SlideShare a Scribd company logo
การเขียนข่าวอย่างไรได้
ลงหนังสือพิมพ์
      ชัยวุฒิ ศิวายพราหมณ์
      มติชน / สำานักข่าวไทย
ดประสงค์ของการประชุมปฏิบัตการการเขียนเพื่อการประชาส
                                        ิ
                ของสำานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กบริหาร รู้ และเข้าใจถึงความมุงหมายของการเขียนเพื่อการป
                                      ่
ทักษะในการปฏิบัตงานด้านการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ใ
                           ิ
 อให้เรียนรูเทคนิคและวิธีการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ในเ
              ้
พื่อให้นำาความรูไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัตงานได้อย่างมีประส
                      ้                         ิ
                   ข. ขอบข่ายเนื้อหาและทักษะที่นำาเสนอ
     -ความมุงหมายและความสำาคัญของการประชาสัมพันธ์
                 ่
                -ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์
                             ้
         -เป้าหมายและวิธการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
                                 ี
                        เครื่องมือของการประชาสัมพันธ์
 การวางแผนการใช้สื่ออย่างเป็นรูปธรรมในปีงบประมาณ255
ประชาสัมพันธ์
 การประชาสัมพันธ์ คือ วิธการและการติดต่อ
                           ี
สื่อสารขององค์กร หน่วยงาน
 ที่มแผนการในการสร้างหรือรักษาไว้ ซึ่งความ
      ี
สัมพันธ์อันดีกับกลุ่มประชาชนที่
 เกียวข้อง (ทั้งกลุ่มคนในหน่วยงาน และกลุ่มคน
    ่
หน่วยงาน) ให้มความรู้
                 ี
 ความเข้าใจ สร้างความเชื่อถือ ศรัทธา และให้
ความสนับสนุนร่วมมือซึ่งกัน
 และกัน เพื่อให้งานของหน่วยงานดำาเนินไปด้วยดี
โดยมีประชามติเป็นแนว
 พื้นฐาน
2. ความรู้ทวไปเกี่ยวกับการ
                ั่
ประชาสัมพันธ์
    2.1 ส่วนประกอบ 4 ประการของการ
ประชาสัมพันธ์
        1. การประชาสัมพันธ์เป็นปรัชญาการจัดการ
ที่เห็นความสำาคัญของสังคมที่เน้นประโยชน์ของ
ประชาชนมาก่อนสิ่งอืนใด
                    ่
        2. การประชาสัมพันธ์เป็นปรัชญาทางสังคมที่
แสดงไว้ในการตัดสินใจเกียวกับนโยบาย ซึ่ง
                         ่
สะท้อนปรัชญาทีจะให้ประโยชน์แก่ประชากรเป้า
                 ่
หมาย
ระชาสัมพันธ์เป็นการกระทำาที่มผลมาจากนโยบายที่ด
                                ี
 นนั้นจะถูกตัดสินโดยสิ่งที่เขาทำา ไม่ใช่สิ่งที่เขาพูด
สัมพันธ์เป็น Line Function ของหัวฝ่ายทุกฝาย
 รประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสาร ทีจะแสดงอธิบายบรร
                                   ่
สริมนโยบายของหน่วยงานและปฏิบัติต่อประชากรเป้า
ให้เกิดความเข้าใจอันดี และความรู้สึกที่ดีต่อหน่วยงาน
สื่อสารปรัชญา ดังกล่าวไปสู่ประชากรเป้าหมาย
2.2 กระบวนการและขั้นตอนของการ
        ดำาเนินงานประชาสัมพันธ์
   1. การวิจัยและรับฟังความคิดเห็น (Research-
Listening)
  2. การวางแผนและการตัดสินใจ (Planning-
Decision
      making)
  3. การติดต่อสือสาร (Communication-Action)
                ่
   4. การประเมินผล (Evaluation)
2.3 ข้อควรคำานึงสำาหรับผูวางแผนการ
                             ้
              ประชาสัมพันธ์
1. คนและสิงแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
            ่
ภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อ การดำาเนินการ
ประชาสัมพันธ์ดังกล่าว ได้แก่ ภาวะทาง
เศรษฐกิจบรรยากาศทางการเมือง สังคม ค่า
นิยม วัฒนธรรม ศาสนา ประชาชน ความเชื่อ
ถือ ฯลฯ
2. ปัญหาทั้งในหน่วยงาน และ ภายนอกที่เกิด
ขึ้นต้องได้
รับการแก้ไขให้สนไป
                ิ้
3. ตรวจสอบเกณฑ์หรือดีกรีของความสำาเร็จที่
ตั้งไว้วาเหมาะสมหรือไม่ มากเกินไปหรือไม่
        ่
4. วิธีการและเครื่องมือที่ใช้อยู่มีสภาพหรือได้
                  ผลดีหรือไม่
     5. การดำาเนินการไปถึงประชาชน เป้า
หมาย วัตถุประสงค์หรือไม่ อย่างไร
     6. การดำาเนินงานประชาสัมพันธ์ที่ทำาอยู่ มี
ผลทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบ้างหรือไม่ หรือ
มีผลอย่างไรบ้าง ฉะนั้น
แผนหรือการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์
จึงมักต้องแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตาม
ภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่เสมอ
2.4 งานและหน้าที่ของนักประชาสัมพันธ์
            นักประชาสัมพันธ์วาเป็นผู้ที่
                                ่
  สร้างสรรค์และรักษาความสัมพันธ์ อันดี
            ระหว่างหน่วยงาน
   องค์การ กับประชาชน ทำาหน้าที่เป็นสือ   ่
                  กลาง
 ระหว่างหน่วยงานกับประชาชนด้วยวิธีการ
               ติดต่อสื่อสาร
 ในรูปแบบต่างๆ จำาแนกประเภทของงานที่
นักประชาสัมพันธ์หรือผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
                   งาน
1. ด้านการเขียน นักประชาสัมพันธ์ต้องมี
ความสามารถในการเขียนเพือการ ่
ประชาสัมพันธ์ เช่น เขียนข่าวแจก เขียน
บทความ
 เขียนบทวิทยุ เขียนบทโทรทัศน์ เป็นต้น
2. งานบรรณาธิการ นักประชาสัมพันธ์จะ
ต้องทำาหน้าที่ในกองบรรณาธิการ คือ การ
พิจารณาเรื่องราว ข่าวสาร หรือกิจกรรมต่างๆ
ที่ใช้ในการเผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์
3. งานการกำาหนดตำาแหน่งหน้าที่ เป็นงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสือมวลชนสัมพันธ์
                          ่
านด้านการส่งเสริม
านด้านการพูด
านด้านการผลิต สือที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ประเ
                ่
ยงานสามารถผลิตและเผยแพร่ได้
านด้านการวางโครงการ สามารถวางแผนในการจัด
 โครงการประชาสัมพันธ์
านด้านโฆษณาหน่วยงาน
ประชาสัมพันธ์
       1. การโฆษณาเผยแพร่ คือการบอก
  กล่าวเผยแพร่เรื่องราวของหน่วยงานไปสู่
 ประชาชน จะเป็นการบอกกล่าวถึงเรื่องราว
  ข่าวสารจากทางหน่วยงานเพียงข้างเดียว
 ประกอบด้วย 1. กำาหนดจุดมุ่งหมายและ
 เนื้อหาจากสาร 2. กำาหนดกลุ่มประชาชน
เป้าหมาย 3. ใช้สื่อที่เหมาะสมเพือให้ข่าว
                                   ่
ถึงกลุ่มประชาชนเป้าหมาย 4. จัดข่าวสาร
ให้มีลักษณะเป็นกันเองกับกลุ่มผู้รบให้อยู่ใน
                                 ั
  สภาวะที่จะรับและเข้าใจได้ และ 5. จัด
 ข่าวสารและวิธีการบอกกล่าวให้โน้มน้าวใจ
2.การป้องกันและแก้ความเข้าใจผิด
ความเข้าใจผิดหมายถึง ความเข้าใจผิดของ
ประชาชนที่มีต่อหน่วยงาน ซึงก่อให้เกิด
                          ่
ความเสียหายมากขึ้นหลายด้าน เช่น ขาด
ศรัทธา หวาดระแวง ไม่ไว้ใจ จนถึงการไม่ให้
ความร่วมมือ การชีแจงให้ครอบคลุมสาระ
                 ้
สำาคัญได้แก่ 1. นโยบายของหน่วยงาน
2. ความมุ่งหมาย 3. วิธีการดำาเนินงาน
และ 4. ผลงานของหน่วยงาน
2.6 เราต้องเข้าใจการทำางาน
 ข่าว และการเขียนข่าวของ
หนังสือพิมพ์ โดยสำานักพิมพ์
  1. จุดเด่นของข่าว : เน้น
    เร็ว ใกล้ชิด เด่น แปลกใหม่
สำาหรับมนุษย์ ขัดแย้ง ลึกลับ
กระทบ ก้าวหน้าและเรื่องเพศ
 2. เขียนข่าวตามแนวกระบวน
      ทัศน์ 4แนวได้แก่
1.ไสยศาสตร์
2.ธรรมชาติ ความจริง ศาสนา
ความเชื่อ ความหลุดพ้น3.จักรกล
วัตถุนยม และ
      ิ
4.องค์รวม สุขภาวะ พอเพียง
3 การรวบรวมข่าว
 (1)           ผู้สื่อข่าวต้องมีคุณลักษณะ
     ช่างสังเกต อยากรู้อยากเห็น รอบรู้
   อดทน รับผิดชอบ มีมนุษย์สมพันธ์ มี ั
            เหตุผล และมีคุณธรรม
  (3)แหล่งข่าว ภายในประเทศ (ประจำา
    พิเศษ สำานักข่าว ต่างจังหวัด เอกสาร
   ปชส. เอกสาร บจก. หจก. บุคคลทั่วไป
               และต่างประเทศ
(3)           การสัมภาษณ์          สัมภาษณ์
     ข้อเท็จจริง สัมภาษณ์ความคิดเห็น
        สัมภาษณ์สะท้อนบุคลิกภาพ
4 รูปแบบการเขียนข่าว
 (1) คุณลักษณะของข่าวถูกต้อง สมดุล
       เป็นกลาง ชัดเจน ทันสมัย
(2) หลักการเขียนข่าวให้ความสะดวกผู้
  อ่าน สนองความอยากรู้อยากเห็นของ
  มนุษย์ สะดวกต่อการจัดหน้าเรียงพิมพ์
สะดวกในการพาดหัวข่าว และใช้แบบการ
        เขียนข่าว ที่เป็นมาตรฐาน
  (3) บทบรรณาธิการประชุมกอง บก.
              รวบรวมข้อมูล
 วิเคราะห์ ลำาดับ เรียบเรียง ข้อมูล ความ
คิด ใช้ลีลาการเขียน เข้าใจง่าย น่าสนใจ
5      การเขียนบทความ บทวิจารณ์
              เนื้อหาอื่นๆ
        1) หลักการวิจารณ์: มาตรฐาน
 ของตัวผู้วจารณ์ (รอบรู้ เป็นกลาง เป็น
           ิ
ธรรม) วิธีการรายงาน ลักษณะงาน และ
               ประทับใจ
       2) งานที่นำามาวิจารณ์: -หนังสือ
 ข้อเขียนต่างๆ-การแสดง ละคร -ดนตรี
   ภาพยนตร์ -รายการวิทยุ โทรทัศน์
-ปาฐกถา อภิปราย และ-ศิลปกรรมต่างๆ
      ภาพวาด ภาพถ่าย วรรณคดี
6 บทบาทหน้าที่ของบรรณาธิการ และ
            กองบรรณาธิการ
 1) ตรวจแก้ ปรับปรุงต้นฉบับ เพื่อตรวจ
           สอบความถูกต้อง
   ชัดเจน กระชับ การใช้ภาษา การใช้
ไวยากรณ์ สะกด การันต์ ตรวจสอบข้อเท็จ
 จริง การใช้อักษรย่อ ขจัดความคิดเห็น
ออกไป ปรับเนื้อหาให้กระชับ และตัดคำา
   ความ ที่สุ่มเสียงต่อละเมิดกฎหมาย
                  ่
สาระสำาคัญ จัดหน้าให้สวยงาม บอกลำาดับ
     ความสำาคัญ และสร้างบุคลิกและ
        เอกลักษณ์ของหนังสือพิมพ์
              3) สังตัวพิมพ์
                   ่
    4) จัดภาพข่าว คำานึงถึงประโยชน์
          คุณภาพ ขนาดภาพ และ
  คำาบรรยาย (ชนิดเป็นส่วนหนึ่งของข่าว
   ชนิดแยกหน้า ชนิดภาพเป็นข่าว ชนิด
            อธิบายภาพประกอบ)
                5) จัดหน้า
วัตถุประสงค์การจัดหน้า: ระเบียบ สวยงาม
 อ่านง่าย สบายตา ลำาดับความสำาคัญของ
ข่าวก่อนเสมอ
WHAT จะรายงานเหตุการณ์ก่อน
เกิดอะไรขึ้น
WHERE จะบอกสถานที่เกิดเรื่องนั้น
ก่อน
WHEN บอกเวลาที่เกิดเหตุการณ์
ก่อน
WHY          บอกสาเหตุกอน เช่น เพราะ
                         ่
ว่า,เนื่องจาก
HOW           “ ด้วยการใช้… .” บอกวิธี
หลักการเขียนข่าว
ยนข่าวนั้นต้องมีหลักการเขียน ส่วนประกอบของข่าวท
 1. เขียนหัวข่าว ( Headline )    2. ความนำา ( Lea
 3. ส่วนเชื่อม ( Neck )         4. เนื้อข่าว ( Bod
1. เขียนหัวข่าว ( Headline )
5รร.ระดับอำาเภอถอยไม่
สอบ100%
ดร.สมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธิการคณะกรรมการการ
ศึกษาขันพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยว่า ตามที่สำานักงาน
         ้
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ขอให้
โรงเรียนยอดนิยมในสังกัด สพฐ. ที่ไม่ใช่โรงเรียนประจำา
จังหวัดแต่อาจจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีอยู่เพียง
แห่งเดียวในอำาเภอ ซึงเสนอขอใช้วิธีการสอบคัดเลือก
                    ่
100% ในการรับนักเรียนปีการศึกษา 2551 จำานวน 34
โรงเรียนกลับไปทบทวนข้อเสนอ เพื่อไม่ให้เด็กที่อยู่ใน
พื้นที่ได้รับผลกระทบนั้น ขณะนี้โรงเรียนทั้ง 34 แห่งได้
ตอบกลับมาแล้ว โดยในจำานวนนี้มี 5 โรงเรียนที่ขอ
เปลี่ยนใจไม่สอบคัดเลือก 100% ส่วนที่เหลืออีก 29
ร.ร.หนองแซงฯสนอง"ศธ." เปิด
สอนอาชีพระดับปวช.
นายธวัชชัย พิกุลแก้ว ผูอำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
                        ้
(สพท.) สระบุรี เขต 1 เปิดเผยว่า จากที่นายวิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความเห็นชอบการเปิดสอนหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยให้ดำาเนิน
การในลักษณะมีวิทยาลัยอาชีวศึกษาเป็นพี่เลียง ทางโรงเรียน
                                          ้
หนองแซงวิทยา อ.หนองแซง สังกัด สพท.สระบุรี เขต 1 จึงได้ขอ
อนุญาตเปิดสอนระดับ ปวช.ตังแต่ปีการศึกษา 2551 มีสาขาวิชา
                            ้
พณิชยกรรม และพณิชยการ โดยมีวิทยาลัยอาชีวศึกษาสระบุรีเป็นพี่
เลี้ยง ซึ่งได้รับการอนุญาตจากคณะกรรมการเขตพื้นทีการศึกษา
                                                  ่
สระบุรี เขต 1 แล้ว
2. ความนำา ( Lead )
ความนำา เป็นส่วนที่บอกข้อเท็จจริง
ที่สำาคัญแก่ผู้อ่านคล้ายเป็นข้อความ
        ที่ย่อเนื้อข่าวไว้ทั้งหมด
ความนำาแบบ 5W’S & H               หรือ
      WHO, WHAT, WHERE,
    WHEN, WHY,และ HOW
“หมัก”ลูกไก่ในกำามือ “แม้ว” 3
  จ ปัจ เขี่ย ก เขี่ย “สมัคร” ตกเก้
ปั3 จัยจัยหลัตกเก้าอีนายกฯ าอี้และ
                         ้
ต้องยุตบทบาทนายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ชี้
         ิ
สิ่งสำาคัญสุดคือ ถูก “แม้ว”เขี่ยเพราะไม่
สามารถสานภารกิจตามเงื่อนไขและข้อ
ตกลง ได้สำาเร็จ ขณะทีนักวิชาการ ชี้ นา
                        ่
ยกฯคนใหม่ รับศึกด้านเดียว ส่วนปัญหา
เศรษฐกิจเป็นหน้าที่มออาชีพจัดการ ด้านกู
                      ื
รูโพลล์ แนะรัฐบาลใหม่ตองเร่งสร้างผล
                          ้
งานเอาใจปชช.ลดแรงต้านแผนกรุยทาง
ทักษิณกลับบ้าน...
งบ 858 ล้านบาท แก้เด็กอ่านไม่ออกเขียน
นับจากองค์การเพือความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
                  ่
การพัฒนา (OECD) รายงานว่า นักเรียนไทย
อายุ 15 ปี ร้อยละ 37 มีความสามารถในการอ่าน
ตำ่ามาก ซึงย่อมส่งผลให้การเรียนวิชาอื่นๆ อ่อน
          ่
ด้อยตามไปด้วย สอดคล้องกับรายงานระดับชาติ
(O-NET) ของนักเรียนตำ่ากว่า ร้อยละ 50 โดย
เฉพาะอย่างยิ่งการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียน
ภาษาไทยของนักเรียนทุกระดับ ตั้งแต่ปี 39 ถึง
ปัจจุบัน นอกจากนี้ในปีการศึกษา 49 สพฐ.
สำารวจนักเรียน ป.2 ทั่วประเทศพบว่า นักเรียน
637,004 คน มีปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวว่า เพื่อแก้ปัญหา
การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนให้หมดไป ทาง
สพฐ.ได้จัดทำาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอน (ปี 52-55) โดยใช้งบประมาณ
858,880,000 บาท ทั้งนี้ ตังเป้าไว้ว่าภายในปี 55 นี้
                                ้
นักเรียนที่จบช่วงชันที่ 1 (ป.1-ป.3) ทุกคนอ่านออก
                      ้
เขียนได้ ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-ป.6) ทุกคนอ่านคล่องเขียน
คล่อง และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยสูงขึ้น
มากกว่า ร้อยละ 55 ส่วนนักเรียนที่ใช้ภาษาถิ่นในชีวต ิ
ประจำาวัน ในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่พิเศษ พัฒนาความ
สามารถการใช้ภาษาไทยเต็มตามศักยภาพ ใช้ภาษา
สือสาร ขณะเดียวกัน นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ
  ่
เรียนรู้ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและเรียนร่วมกับ
ผู้อื่นได้ ส่วนนักเรียนที่มีความสามารถดีเด่นด้านภาษา
3. ส่วนเชื่อม ( Neck )
          ส่วนเชื่อม ( NECK)
      จะเป็นการเขียนขยายเนื้อหาจาก
 ความนำา เป็นส่วนขยายความนำากับเนื้อ
ข่าว มีขอเท็จจริงรองจากความนำาเพื่อให้
        ้
รายละเอียดของข่าวชัดเจนขึ้น มักเขียน
ไว้ตอนท้ายของความนำาเพื่อให้เชื่อมต่อ
             กับเนื้อข่าวนั่นเอง
กรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กล่าวว่า เพื่อแก้ปัญหา
                           ้
การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนให้หมดไป ทาง
สพฐ.ได้จัดทำาแผนยุทธศาสตร์พฒนาคุณภาพการเรียน
                                   ั
การสอน (ปี 52-55) โดยใช้งบประมาณ
858,880,000 บาท ทั้งนี้ ตังเป้าไว้ว่าภายในปี 55
                                 ้
นี้ นักเรียนที่จบช่วงชันที่ 1 (ป.1-ป.3) ทุกคนอ่านออก
                       ้
เขียนได้ ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-ป.6) ทุกคนอ่านคล่อง
เขียนคล่อง และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยสูงขึ้น
มากกว่า ร้อยละ 55 ส่วนนักเรียนที่ใช้ภาษาถิ่นในชีวิต
ประจำาวัน ในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่พิเศษ พัฒนา
ความสามารถการใช้ภาษาไทยเต็มตามศักยภาพ ใช้
ภาษาสือสาร ขณะเดียวกัน นักเรียนที่มีความบกพร่อง
          ่
ทางการเรียนรู้ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและ
เรียนร่วมกับผู้อื่นได้ ส่วนนักเรียนที่มีความสามารถดี
ไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ดังนั้น สพฐ.จึง
มีแผนแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน
ภาษาไทยของนักเรียนเป็นรายบุคคล
นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาครูให้สามารถฝึก
ทักษะการใช้ภาษาไทย เช่น การอ่าน
การเขียน และทักษะอื่นๆ ของนักเรียน
ให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงส่งเสริม
นักเรียนให้มีทักษะกระบวนการคิดโอย
ผ่านทักษะการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง
พูด อ่าน และเขียน ให้นักเรียนสามารถ
“ก่อนอื่น สพฐ.จะจัดอบรมครูผู้สอนก่อน
เพื่อให้มีทักษะ ผลิตสื่อสมัยใหม่ เพื่อให้
ครูสามารถนำาความรู้จากการอบรม เพื่อ
นำามาใช้ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เด็ก
ขณะเดียวกันครูทุกคนจะต้องผลิตสื่อขึ้น
เองมาใช้การสอนด้วย นอกจากนี้ให้ช่วย
เหลือเด็กอ่อนหรือนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์
โดยครูสอนซ่อมเสริม เพื่อให้เด็กคนนั้น
สามารถอ่านออกเขียนได้จริง”
เนื้อข่าว (Body)
 4. เนื้อข่าว ( Body )
   เนื้อข่าว ได้แก่ ตัวเรื่องราวหรือ
เหตุการณ์ที่ผู้รายงานข่าวต้องอธิบายข้อ
เท็จจริง โดยขยายจากความนำาข่าวโดย
  ให้รายละเอียดชัดเจนมากขึ้นนั่นเอง
       การเขียนเนื้อข่าว มี 2 แนวคือ
            1. เขียนขยายความนำาที่มี
               ประเด็นเดียว
         2. เขียนขยายความนำาที่มีหลาย
สรรพนาม นำาหน้า ชื่อ

       ตำาแหน่ง
           เปิดเผยว่า
           กล่าวว่า
           ให้สัมภาษณ์ว่า
           ชี้แจงว่า
ทคนิคการถ่ายภาพ
  ความรู้ - กฎสามส่วน (Rule of Third)

   การจัดวางตำาแหน่งหลักของภาพถ่าย เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่
   สามารถทำาให้เกิดผลทางด้านแนวความคิด และความรู้สึกได้
   การวางตำาแหน่งที่เหมาะสมของจุดสนใจในภาพ เป็นอีกสิ่งหนึ่ง
   ที่สำาคัญ และที่นยมกันโดยทั่วไปคือ ?กฎสามส่วน?
                    ิ
กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่
แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่ง
ภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้ง
และแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้ง
สามเส่น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด
ซึงจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตำาแหน่งที่
  ่
เหมาะสมสำาหรับการจัดวางวัตถุที่
ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก ส่วนราย
สวัสดี

More Related Content

What's hot

เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1Rattana Wongphu-nga
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
sriburin
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
kingkarn somchit
 
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Peesadech Pechnoi
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
Jump Takitkulwiwat
 
9789740333203
97897403332039789740333203
9789740333203CUPress
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
Rattanaporn Sarapee
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์etcenterrbru
 
บันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกบันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกKruBowbaro
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333krujee
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
Wilawun Wisanuvekin
 

What's hot (15)

เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
9789740333203
97897403332039789740333203
9789740333203
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
Information service and dissemination
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
บันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกบันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลก
 
ประเภทของการนำเสนอ
ประเภทของการนำเสนอประเภทของการนำเสนอ
ประเภทของการนำเสนอ
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 

Similar to News

การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
Wichit Chawaha
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
Mickey Toon Luffy
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
Pat1803
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
etcenterrbru
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
pakpoom khangtomnium
 
Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40
Thanakit Yean
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Similar to News (20)

ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Mil chap 1 ____ julia nov29
Mil chap 1   ____ julia nov29Mil chap 1   ____ julia nov29
Mil chap 1 ____ julia nov29
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 

More from Ying Kanya

vinitchai
vinitchaivinitchai
vinitchai
Ying Kanya
 
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
Ying Kanya
 
Vinitchai 23
Vinitchai 23Vinitchai 23
Vinitchai 23
Ying Kanya
 
Vinitchai 22
Vinitchai 22Vinitchai 22
Vinitchai 22
Ying Kanya
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
Ying Kanya
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํย
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเผยแพร่บทความและการวินิจฉํย
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํย
Ying Kanya
 
บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960
บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960
บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960
Ying Kanya
 
คำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
คำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารคำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
คำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
Ying Kanya
 
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
Ying Kanya
 
โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560
โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560  โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560
โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560
Ying Kanya
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
Ying Kanya
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
Ying Kanya
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
Ying Kanya
 
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559
Ying Kanya
 
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558
Ying Kanya
 
สถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
สถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลสถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
สถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
Ying Kanya
 
ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.
ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.
ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.
Ying Kanya
 
บทบาทหน้าที่ สพป.สตูล
บทบาทหน้าที่ สพป.สตูลบทบาทหน้าที่ สพป.สตูล
บทบาทหน้าที่ สพป.สตูล
Ying Kanya
 
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กรโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กร
Ying Kanya
 
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กรโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กร
Ying Kanya
 

More from Ying Kanya (20)

vinitchai
vinitchaivinitchai
vinitchai
 
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
Vinitchai 23
Vinitchai 23Vinitchai 23
Vinitchai 23
 
Vinitchai 22
Vinitchai 22Vinitchai 22
Vinitchai 22
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารเผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร
 
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํย
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํยเผยแพร่บทความและการวินิจฉํย
เผยแพร่บทความและการวินิจฉํย
 
บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960
บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960
บทความเผยแพร่คำวินิจฉัย 0960
 
คำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
คำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารคำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
คำวินิจฉัยคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
 
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทความเผยแพร่ความรู้ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560
โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560  โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560
โครงการในแผนปฏิบัติการ ปี 2560
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2559
 
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปี 2558
 
สถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
สถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลสถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
สถานที่ติดต่อขอดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
 
ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.
ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.
ร่างกฎกระทรวงกำหนดอำนาจหน้าที่ สพป.
 
บทบาทหน้าที่ สพป.สตูล
บทบาทหน้าที่ สพป.สตูลบทบาทหน้าที่ สพป.สตูล
บทบาทหน้าที่ สพป.สตูล
 
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กรโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กร
 
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กรโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างองค์กร
 

News

  • 1. การเขียนข่าวอย่างไรได้ ลงหนังสือพิมพ์ ชัยวุฒิ ศิวายพราหมณ์ มติชน / สำานักข่าวไทย
  • 2. ดประสงค์ของการประชุมปฏิบัตการการเขียนเพื่อการประชาส ิ ของสำานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กบริหาร รู้ และเข้าใจถึงความมุงหมายของการเขียนเพื่อการป ่ ทักษะในการปฏิบัตงานด้านการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ใ ิ อให้เรียนรูเทคนิคและวิธีการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ในเ ้ พื่อให้นำาความรูไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัตงานได้อย่างมีประส ้ ิ ข. ขอบข่ายเนื้อหาและทักษะที่นำาเสนอ -ความมุงหมายและความสำาคัญของการประชาสัมพันธ์ ่ -ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ ้ -เป้าหมายและวิธการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ี เครื่องมือของการประชาสัมพันธ์ การวางแผนการใช้สื่ออย่างเป็นรูปธรรมในปีงบประมาณ255
  • 3. ประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ คือ วิธการและการติดต่อ ี สื่อสารขององค์กร หน่วยงาน ที่มแผนการในการสร้างหรือรักษาไว้ ซึ่งความ ี สัมพันธ์อันดีกับกลุ่มประชาชนที่ เกียวข้อง (ทั้งกลุ่มคนในหน่วยงาน และกลุ่มคน ่ หน่วยงาน) ให้มความรู้ ี ความเข้าใจ สร้างความเชื่อถือ ศรัทธา และให้ ความสนับสนุนร่วมมือซึ่งกัน และกัน เพื่อให้งานของหน่วยงานดำาเนินไปด้วยดี โดยมีประชามติเป็นแนว พื้นฐาน
  • 4. 2. ความรู้ทวไปเกี่ยวกับการ ั่ ประชาสัมพันธ์ 2.1 ส่วนประกอบ 4 ประการของการ ประชาสัมพันธ์ 1. การประชาสัมพันธ์เป็นปรัชญาการจัดการ ที่เห็นความสำาคัญของสังคมที่เน้นประโยชน์ของ ประชาชนมาก่อนสิ่งอืนใด ่ 2. การประชาสัมพันธ์เป็นปรัชญาทางสังคมที่ แสดงไว้ในการตัดสินใจเกียวกับนโยบาย ซึ่ง ่ สะท้อนปรัชญาทีจะให้ประโยชน์แก่ประชากรเป้า ่ หมาย
  • 5. ระชาสัมพันธ์เป็นการกระทำาที่มผลมาจากนโยบายที่ด ี นนั้นจะถูกตัดสินโดยสิ่งที่เขาทำา ไม่ใช่สิ่งที่เขาพูด สัมพันธ์เป็น Line Function ของหัวฝ่ายทุกฝาย รประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสาร ทีจะแสดงอธิบายบรร ่ สริมนโยบายของหน่วยงานและปฏิบัติต่อประชากรเป้า ให้เกิดความเข้าใจอันดี และความรู้สึกที่ดีต่อหน่วยงาน สื่อสารปรัชญา ดังกล่าวไปสู่ประชากรเป้าหมาย
  • 6. 2.2 กระบวนการและขั้นตอนของการ ดำาเนินงานประชาสัมพันธ์ 1. การวิจัยและรับฟังความคิดเห็น (Research- Listening) 2. การวางแผนและการตัดสินใจ (Planning- Decision making) 3. การติดต่อสือสาร (Communication-Action) ่ 4. การประเมินผล (Evaluation)
  • 7. 2.3 ข้อควรคำานึงสำาหรับผูวางแผนการ ้ ประชาสัมพันธ์ 1. คนและสิงแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ่ ภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อ การดำาเนินการ ประชาสัมพันธ์ดังกล่าว ได้แก่ ภาวะทาง เศรษฐกิจบรรยากาศทางการเมือง สังคม ค่า นิยม วัฒนธรรม ศาสนา ประชาชน ความเชื่อ ถือ ฯลฯ 2. ปัญหาทั้งในหน่วยงาน และ ภายนอกที่เกิด ขึ้นต้องได้ รับการแก้ไขให้สนไป ิ้ 3. ตรวจสอบเกณฑ์หรือดีกรีของความสำาเร็จที่ ตั้งไว้วาเหมาะสมหรือไม่ มากเกินไปหรือไม่ ่
  • 8. 4. วิธีการและเครื่องมือที่ใช้อยู่มีสภาพหรือได้ ผลดีหรือไม่ 5. การดำาเนินการไปถึงประชาชน เป้า หมาย วัตถุประสงค์หรือไม่ อย่างไร 6. การดำาเนินงานประชาสัมพันธ์ที่ทำาอยู่ มี ผลทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบ้างหรือไม่ หรือ มีผลอย่างไรบ้าง ฉะนั้น แผนหรือการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ จึงมักต้องแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตาม ภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่เสมอ
  • 9. 2.4 งานและหน้าที่ของนักประชาสัมพันธ์ นักประชาสัมพันธ์วาเป็นผู้ที่ ่ สร้างสรรค์และรักษาความสัมพันธ์ อันดี ระหว่างหน่วยงาน องค์การ กับประชาชน ทำาหน้าที่เป็นสือ ่ กลาง ระหว่างหน่วยงานกับประชาชนด้วยวิธีการ ติดต่อสื่อสาร ในรูปแบบต่างๆ จำาแนกประเภทของงานที่ นักประชาสัมพันธ์หรือผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ งาน
  • 10. 1. ด้านการเขียน นักประชาสัมพันธ์ต้องมี ความสามารถในการเขียนเพือการ ่ ประชาสัมพันธ์ เช่น เขียนข่าวแจก เขียน บทความ เขียนบทวิทยุ เขียนบทโทรทัศน์ เป็นต้น 2. งานบรรณาธิการ นักประชาสัมพันธ์จะ ต้องทำาหน้าที่ในกองบรรณาธิการ คือ การ พิจารณาเรื่องราว ข่าวสาร หรือกิจกรรมต่างๆ ที่ใช้ในการเผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์ 3. งานการกำาหนดตำาแหน่งหน้าที่ เป็นงาน ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสือมวลชนสัมพันธ์ ่
  • 13. ประชาสัมพันธ์ 1. การโฆษณาเผยแพร่ คือการบอก กล่าวเผยแพร่เรื่องราวของหน่วยงานไปสู่ ประชาชน จะเป็นการบอกกล่าวถึงเรื่องราว ข่าวสารจากทางหน่วยงานเพียงข้างเดียว ประกอบด้วย 1. กำาหนดจุดมุ่งหมายและ เนื้อหาจากสาร 2. กำาหนดกลุ่มประชาชน เป้าหมาย 3. ใช้สื่อที่เหมาะสมเพือให้ข่าว ่ ถึงกลุ่มประชาชนเป้าหมาย 4. จัดข่าวสาร ให้มีลักษณะเป็นกันเองกับกลุ่มผู้รบให้อยู่ใน ั สภาวะที่จะรับและเข้าใจได้ และ 5. จัด ข่าวสารและวิธีการบอกกล่าวให้โน้มน้าวใจ
  • 14. 2.การป้องกันและแก้ความเข้าใจผิด ความเข้าใจผิดหมายถึง ความเข้าใจผิดของ ประชาชนที่มีต่อหน่วยงาน ซึงก่อให้เกิด ่ ความเสียหายมากขึ้นหลายด้าน เช่น ขาด ศรัทธา หวาดระแวง ไม่ไว้ใจ จนถึงการไม่ให้ ความร่วมมือ การชีแจงให้ครอบคลุมสาระ ้ สำาคัญได้แก่ 1. นโยบายของหน่วยงาน 2. ความมุ่งหมาย 3. วิธีการดำาเนินงาน และ 4. ผลงานของหน่วยงาน
  • 15. 2.6 เราต้องเข้าใจการทำางาน ข่าว และการเขียนข่าวของ หนังสือพิมพ์ โดยสำานักพิมพ์ 1. จุดเด่นของข่าว : เน้น เร็ว ใกล้ชิด เด่น แปลกใหม่ สำาหรับมนุษย์ ขัดแย้ง ลึกลับ กระทบ ก้าวหน้าและเรื่องเพศ 2. เขียนข่าวตามแนวกระบวน ทัศน์ 4แนวได้แก่
  • 16. 1.ไสยศาสตร์ 2.ธรรมชาติ ความจริง ศาสนา ความเชื่อ ความหลุดพ้น3.จักรกล วัตถุนยม และ ิ 4.องค์รวม สุขภาวะ พอเพียง
  • 17. 3 การรวบรวมข่าว (1) ผู้สื่อข่าวต้องมีคุณลักษณะ ช่างสังเกต อยากรู้อยากเห็น รอบรู้ อดทน รับผิดชอบ มีมนุษย์สมพันธ์ มี ั เหตุผล และมีคุณธรรม (3)แหล่งข่าว ภายในประเทศ (ประจำา พิเศษ สำานักข่าว ต่างจังหวัด เอกสาร ปชส. เอกสาร บจก. หจก. บุคคลทั่วไป และต่างประเทศ (3) การสัมภาษณ์ สัมภาษณ์ ข้อเท็จจริง สัมภาษณ์ความคิดเห็น สัมภาษณ์สะท้อนบุคลิกภาพ
  • 18. 4 รูปแบบการเขียนข่าว (1) คุณลักษณะของข่าวถูกต้อง สมดุล เป็นกลาง ชัดเจน ทันสมัย (2) หลักการเขียนข่าวให้ความสะดวกผู้ อ่าน สนองความอยากรู้อยากเห็นของ มนุษย์ สะดวกต่อการจัดหน้าเรียงพิมพ์ สะดวกในการพาดหัวข่าว และใช้แบบการ เขียนข่าว ที่เป็นมาตรฐาน (3) บทบรรณาธิการประชุมกอง บก. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ลำาดับ เรียบเรียง ข้อมูล ความ คิด ใช้ลีลาการเขียน เข้าใจง่าย น่าสนใจ
  • 19. 5 การเขียนบทความ บทวิจารณ์ เนื้อหาอื่นๆ 1) หลักการวิจารณ์: มาตรฐาน ของตัวผู้วจารณ์ (รอบรู้ เป็นกลาง เป็น ิ ธรรม) วิธีการรายงาน ลักษณะงาน และ ประทับใจ 2) งานที่นำามาวิจารณ์: -หนังสือ ข้อเขียนต่างๆ-การแสดง ละคร -ดนตรี ภาพยนตร์ -รายการวิทยุ โทรทัศน์ -ปาฐกถา อภิปราย และ-ศิลปกรรมต่างๆ ภาพวาด ภาพถ่าย วรรณคดี
  • 20. 6 บทบาทหน้าที่ของบรรณาธิการ และ กองบรรณาธิการ 1) ตรวจแก้ ปรับปรุงต้นฉบับ เพื่อตรวจ สอบความถูกต้อง ชัดเจน กระชับ การใช้ภาษา การใช้ ไวยากรณ์ สะกด การันต์ ตรวจสอบข้อเท็จ จริง การใช้อักษรย่อ ขจัดความคิดเห็น ออกไป ปรับเนื้อหาให้กระชับ และตัดคำา ความ ที่สุ่มเสียงต่อละเมิดกฎหมาย ่
  • 21. สาระสำาคัญ จัดหน้าให้สวยงาม บอกลำาดับ ความสำาคัญ และสร้างบุคลิกและ เอกลักษณ์ของหนังสือพิมพ์ 3) สังตัวพิมพ์ ่ 4) จัดภาพข่าว คำานึงถึงประโยชน์ คุณภาพ ขนาดภาพ และ คำาบรรยาย (ชนิดเป็นส่วนหนึ่งของข่าว ชนิดแยกหน้า ชนิดภาพเป็นข่าว ชนิด อธิบายภาพประกอบ) 5) จัดหน้า วัตถุประสงค์การจัดหน้า: ระเบียบ สวยงาม อ่านง่าย สบายตา ลำาดับความสำาคัญของ
  • 22. ข่าวก่อนเสมอ WHAT จะรายงานเหตุการณ์ก่อน เกิดอะไรขึ้น WHERE จะบอกสถานที่เกิดเรื่องนั้น ก่อน WHEN บอกเวลาที่เกิดเหตุการณ์ ก่อน WHY บอกสาเหตุกอน เช่น เพราะ ่ ว่า,เนื่องจาก HOW “ ด้วยการใช้… .” บอกวิธี
  • 23. หลักการเขียนข่าว ยนข่าวนั้นต้องมีหลักการเขียน ส่วนประกอบของข่าวท 1. เขียนหัวข่าว ( Headline ) 2. ความนำา ( Lea 3. ส่วนเชื่อม ( Neck ) 4. เนื้อข่าว ( Bod
  • 25. 5รร.ระดับอำาเภอถอยไม่ สอบ100% ดร.สมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธิการคณะกรรมการการ ศึกษาขันพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยว่า ตามที่สำานักงาน ้ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ขอให้ โรงเรียนยอดนิยมในสังกัด สพฐ. ที่ไม่ใช่โรงเรียนประจำา จังหวัดแต่อาจจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีอยู่เพียง แห่งเดียวในอำาเภอ ซึงเสนอขอใช้วิธีการสอบคัดเลือก ่ 100% ในการรับนักเรียนปีการศึกษา 2551 จำานวน 34 โรงเรียนกลับไปทบทวนข้อเสนอ เพื่อไม่ให้เด็กที่อยู่ใน พื้นที่ได้รับผลกระทบนั้น ขณะนี้โรงเรียนทั้ง 34 แห่งได้ ตอบกลับมาแล้ว โดยในจำานวนนี้มี 5 โรงเรียนที่ขอ เปลี่ยนใจไม่สอบคัดเลือก 100% ส่วนที่เหลืออีก 29
  • 26. ร.ร.หนองแซงฯสนอง"ศธ." เปิด สอนอาชีพระดับปวช. นายธวัชชัย พิกุลแก้ว ผูอำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ้ (สพท.) สระบุรี เขต 1 เปิดเผยว่า จากที่นายวิจิตร ศรีสอ้าน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความเห็นชอบการเปิดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยให้ดำาเนิน การในลักษณะมีวิทยาลัยอาชีวศึกษาเป็นพี่เลียง ทางโรงเรียน ้ หนองแซงวิทยา อ.หนองแซง สังกัด สพท.สระบุรี เขต 1 จึงได้ขอ อนุญาตเปิดสอนระดับ ปวช.ตังแต่ปีการศึกษา 2551 มีสาขาวิชา ้ พณิชยกรรม และพณิชยการ โดยมีวิทยาลัยอาชีวศึกษาสระบุรีเป็นพี่ เลี้ยง ซึ่งได้รับการอนุญาตจากคณะกรรมการเขตพื้นทีการศึกษา ่ สระบุรี เขต 1 แล้ว
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. 2. ความนำา ( Lead ) ความนำา เป็นส่วนที่บอกข้อเท็จจริง ที่สำาคัญแก่ผู้อ่านคล้ายเป็นข้อความ ที่ย่อเนื้อข่าวไว้ทั้งหมด ความนำาแบบ 5W’S & H หรือ WHO, WHAT, WHERE, WHEN, WHY,และ HOW
  • 31. “หมัก”ลูกไก่ในกำามือ “แม้ว” 3  จ ปัจ เขี่ย ก เขี่ย “สมัคร” ตกเก้ ปั3 จัยจัยหลัตกเก้าอีนายกฯ าอี้และ ้ ต้องยุตบทบาทนายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ชี้ ิ สิ่งสำาคัญสุดคือ ถูก “แม้ว”เขี่ยเพราะไม่ สามารถสานภารกิจตามเงื่อนไขและข้อ ตกลง ได้สำาเร็จ ขณะทีนักวิชาการ ชี้ นา ่ ยกฯคนใหม่ รับศึกด้านเดียว ส่วนปัญหา เศรษฐกิจเป็นหน้าที่มออาชีพจัดการ ด้านกู ื รูโพลล์ แนะรัฐบาลใหม่ตองเร่งสร้างผล ้ งานเอาใจปชช.ลดแรงต้านแผนกรุยทาง ทักษิณกลับบ้าน...
  • 32.
  • 33. งบ 858 ล้านบาท แก้เด็กอ่านไม่ออกเขียน นับจากองค์การเพือความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ่ การพัฒนา (OECD) รายงานว่า นักเรียนไทย อายุ 15 ปี ร้อยละ 37 มีความสามารถในการอ่าน ตำ่ามาก ซึงย่อมส่งผลให้การเรียนวิชาอื่นๆ อ่อน ่ ด้อยตามไปด้วย สอดคล้องกับรายงานระดับชาติ (O-NET) ของนักเรียนตำ่ากว่า ร้อยละ 50 โดย เฉพาะอย่างยิ่งการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียน ภาษาไทยของนักเรียนทุกระดับ ตั้งแต่ปี 39 ถึง ปัจจุบัน นอกจากนี้ในปีการศึกษา 49 สพฐ. สำารวจนักเรียน ป.2 ทั่วประเทศพบว่า นักเรียน 637,004 คน มีปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
  • 34. กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวว่า เพื่อแก้ปัญหา การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนให้หมดไป ทาง สพฐ.ได้จัดทำาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการเรียน การสอน (ปี 52-55) โดยใช้งบประมาณ 858,880,000 บาท ทั้งนี้ ตังเป้าไว้ว่าภายในปี 55 นี้ ้ นักเรียนที่จบช่วงชันที่ 1 (ป.1-ป.3) ทุกคนอ่านออก ้ เขียนได้ ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-ป.6) ทุกคนอ่านคล่องเขียน คล่อง และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยสูงขึ้น มากกว่า ร้อยละ 55 ส่วนนักเรียนที่ใช้ภาษาถิ่นในชีวต ิ ประจำาวัน ในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่พิเศษ พัฒนาความ สามารถการใช้ภาษาไทยเต็มตามศักยภาพ ใช้ภาษา สือสาร ขณะเดียวกัน นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการ ่ เรียนรู้ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและเรียนร่วมกับ ผู้อื่นได้ ส่วนนักเรียนที่มีความสามารถดีเด่นด้านภาษา
  • 35. 3. ส่วนเชื่อม ( Neck ) ส่วนเชื่อม ( NECK) จะเป็นการเขียนขยายเนื้อหาจาก ความนำา เป็นส่วนขยายความนำากับเนื้อ ข่าว มีขอเท็จจริงรองจากความนำาเพื่อให้ ้ รายละเอียดของข่าวชัดเจนขึ้น มักเขียน ไว้ตอนท้ายของความนำาเพื่อให้เชื่อมต่อ กับเนื้อข่าวนั่นเอง
  • 36. กรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กล่าวว่า เพื่อแก้ปัญหา ้ การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนให้หมดไป ทาง สพฐ.ได้จัดทำาแผนยุทธศาสตร์พฒนาคุณภาพการเรียน ั การสอน (ปี 52-55) โดยใช้งบประมาณ 858,880,000 บาท ทั้งนี้ ตังเป้าไว้ว่าภายในปี 55 ้ นี้ นักเรียนที่จบช่วงชันที่ 1 (ป.1-ป.3) ทุกคนอ่านออก ้ เขียนได้ ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-ป.6) ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาไทยสูงขึ้น มากกว่า ร้อยละ 55 ส่วนนักเรียนที่ใช้ภาษาถิ่นในชีวิต ประจำาวัน ในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่พิเศษ พัฒนา ความสามารถการใช้ภาษาไทยเต็มตามศักยภาพ ใช้ ภาษาสือสาร ขณะเดียวกัน นักเรียนที่มีความบกพร่อง ่ ทางการเรียนรู้ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและ เรียนร่วมกับผู้อื่นได้ ส่วนนักเรียนที่มีความสามารถดี
  • 37. ไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ดังนั้น สพฐ.จึง มีแผนแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน ภาษาไทยของนักเรียนเป็นรายบุคคล นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาครูให้สามารถฝึก ทักษะการใช้ภาษาไทย เช่น การอ่าน การเขียน และทักษะอื่นๆ ของนักเรียน ให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงส่งเสริม นักเรียนให้มีทักษะกระบวนการคิดโอย ผ่านทักษะการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้นักเรียนสามารถ
  • 38. “ก่อนอื่น สพฐ.จะจัดอบรมครูผู้สอนก่อน เพื่อให้มีทักษะ ผลิตสื่อสมัยใหม่ เพื่อให้ ครูสามารถนำาความรู้จากการอบรม เพื่อ นำามาใช้ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เด็ก ขณะเดียวกันครูทุกคนจะต้องผลิตสื่อขึ้น เองมาใช้การสอนด้วย นอกจากนี้ให้ช่วย เหลือเด็กอ่อนหรือนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ โดยครูสอนซ่อมเสริม เพื่อให้เด็กคนนั้น สามารถอ่านออกเขียนได้จริง”
  • 39. เนื้อข่าว (Body) 4. เนื้อข่าว ( Body ) เนื้อข่าว ได้แก่ ตัวเรื่องราวหรือ เหตุการณ์ที่ผู้รายงานข่าวต้องอธิบายข้อ เท็จจริง โดยขยายจากความนำาข่าวโดย ให้รายละเอียดชัดเจนมากขึ้นนั่นเอง การเขียนเนื้อข่าว มี 2 แนวคือ 1. เขียนขยายความนำาที่มี ประเด็นเดียว 2. เขียนขยายความนำาที่มีหลาย
  • 40. สรรพนาม นำาหน้า ชื่อ ตำาแหน่ง เปิดเผยว่า กล่าวว่า ให้สัมภาษณ์ว่า ชี้แจงว่า
  • 41. ทคนิคการถ่ายภาพ ความรู้ - กฎสามส่วน (Rule of Third) การจัดวางตำาแหน่งหลักของภาพถ่าย เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ สามารถทำาให้เกิดผลทางด้านแนวความคิด และความรู้สึกได้ การวางตำาแหน่งที่เหมาะสมของจุดสนใจในภาพ เป็นอีกสิ่งหนึ่ง ที่สำาคัญ และที่นยมกันโดยทั่วไปคือ ?กฎสามส่วน? ิ
  • 42. กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่ แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่ง ภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้ง และแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้ง สามเส่น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึงจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตำาแหน่งที่ ่ เหมาะสมสำาหรับการจัดวางวัตถุที่ ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก ส่วนราย
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.