SlideShare a Scribd company logo
การสั มภาษณ์ แหล่งข่ าว
จัดทาโดย
      นายปัญญาลักษณ์ ศรีบุรินทร์
      53011214095 ปี 2 ระบบปกติ


คณะวิทยาการสารสนเทศ สาขานิเทศศาสตร์
เอกวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การสั มภาษณ์ แหล่ งข่ าว
          การสั มภาษณ์ คือ การสนทนาระหว่ างบุคคล 2 ฝ่ าย ฝ่ ายหนึ่งเป็ น
ฝ่ ายถาม(ผู้สื่อข่ าว) ฝ่ ายหนึ่งเป็ นฝ่ ายตอบ(แหล่ งข่ าว)
          แหล่ งข่ าว คือ ที่มาของข้ อมูล โดยทั่วไปมักจะนึกถึง แหล่ งข่ าวตัว
บุคคล ผู้มีความรู้หรือความเชี่ ยวชาญในประเด็นที่นักข่ าวต้ องการ หรือ ผู้มี
อานาจหน้ าที่เกี่ยวข้ องดูแลในประเด็นนั้น ๆ หรือ บุคคลอื่น ๆ ที่มีส่วนได้
ส่ วนเสี ยกับเหตุการณ์ หรือเรื่องราวที่เป็ นข่ าว แต่ ในความเป็ นจริง นักข่ าวมัก
ได้ เบาะแสข้ อมูลจากหลากหลายแหล่ งข่ าว ทั้งแหล่ งข่ าวตัวบุคคล แหล่ งข่ าว
ประเภทเอกสาร และอื่น ๆ ที่สาคัญพึงตระหนัก
การสั มภาษณ์ แหล่ งข่ าว
แหล่งข่ าวมี 2 ลักษณะใหญ่ คือ
     1. แหล่งข่ าวเปิ ด ผู้ให้ ข้อมูล หรือตัวข้ อมูลที่พร้ อมเปิ ดเผยต่ อ
สาธารณะ เช่ น ข้ อมูลจากการสัมมนา อภิปราย การประชุม การ
แถลงข่ าว ผู้ให้ สัมภาษณ์ที่พร้ อมเปิ ดเผยตัว
     2. แหล่งข่ าวปิ ด กรณีที่ข้อมูลไม่ พร้ อมเปิ ดเผยที่มา หนังสือ
ปกปิ ดต่ าง ๆ แหล่งข่ าวที่ไม่ พร้ อมเปิ ดเผยตัว ชื่อ
ที่อยู่ อาชีพ เป็ นต้ น
การสร้ างความสั มพันธ์ และใช้ ประโยชน์ จากแหล่ งข่ าว
      1. ศึกษาข้ อมูลทีเ่ กียวข้ องก่ อนไปสั มภาษณ์
                            ่
      2. มีความสุ ภาพและรู้จักกาลเทศะ
      3. มีมนุษยสั มพันธ์ และติดต่ อกับแหล่ งข่ าวเสมอ
      4. รู้จักปกปองแหล่ งข่ าว
                    ้
      5. ทาความเข้ าใจกฎระเบียบและมาตรฐานต่ าง ๆ
ในการปฏิบัตงานิ
      6. รู้จักสร้ างแหล่ งข่ าวหลาย ๆ แห่ ง
      7. ไม่ ควรให้ คาสั ญญาใด ๆ ทีไม่ แน่ ใจ หรือไม่ สามารถทาได้ จริง
                                       ่
ความสาคัญของการสั มภาษณ์
 1.ช่ วยให้ การรายงานข่ าวมีชีวิตชี วา
 2.ช่ วยสร้ างความเชื่ อถือของข่ าวนั้น
 3.สร้ างความบันเทิงแก่ ผ้ ูอ่าน
ชนิดของการสั มภาษณ์ แบ่ งเป็ น 3 ชนิด
            1.การสั มภาษณ์ ข่าวเหตุการณ์ เป็ นการสั มภาษณ์ เกี่ยวกับ
รายละเอียดของเหตุการณ์ ที่เกิดขึน เพื่อนามารายงานให้ เร็วที่สุด
                                      ้
            2.การสั มภาษณ์ อย่ างไม่ เป็ นทางการ เป็ นลักษณะของการสั มภาษณ์
ที่ไม่ ได้ นัดหมายล่ วงหน้ า และอาจจะไม่ ได้ พบหน้ ากัน หรือการสั มภาษณ์
ทางโทรศัพท์ หรือการพบปะกันและมีการพูดคุยกันไปเรื่อยๆ ซึ่งผู้สื่อข่ าว
มักจะมีความคั้นเคยกับแหล่ งข่ าว
            3.การสั มภาษณ์ อย่ างเป็ นทางการ เป็ นการสั มภาษณ์ ที่มีการนัด
หมายล่ วงหน้ า ผู้สัมภาษณ์ ต้องไปสั มภาษณ์ ด้วยตนเอง เรื่องที่สัมภาษณ์ มัก
มีความสาคัญและเป็ นที่สนใจพอสมควร
ประเภทของการสั มภาษณ์
           1.สั มภาษณ์ เพื่อหาข้ อเท็จจริง ในสั งคมที่มีปัญหาต่ างๆ มีผลให้ เกิด
อุบัติการณ์ มากมาย ผู้สื่อข่ าวจึงต้ องสอบถามจากผู้เห็นเหตุการณ์ หรือมี
หน้ าที่รับผิดชอบต่ อการแก้ ปัญหาเหล่ านั้นเพื่อนาข้ อเท็จจริงมาเสนอให้
ผู้อ่านได้ พิจารณา
ประเภทของการสั มภาษณ์
        2.การสั มภาษณ์ เพื่อหาความคิดเห็น ใช้ ในกรณีที่เกิดปัญหา
สาธารณะที่ประชาชนต้ องตัดสิ นใจแสดงประชามติต่อปัญหานั้น
หนังสื อพิมพ์ จาเป็ นต้ องตัดสิ นใจแสดงประชามติต่อปัญหานั้น
หนังสื อพิมพ์ จึงจาเป็ นต้ องตัดสิ นใจแสดงประชามติต่อปัญหานั้น โดยการ
สอบถามความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้ องกับปัญหานั้นๆ รวมทั้งผู้ที่มีความ
คิดเห็นในลักษณะสนับสนุนและคัดค้ านนามาเสนอต่ อผู้อ่าน
ประเภทของการสั มภาษณ์
         3.การสัมภาษณ์เพือเผยแพร่ บุคลิกภาพ เป็ นการสัมภาษณ์
                           ่
บุคคลทั้งที่เคยเป็ นข่ าวมาแล้ว และบุคคลที่ยงไม่ เป็ นที่รู้จักมาก่อน
                                            ั
โดยผู้สื่อข่ าวคาดว่าบุคคลนั้นจะเป็ นที่สนใจของผู้อ่าน และผู้อ่าน
สามารถจะนาทัศนะของบุคคลนั้นๆมาปรับใช้ กบชีวตความเป็ นอยู่
                                               ั ิ
ของตนได้
เทคนิคการสั มภาษณ์ แหล่ งข่ าว
การเตรียมตัวเพือการสัมภาษณ์
                ่
        1. ศึกษาภูมิหลังแหล่งข่ าว ประวัติชีวตของแหล่งข่ าว เพือ
                                             ิ                 ่
จะทาให้ ได้ข้อมูลที่ลกขึน
                     ึ ้
        2. ควรเตรียมตั้งคาถามไว้ 1 ชุดเพือเป็ นกรอบ หลักการ
                                         ่
สัมภาษณ์ให้ ประสบความสาเร็จ คือต้ องรู้ว่าจะครอบคลุมหัวข้ อ
อะไรบ้ าง และเตรียมคาถามให้ ครอบคลุมหัวข้ อเหล่านั้นหรือ
มากกว่านั้น
การเตรียมตัวเพื่อการสั มภาษณ์

        ยิงทราบเรื่องที่กาลังจะเขียนมากเท่ าใด ยิงทาให้ แหล่งข่ าว
          ่                                      ่
คุยกับเราได้ง่ายขึน เพราะเขาจะรู้สึกว่าคุยกับเราแล้วไม่ เสียเวลา
                  ้
และเราจะสามารถตั้งคาถามได้ตรงประเด็นมากขึน         ้
        3. ตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ เช่ น เทป
แบตเตอร์ รี่สารอง เครื่องบันทึกเสียง
การเตรียมตัวเพื่อการสั มภาษณ์

      4. ควรตรงต่ อเวลาหรือไปก่อน
      มารยาทอันดีบ่งบอกความเป็ นมืออาชีพ สร้ างความ
ประทับใจให้ แหล่งข่ าว เป็ นการให้ เกียรติแหล่งข่ าว
การดาเนินการสั มภาษณ์
           1. แจ้ งชื่ อ นามสกุล หน่ วยงานของเรา ไม่ ควรอ้ างถ้ อยคาของ
แหล่ งข่ าวที่ไม่ ร้ ูตวว่ าคุยอยู่กับนักข่ าว
                       ั
           2. ควรเริ่มต้ นด้ วยคาถามพืนๆ     ้
           3. ผู้สื่อข่ าวควรตั้งคาถามล่ วงหน้ าและควรตั้งใจฟัง
           4. ไม่ ควรรีบลาผู้ให้ สัมภาษณ์ จนกว่ าจะได้ ข้อมูลพืนฐาน และ
                                                                   ้
ข่ าวสารกระจ่ างชั ด
           5. ผู้สื่อข่ าวอาจจะถามเรื่องที่ทาให้ แหล่ งข่ าวรู้สึกกระอักกระอ่ วนใจ
แต่ ก็เพื่อข้ อมูลที่จะได้ รับ
           6. ระหว่ างการสั มภาษณ์ ไม่ ควรก้ มหน้ าก้ มตาจดบันทึกเพียงอย่ าง
เดียว เพราะเราต้ องสั งเกตแหล่ งข่ าวว่ าแหล่ งข่ าวพูดตรงประเด็นหรือไม่
การดาเนินการสั มภาษณ์

        ในกรณีที่แหล่งข่ าวไม่ มีความคิดเห็นหรือไม่ อยากตอบ
คาถาม ให้ อธิบายว่าหากไม่ ให้ ความเห็น เราก็จะระบุเช่ นนั้นในเนือ
                                                                ้
ข่ าว (แหล่งข่ าวจะเกรงว่าทาให้ ภาพลักษณ์ตนไม่ ดี คนอ่านจะคิดว่า
เขาปกปิ ดอะไรอยู่)
        บอกแหล่งข่ าวว่าข่ าวจะเที่ยงตรงน้ อยลงและไม่ เป็ นกลาง
หากขาดความเห็นของเขา แต่ ที่สุดแล้วก็ต้องเคารพความเห็น
แหล่งข่ าว
การจบการสั มภาษณ์
        ขอบคุณแหล่งข่ าวที่สละเวลาให้
        อย่าลืมถามคาถาม3ข้ อนี้
               1.มีเรื่องสาคัญๆที่ลมถามไปบ้ างหรือเปล่า
                                   ื
               2.จะแนะนาให้ ไปคุยกับคนอืนที่ทราบเรื่องหรือไม่
                                         ่
               3.ขอโทรศัพท์ กลับไปหาได้ไหม หากมีคาถาม
เพิมเติม
   ่
                  ให้ หมายเลขโทรศัพท์ ไว้ ท้ ังที่บ้านและที่ทางาน และบอก
   แหล่ งข่ าวให้ ตดต่ อคุณได้ เสมอหากมีข้อมูลเพิ่มเติม
                   ิ
ตัวอย่ างวีดีโอรายการสั มภาษณ์
               ตีสิบ เปิ ดใจ เสก โลโซ




http://www.youtube.com/watch?v=xsj2ZWTjjj0&feature=related

More Related Content

What's hot

สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายSAM RANGSAM
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดJettanut Poonlaptavee
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
ใบงานที่ 2 สุข
ใบงานที่  2 สุขใบงานที่  2 สุข
ใบงานที่ 2 สุขtassanee chaicharoen
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันพัน พัน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน7roommate
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 

What's hot (20)

สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ใบงานที่ 2 สุข
ใบงานที่  2 สุขใบงานที่  2 สุข
ใบงานที่ 2 สุข
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 

Similar to การสัมภาษณ์แหล่งข่าว

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous peopleIct Krutao
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips 6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips maruay songtanin
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333krujee
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
Thai Peoples Working Towers The Eyes Of Foreigners
Thai Peoples Working Towers The Eyes Of ForeignersThai Peoples Working Towers The Eyes Of Foreigners
Thai Peoples Working Towers The Eyes Of Foreignersngumngim
 
พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)
พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)
พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)Kruthai Kidsdee
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานPraphaphun Kaewmuan
 
การฟัง 4
การฟัง 4การฟัง 4
การฟัง 4Yota Bhikkhu
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2Manas Panjai
 

Similar to การสัมภาษณ์แหล่งข่าว (20)

Radio Interview
Radio InterviewRadio Interview
Radio Interview
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips 6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
 
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
 
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
Thai Peoples Working Towers The Eyes Of Foreigners
Thai Peoples Working Towers The Eyes Of ForeignersThai Peoples Working Towers The Eyes Of Foreigners
Thai Peoples Working Towers The Eyes Of Foreigners
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)
พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)
พระราชดำรัส(ถอดความรู้สึกและการปรับเปลี่ยนแนวคิดของตนเอง25575-5)
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
 
การฟัง 4
การฟัง 4การฟัง 4
การฟัง 4
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.3 ชุด 2
 

การสัมภาษณ์แหล่งข่าว

  • 2. จัดทาโดย นายปัญญาลักษณ์ ศรีบุรินทร์ 53011214095 ปี 2 ระบบปกติ คณะวิทยาการสารสนเทศ สาขานิเทศศาสตร์ เอกวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 3. การสั มภาษณ์ แหล่ งข่ าว การสั มภาษณ์ คือ การสนทนาระหว่ างบุคคล 2 ฝ่ าย ฝ่ ายหนึ่งเป็ น ฝ่ ายถาม(ผู้สื่อข่ าว) ฝ่ ายหนึ่งเป็ นฝ่ ายตอบ(แหล่ งข่ าว) แหล่ งข่ าว คือ ที่มาของข้ อมูล โดยทั่วไปมักจะนึกถึง แหล่ งข่ าวตัว บุคคล ผู้มีความรู้หรือความเชี่ ยวชาญในประเด็นที่นักข่ าวต้ องการ หรือ ผู้มี อานาจหน้ าที่เกี่ยวข้ องดูแลในประเด็นนั้น ๆ หรือ บุคคลอื่น ๆ ที่มีส่วนได้ ส่ วนเสี ยกับเหตุการณ์ หรือเรื่องราวที่เป็ นข่ าว แต่ ในความเป็ นจริง นักข่ าวมัก ได้ เบาะแสข้ อมูลจากหลากหลายแหล่ งข่ าว ทั้งแหล่ งข่ าวตัวบุคคล แหล่ งข่ าว ประเภทเอกสาร และอื่น ๆ ที่สาคัญพึงตระหนัก
  • 4. การสั มภาษณ์ แหล่ งข่ าว แหล่งข่ าวมี 2 ลักษณะใหญ่ คือ 1. แหล่งข่ าวเปิ ด ผู้ให้ ข้อมูล หรือตัวข้ อมูลที่พร้ อมเปิ ดเผยต่ อ สาธารณะ เช่ น ข้ อมูลจากการสัมมนา อภิปราย การประชุม การ แถลงข่ าว ผู้ให้ สัมภาษณ์ที่พร้ อมเปิ ดเผยตัว 2. แหล่งข่ าวปิ ด กรณีที่ข้อมูลไม่ พร้ อมเปิ ดเผยที่มา หนังสือ ปกปิ ดต่ าง ๆ แหล่งข่ าวที่ไม่ พร้ อมเปิ ดเผยตัว ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ เป็ นต้ น
  • 5. การสร้ างความสั มพันธ์ และใช้ ประโยชน์ จากแหล่ งข่ าว 1. ศึกษาข้ อมูลทีเ่ กียวข้ องก่ อนไปสั มภาษณ์ ่ 2. มีความสุ ภาพและรู้จักกาลเทศะ 3. มีมนุษยสั มพันธ์ และติดต่ อกับแหล่ งข่ าวเสมอ 4. รู้จักปกปองแหล่ งข่ าว ้ 5. ทาความเข้ าใจกฎระเบียบและมาตรฐานต่ าง ๆ ในการปฏิบัตงานิ 6. รู้จักสร้ างแหล่ งข่ าวหลาย ๆ แห่ ง 7. ไม่ ควรให้ คาสั ญญาใด ๆ ทีไม่ แน่ ใจ หรือไม่ สามารถทาได้ จริง ่
  • 6. ความสาคัญของการสั มภาษณ์ 1.ช่ วยให้ การรายงานข่ าวมีชีวิตชี วา 2.ช่ วยสร้ างความเชื่ อถือของข่ าวนั้น 3.สร้ างความบันเทิงแก่ ผ้ ูอ่าน
  • 7. ชนิดของการสั มภาษณ์ แบ่ งเป็ น 3 ชนิด 1.การสั มภาษณ์ ข่าวเหตุการณ์ เป็ นการสั มภาษณ์ เกี่ยวกับ รายละเอียดของเหตุการณ์ ที่เกิดขึน เพื่อนามารายงานให้ เร็วที่สุด ้ 2.การสั มภาษณ์ อย่ างไม่ เป็ นทางการ เป็ นลักษณะของการสั มภาษณ์ ที่ไม่ ได้ นัดหมายล่ วงหน้ า และอาจจะไม่ ได้ พบหน้ ากัน หรือการสั มภาษณ์ ทางโทรศัพท์ หรือการพบปะกันและมีการพูดคุยกันไปเรื่อยๆ ซึ่งผู้สื่อข่ าว มักจะมีความคั้นเคยกับแหล่ งข่ าว 3.การสั มภาษณ์ อย่ างเป็ นทางการ เป็ นการสั มภาษณ์ ที่มีการนัด หมายล่ วงหน้ า ผู้สัมภาษณ์ ต้องไปสั มภาษณ์ ด้วยตนเอง เรื่องที่สัมภาษณ์ มัก มีความสาคัญและเป็ นที่สนใจพอสมควร
  • 8. ประเภทของการสั มภาษณ์ 1.สั มภาษณ์ เพื่อหาข้ อเท็จจริง ในสั งคมที่มีปัญหาต่ างๆ มีผลให้ เกิด อุบัติการณ์ มากมาย ผู้สื่อข่ าวจึงต้ องสอบถามจากผู้เห็นเหตุการณ์ หรือมี หน้ าที่รับผิดชอบต่ อการแก้ ปัญหาเหล่ านั้นเพื่อนาข้ อเท็จจริงมาเสนอให้ ผู้อ่านได้ พิจารณา
  • 9. ประเภทของการสั มภาษณ์ 2.การสั มภาษณ์ เพื่อหาความคิดเห็น ใช้ ในกรณีที่เกิดปัญหา สาธารณะที่ประชาชนต้ องตัดสิ นใจแสดงประชามติต่อปัญหานั้น หนังสื อพิมพ์ จาเป็ นต้ องตัดสิ นใจแสดงประชามติต่อปัญหานั้น หนังสื อพิมพ์ จึงจาเป็ นต้ องตัดสิ นใจแสดงประชามติต่อปัญหานั้น โดยการ สอบถามความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้ องกับปัญหานั้นๆ รวมทั้งผู้ที่มีความ คิดเห็นในลักษณะสนับสนุนและคัดค้ านนามาเสนอต่ อผู้อ่าน
  • 10. ประเภทของการสั มภาษณ์ 3.การสัมภาษณ์เพือเผยแพร่ บุคลิกภาพ เป็ นการสัมภาษณ์ ่ บุคคลทั้งที่เคยเป็ นข่ าวมาแล้ว และบุคคลที่ยงไม่ เป็ นที่รู้จักมาก่อน ั โดยผู้สื่อข่ าวคาดว่าบุคคลนั้นจะเป็ นที่สนใจของผู้อ่าน และผู้อ่าน สามารถจะนาทัศนะของบุคคลนั้นๆมาปรับใช้ กบชีวตความเป็ นอยู่ ั ิ ของตนได้
  • 11. เทคนิคการสั มภาษณ์ แหล่ งข่ าว การเตรียมตัวเพือการสัมภาษณ์ ่ 1. ศึกษาภูมิหลังแหล่งข่ าว ประวัติชีวตของแหล่งข่ าว เพือ ิ ่ จะทาให้ ได้ข้อมูลที่ลกขึน ึ ้ 2. ควรเตรียมตั้งคาถามไว้ 1 ชุดเพือเป็ นกรอบ หลักการ ่ สัมภาษณ์ให้ ประสบความสาเร็จ คือต้ องรู้ว่าจะครอบคลุมหัวข้ อ อะไรบ้ าง และเตรียมคาถามให้ ครอบคลุมหัวข้ อเหล่านั้นหรือ มากกว่านั้น
  • 12. การเตรียมตัวเพื่อการสั มภาษณ์ ยิงทราบเรื่องที่กาลังจะเขียนมากเท่ าใด ยิงทาให้ แหล่งข่ าว ่ ่ คุยกับเราได้ง่ายขึน เพราะเขาจะรู้สึกว่าคุยกับเราแล้วไม่ เสียเวลา ้ และเราจะสามารถตั้งคาถามได้ตรงประเด็นมากขึน ้ 3. ตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ เช่ น เทป แบตเตอร์ รี่สารอง เครื่องบันทึกเสียง
  • 13. การเตรียมตัวเพื่อการสั มภาษณ์ 4. ควรตรงต่ อเวลาหรือไปก่อน มารยาทอันดีบ่งบอกความเป็ นมืออาชีพ สร้ างความ ประทับใจให้ แหล่งข่ าว เป็ นการให้ เกียรติแหล่งข่ าว
  • 14. การดาเนินการสั มภาษณ์ 1. แจ้ งชื่ อ นามสกุล หน่ วยงานของเรา ไม่ ควรอ้ างถ้ อยคาของ แหล่ งข่ าวที่ไม่ ร้ ูตวว่ าคุยอยู่กับนักข่ าว ั 2. ควรเริ่มต้ นด้ วยคาถามพืนๆ ้ 3. ผู้สื่อข่ าวควรตั้งคาถามล่ วงหน้ าและควรตั้งใจฟัง 4. ไม่ ควรรีบลาผู้ให้ สัมภาษณ์ จนกว่ าจะได้ ข้อมูลพืนฐาน และ ้ ข่ าวสารกระจ่ างชั ด 5. ผู้สื่อข่ าวอาจจะถามเรื่องที่ทาให้ แหล่ งข่ าวรู้สึกกระอักกระอ่ วนใจ แต่ ก็เพื่อข้ อมูลที่จะได้ รับ 6. ระหว่ างการสั มภาษณ์ ไม่ ควรก้ มหน้ าก้ มตาจดบันทึกเพียงอย่ าง เดียว เพราะเราต้ องสั งเกตแหล่ งข่ าวว่ าแหล่ งข่ าวพูดตรงประเด็นหรือไม่
  • 15. การดาเนินการสั มภาษณ์ ในกรณีที่แหล่งข่ าวไม่ มีความคิดเห็นหรือไม่ อยากตอบ คาถาม ให้ อธิบายว่าหากไม่ ให้ ความเห็น เราก็จะระบุเช่ นนั้นในเนือ ้ ข่ าว (แหล่งข่ าวจะเกรงว่าทาให้ ภาพลักษณ์ตนไม่ ดี คนอ่านจะคิดว่า เขาปกปิ ดอะไรอยู่) บอกแหล่งข่ าวว่าข่ าวจะเที่ยงตรงน้ อยลงและไม่ เป็ นกลาง หากขาดความเห็นของเขา แต่ ที่สุดแล้วก็ต้องเคารพความเห็น แหล่งข่ าว
  • 16. การจบการสั มภาษณ์ ขอบคุณแหล่งข่ าวที่สละเวลาให้ อย่าลืมถามคาถาม3ข้ อนี้ 1.มีเรื่องสาคัญๆที่ลมถามไปบ้ างหรือเปล่า ื 2.จะแนะนาให้ ไปคุยกับคนอืนที่ทราบเรื่องหรือไม่ ่ 3.ขอโทรศัพท์ กลับไปหาได้ไหม หากมีคาถาม เพิมเติม ่ ให้ หมายเลขโทรศัพท์ ไว้ ท้ ังที่บ้านและที่ทางาน และบอก แหล่ งข่ าวให้ ตดต่ อคุณได้ เสมอหากมีข้อมูลเพิ่มเติม ิ
  • 17. ตัวอย่ างวีดีโอรายการสั มภาษณ์ ตีสิบ เปิ ดใจ เสก โลโซ http://www.youtube.com/watch?v=xsj2ZWTjjj0&feature=related