือ กราฟ คือแผนภาพประเภทใดประเภทหนึ่งที่เป็นการ
นาเสนอข้อมูลเป็นรูปภาพ แทนคาบรรยาย
❑ มีเป้าหมายหลักคือ ต้องทาให้ผู้ที่ดูกราฟสามารถเข้าใจได้ง่ายและ
รวดเร็วที่สุด
❑ กราฟที่นิยมใช้ในการควบคุม
คุณภาพอาจมีได้หลายชนิด
และเลือกใช้ได้แตกต่างกันตาม
ความเหมาะสมของข้อมูล
❑ เพื่อจะได้เห็นปริมาณ หรือ
แนวโน้มของปัญหาว่าจะมี
ลักษณะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ง่าย
ต่อการตัดสินใจแก้ไขปัญหา
แผนภูมิ หรือกราฟ (Graph)
กราฟแท่ง
ประเภทของกราฟที่นิยมใช้
กราฟเส้น
ประเภทของกราฟที่นิยมใช้
กราฟแบบเรดาร์
ประเภทของกราฟที่นิยมใช้
กราฟแบบวงกลม
ประเภทของกราฟที่นิยมใช้
ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
❑ ใบตรวจสอบ หรือที่นิยมเรียกกันว่า Check Sheet เป็นแผ่นงานที่ได้ออกแบบ
มาอย่างเฉพาะเจาะจงต่องานนั้น ๆ โดยมีจุดประสงค์ที่จะเก็บข้อมูลสาคัญ ๆ
ได้ง่ายและเป็นระบบ
ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
❑ การมี Check Sheet ที่มีประสิทธิภาพจะทาให้สามารถใช้เก็บข้อมูลได้ง่าย
ตรงจุดประสงค์ เพื่อจะนาข้อมูลไปการวิเคราะห์และตรวจสอบได้อย่างมี
ประสิทธิผลสูงสุด
❑ กาหนดวัตถุประสงค์การเก็บข้อมูลให้ชัดเจน
❑ เพื่อควบคุมและติดตามดูผลการทางาน
❑ เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของความผิดปกติ
❑ เพื่อการตรวจเช็คทั่วไป
❑ แบบฟอร์มที่ใช้เก็บข้อมูลจะต้องวางรูปแบบช่องว่างต่าง ๆ สาหรับใส่ข้อมูลให้
ถูกต้อง และพิมพ์อย่างเรียบร้อย
❑ แบบฟอร์มที่ใช้ ต้องการให้ผู้บันทึกสามารถเขียน หรือบันทึกลงไปได้อย่าง
สะดวก ถูกต้อง และเขียนน้อยที่สุด โดยทาให้ผู้อ่านข้อมูลนั้นสามารถเข้าใจได้
ง่ายและครบถ้วนมากที่สุด
หลักการออกแบบ Check Sheet
ตัวอย่าง Check Sheet
แผนผังการกระจาย (Scatter Diagram)
❑ ผังการกระจาย เป็นแผนภาพที่ใช้แสดงค่าของข้อมูลที่เกิด
จากความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัวว่ามีแนวโน้มไปในทาง
ใด เพื่อที่จะใช้หาความสัมพันธ์ที่แท้จริง
หลักการของแผนผังการกระจาย
❑ แผนผังการกระจาย (Scatter Diagram) คือ ผังที่ใช้แสดงค่าของข้อมูลที่เกิด
จากความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว ว่ามีแนวโน้มไปในทางใด เพื่อที่จะใช้หา
ความสัมพันธ์ที่แท้จริง โดย
❑ ตัวแปร X คือ ตัวแปรอิสระ หรือค่าที่ปรับเปลี่ยนไป
❑ ตัวแปร Y คือ ตัวแปรตาม หรือผลที่เกิดขึ้นในแต่ละค่าที่เปลี่ยนแปลงไป
ของตัวแปร X
รูปแบบของแผนผังการกระจาย
❑ การกระจายแบบมีสหสัมพันธ์แบบบวก (Positive Correlation)
❑ การกระจายแบบมีสหสัมพันธ์แบบลบ (Negative Correlation)
❑ การกระจายแบบมีไม่มีสหสัมพันธ์ (Non Correlation)
ฮิสโตแกรม (Histogram)
❑ ฮิสโตแกรม (Histogram) เป็นแผนภูมิแท่งที่บอกถึงความถี่ที่เกิดขึ้นในแต่ละ
ชั้นความถี่นั้น ๆ โดยแต่ละแท่งจะวางเรียงติดกัน
❑ แกนนอนจะกากับด้วยค่าขอบบนและขอบล่างของชั้นนั้น หรือใช้ค่ากลาง
(Midpoint)
❑ แกนตั้งเป็นค่าความถี่ในแต่ละชั้น ความสูงของแต่ละแท่งจะขึ้นอยู่กับ
ความถี่ที่เกิดขึ้นนั้น
หลักการของฮิสโตแกรม
❑ จากภาพ เป็นกราฟฮิสโตแกรมที่มี
ความปกติ คือ
❑ ข้อมูลที่เกิดบ่อยครั้งจะสะสมกันอยู่
ตรงกลาง แล้วค่อยๆลดลงไปตาม
ด้านข้างทั้งซ้ายและขวา
❑ เมื่อลากเส้นต่อจุดแล้วจะออกมาเป็น
กราฟที่เรียกว่า Normal Curve หรือ
เส้นโค้งปกติ ที่ทุกกระบวนการ
ต้องการ
รูปแบบของกราฟฮิสโตแกรม
การสร้างกราฟฮิสโตแกรม
การสร้างกราฟฮิสโตแกรม
2.3 2.4 2.5 2.6
2.2 2.7
2.1
2.0
1.9
1.8
1.7
25
20
15
10
5
0
ตัวอย่างของกราฟฮิสโตแกรม
แผนภูมิควบคุม (Control Chart)
❑ แผนภูมิควบคุม (control chart) คือ แผนภูมิ หรือ แผ่นกราฟ ที่เขียนขึ้นโดย
อาศัยข้อมูล จากข้อกาหนดคุณภาพที่ต้องการควบคุม เพื่อเป็นแนวทาง ใน
การติดตามผลการปฏิบัติงาน ในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
หลักการของแผนภูมิควบคุม
❑ จากหลักการทางสถิติที่ว่า ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการผลิตมีการแจกแจงแบบ
ปกติ ( Normal distribution) จะมีพารามิเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง 2 ค่า คือ ค่าเฉลี่ย
(m) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) มีการกระจายรอบ ๆ ค่าเฉลี่ยช่วง +3s
และ -3s
❑ UCL คือ ขีดจากัดควบคุมทางสูง
❑ CL คือ เส้นแกนกลาง
❑ LCL คือ ขีดจากัดควบคุมทางต่า
ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (1)
❑ จุดทุกจุดอยู่ระหว่างพิกัดควบคุม เรียกว่า “ขบวนการอยู่ใต้การ
ควบคุม” (Under Control)
ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (2)
❑ จุดบางจุดอยู่นอกเส้นพิกัดควบคุม เรียกว่า “ขบวนการอยู่นอก
การควบคุม” (Out of Control)
ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (3)
❑ มีจุดอย่างน้อย 7 จุดติดต่อกันอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของแผนภูมิ
ควบคุม เรียกว่า เกิดการ RUN
ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (4)
❑ ค่าเฉลี่ยของขนาดที่ได้จากกระบวนการกาลังมีแนวโน้มที่จะ
เคลื่อนที่ออกจากที่ตั้งไว้ครั้งแรก เรียกว่า เกิดแนวโน้ม (TREND)
ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (5)
❑ เกิดการหมุนเวียนของเหตุการณ์ต่าง ๆ ซ้าเดิมในกระบวนการ
เป็นรอบ ๆ เรียกว่า วัฏจักร (PERIODICITY)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 111
ความสูญเปล่า 7 ประการ
(7 Waste or MUDA)
ความสูญเปล่า(Waste)
• หรือภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า “มุดะ(Muda)” คือ การกระทาใดๆ ก็
ตามที่ใช้ทรัพยากรไป ไม่ว่าจะเป็นแรงงาน วัตถุดิบ เวลา เงิน
หรืออื่นๆ แต่ไม่ทาให้สินค้าหรือบริการเกิด “คุณค่าหรือการ
เปลี่ยนแปลง” มีอยู่ 7 ประการดังนี้
Seven Wastes
Over Production
ผลิตเกินความจาเป็น
Inventory
สินค้าคงคลัง
Excess Processing
กระบวนการผลิตเกินจาเป็น
Motion
การเคลื่อนไหว
Waiting
การรอคอย
Defect
ของเสีย
Transportation
การขนย้าย
VDO
• 7 waste ความสูญเปล่า 7 ประการคืออะไร? เกี่ยวข้องอย่างไร กับ Kaizen
QCC Lean
https://www.youtube.com/watch?v=rLdEZRlY-dw
116
1. การผลิตมากเกินความจาเป็น
(Over Production)
การผลิตสินค้ามากกว่าที่ลูกค้าต้องการและการผลิตสินค้าก่อน
ความต้องการ
117
สินค้าคงคลัง ประกอบด้วย
▪ การมีวัตถุดิบ (RM)
▪ งานระหว่างกระบวนการผลิต (WIP)
▪ สินค้าสาเร็จรูป (FG)
▪ วัสดุสิ้นเปลือง อะไหล่
การมีสินค้าคงคลังมากเกินความจาเป็น ทาให้การไหลของ
ผลิตภัณฑ์ (Flow) ไม่ดีเท่าที่ควร
2. การมีสินค้าคงคลังมากเกินความจาเป็น
(Excess Inventory)
118
การผลิตของเสียส่งผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุน และเมื่อไม่
สามารถควบคุมอัตราของเสียได้ย่อมมีผลกระทบต่อการวาง
แผนการผลิตและการส่งมอบสินค้าได้ นอกจากนั้นการมีของเสีย
หลุดไปถึงลูกค้ายังมีผลต่อความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์อีกด้วย
3. การมีของเสีย (Defects)
119
3. การมีของเสีย (Defects)
120
การมีขั้นตอนการผลิตที่มากเกินความจาเป็น ทาให้เกิดความล่าช้า
ในการผลิต ซึ่งทาให้กระทบต่อการจัดส่งสินค้าได้ ทั้งยังทาให้เกิด
ความเมื่อยล้าต่อพนักงานและเป็นต้นทุนอีกด้วย
4. การมีกระบวนการที่ไม่จาเป็น
(Unnecessary Processing)
121
การรอคอยต่างๆ ไม่ให้ประโยชน์ต่อการผลิตเป็นการเสียเวลาโดย
ไม่ได้ผลผลิต เช่น การรอวัตถุดิบ รออุปกรณ์ รอคนงาน รอ
เครื่องจักร รออะไหล่ รอคาสั่ง รอการขนย้าย รอการตรวจสอบ รอ
การตัดสินใจ เป็นต้น
5. การรอคอย (Waiting)
122
5. การรอคอย (Waiting)
123
การเคลื่อนไหวร่างกายมากเกินความจาเป็น ทาให้สูญเสียเวลาใน
การผลิตและเกิดความเมื่อยล้า
6. การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่จาเป็น
(Unnecessary Motion)
125
การขนส่ง ขนย้ายที่มากเกินไปหรือมีระยะทางที่ยาวไกล ส่งผล
กระทบต่อต้นทุนและเวลาในการผลิต
7. การขนย้ายที่ไม่จาเป็น
(Unnecessary Transportation)
126
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 127
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 128
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 129
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 130

More Related Content

What's hot

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมRonnarit Junsiri
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาnattawad147
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
การจัดการ..ลอจิสติกส์
การจัดการ..ลอจิสติกส์การจัดการ..ลอจิสติกส์
การจัดการ..ลอจิสติกส์ThoughtTum
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดแนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดNooni Punnipa
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processTeetut Tresirichod
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 

What's hot (20)

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
System management
System managementSystem management
System management
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวาการพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
การพัฒนาหลักสูตร ไทเลอร์ ทาบา โอลิวา
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Pptการฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
 
การจัดการ..ลอจิสติกส์
การจัดการ..ลอจิสติกส์การจัดการ..ลอจิสติกส์
การจัดการ..ลอจิสติกส์
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดแนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 

Similar to Process management

chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfPhatchaRee5
 
วงจรพัฒนาระบบ
วงจรพัฒนาระบบวงจรพัฒนาระบบ
วงจรพัฒนาระบบjjworapod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...PunyaweePosri1
 
Lean thinking in healthcare
Lean thinking in healthcareLean thinking in healthcare
Lean thinking in healthcaremaruay songtanin
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 

Similar to Process management (20)

chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
 
วงจรพัฒนาระบบ
วงจรพัฒนาระบบวงจรพัฒนาระบบ
วงจรพัฒนาระบบ
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Lean thinking in healthcare
Lean thinking in healthcareLean thinking in healthcare
Lean thinking in healthcare
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
M
MM
M
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 

Process management