SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
สรุปการฝึกอบรม
                       เรื่อง “ทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ”

หัวข้อการสัมมนา
        เรื่อง “ทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ”

จัดโดย
           สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิทยากร
           คุณบุญญฤทธิ์ สมบัติหลาย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ระยะเวลาดาเนินการ
       วันศุกร์ที่ 14 มกราคม 2554 เวลา 08.30- 16.00 น.

สถานที่ดาเนินการ
        ณ ห้องสัมมนา 1 ชั้น 9 อาคารเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วัตถุประสงค์การอบรม
         5.1 เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อความให้ได้ดีขึ้นตลอดเวลา
         5.2 เพื่ อให้ เกิ ดความรู้ ค วามเข้ า ใจและเพื่ อกระบวนการอื่ น ๆ ทางสังคมโดยเฉพาะการสื่อ ความเพื่ อ
              ประสิทธิภาพของการทางาน
         5.3 เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในการสื่อสารและมักจะเกิดขึ้นกับผู้ส่งสารและผู้รับสารเพราะเข้าใจไม่ตรงกัน
              จนอาจก่อให้เกิดปัญหาที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของงานหรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

ช่วงเช้า
               บรรยายทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
               บรรยายเพิ่มทักษะการสื่อสารระดับบุคคล และระดับกลุ่ม
ช่วงบ่าย
               บรรยายแนวทางการสื่อสารและการประสานงานให้เกิดประสิทธิภาพ
               บรรยายการใช้กระบวนการสื่อสารในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์รวดเร็ว ทันเหตุการณ์
สรุปการอบรม
               วิทยากรได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสื่อสารซึ่งอาจทาได้ด้วย วัจนภาษาและอวัจนภาษา คือทั้งภาษา
พูดและภาษาที่ไม่ได้พูดออกมาแต่สื่อความเข้าใจกันได้ด้วยภาษาท่าทาง ภาษาใบ้ หรืออื่น ๆ ตามลักษณะวัฒนธรรม
ประเพณี ค่านิยม ของแต่ละท้องถิ่น สังคม กลุ่มชน ซึ่งถ้ามองผิวเผินก็เหมือนว่าการสื่อสารเป็นเรื่องง่าย ๆ ที่ใคร ๆ ก็
ทาได้อย่างดี แต่จริง ๆ แล้ว ปัญหาในการสื่อสารมักจะเกิดขึ้น เสมอ ก็คือผู้ส่งสารต้องการสื่อกับสิ่งที่ผู้รับสารได้รับ
ไปอาจจะไม่ตรงกันและทั้งสองฝ่ายต่างไม่รู้ว่าปัญหาเกิดขึ้นยิ่งมีการสื่อสารกันมากขึ้นก็ยิ่งเกิดความสับสนซับซ้อน
มากขึ้นตามไปด้วยจนอาจก่อปัญหาที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของงานหรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มชน
หรือองค์กร ต่อไปได้ในที่สุด
องค์ประกอบการสื่อความ
          ข้อมูลข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง เป็นเรื่องเกี่ยวกับอดีตและปัจจุบันที่ไม่เกี่ยวกับอนาคตข้อเท็จจริงเป็นเรื่องที่
พิสูจน์ความจริงได้ แต่อนาคตพิสูจน์ไม่ได้ เช่น “ฝนกาลังตก” เป็นข้อเท็จจริง ส่วน “ฝนกาลังจะตก” เป็นความ
คิดเห็นหรือการคาดเดา ก็เปรียบเสมือนว่า การทางานด้วยการสื่อสาร เราสามารถสื่อสารได้ในเรื่องที่เกี่ยวกับอดีต
และปัจจุบันได้เท่านั้น ซึ่งจะทาให้รู้ว่าเป็นข้อเท็จหรือจริง ส่วนเรื่องอนาคตเป็นแค่ความคิดเห็น หรือการคาดเดา
เท่านั้น
          ข่าวสารที่เป็นความเห็น ความเห็นเป็นเรื่องที่ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลสะท้อนให้เห็นวิถีทางที่คนคนนั้นมอง
โลกในแง่มุมต่าง ๆ กัน เนื่องจากการตีความสิ่งที่เห็นแตกต่างกันไปตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
          เป้าหมาย ความปรารถนา วัตถุประสงค์ ขึ้นอยู่กับแต่ละคนซึ่งต้องเกี่ยวกับอนาคตและต้องอาศัยการตัดสิน
คุณค่าของสิ่งที่ต้องการ
          ความคิ ด เป็ นความนึก คิ ดว่า จะท าอะไรเพื่ อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ความคิดอาจเป็นทางออกหรือทาง
แก้ปัญหาซึ่งเป็นที่รู้จักกัน ทากันมาก่อนในอดีตและใช้ได้ผลหรือแม้แต่การกระทาที่ยังไม่ได้ลองทาดู เนื่องจาก
ความคิดเกี่ยวข้องกับอนาคต จึงไม่มีความเที่ยงตรงหรือแน่นอนว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่
          ความรู้สึก เป็นเรื่องเฉพาะตัวของแต่ละคนและสามารถสื่อสารให้คนอื่นรับรู้ได้ในเชิงให้ข้อมูลข่าวสาร การ
ถ่ายทอดและการรับรู้ความรู้สึกมักจะเป็นอวัจนะภาษามากกว่าวัจนะภาษาหรือเป็นอากัปกริยา การแสดงออก ที่
นอกเหนือจากการพูดและการเขียน
          จากประเด็นที่กล่าวมานี้ชี้ให้เห็นความแตกต่างระหว่างสัจจะ หรือความจริงตามใจตัวกับสัจจะหรือความ
จริงที่เป็นไปตามความเป็นจริง
          ความจริงตามใจตัว อาจจะอธิบายง่าย ๆ คือ ความจริงที่เอาตัวเองไปตัดสินคิดเอาเอง ยึดถือเอาเองว่าเป็น
จริงอย่างนั้นอย่างนี้ ตามค่านิยมและความปรารถนาของตนเอง เอาตัวเองเป็นที่ตั้ง แล้วพิจารณาทุกสิ่งตามใจตัวเอง
เป็นหลัก ส่วนความจริงที่ตรงกันข้ามคือ ความจริงที่เป็นไปตามความเป็นจริงเป็นสิ่งที่พิจารณาจากสิ่งภายนอกและ
สามารถพิสูจน์ความเป็นจริงได้
ตัวอย่าง การที่พนักงานคุยกันขณะทางาน บางคนบอกว่า “เสียเวลา เสียแรงงาน ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อัน
ใด” บางคนบอกว่า “ตรงกันข้าม การคุยกันเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์สร้างความคุ้นเคย คุ้มกับเวลาที่เสียไป
ส่วนเรื่องเสียงานอยู่ที่การควบคุมและการมอบหมายติดตามผลงานต่างหาก”
         ในชีวิตประจาวัน ส่วนใหญ่เราจะใช้การสื่อสารด้วยภาษาพูด ซึ่งดูเหมือนจะง่าย แต่แท้จริงแล้วหลายครั้ง
ต้องยอมรับว่าไม่สามารถสื่อสารด้วยการพูดได้ตามความคิดหรือความต้องการเพราะการพูดเป็นเครื่องสะท้อน
ความคิดความต้องการ ความรู้ความเข้าใจ หรือความคิดเห็นของผู้พูด

การสื่อสารด้วยการพูดประกอบหลัก 4 ประการ คือ
        1. ผู้พูด
        2. เรื่องที่จะพูด (ความคิด, ความต้องการ)
        3. วิธีหรือเทคนิคการพูด
        4. ผู้ฟัง
        หากจะมีคนโต้แย้งว่า ทุกคนก็พูดเป็นไม่เห็นจะยากเลย อยากจะขอยกตัวอย่างถ้อยคาของนักปราชญ์ท่านว่า
ไว้ว่า
                           อันวาจา       ใช่ว่า        เพียงคารม
                 เปรียบมีดทอง            สองคม         นั่นเชียวหนา
                 ถ้าพูดดี                มีความคิด     ก็ฤทธา
                 ถ้าพล่อยพล่อย           วาจา          ก็ฆ่าเอา
                 ต่อให้ลาภ               ยศเงินทอง     กองท่วมฟ้า
                 ใช่เพียงค่า             เงินตรา       จะซื้อเหมา
                 เสน่ห์ลิ้น              พรายพรม       ลมปากเรา
                 ค่อยค่อยเป่า            ก็อาจคว้า     เอามาครอง

      นั่นย่อมแสดงได้ว่า การสื่อความหรือการพูดที่ดีถูกต้องเหมาะสมนั้นอาจจะทาให้ก่อ ประโยชน์อันมหาศาล
ประมาณค่ามิได้ แต่ถ้าพูดเป็นแต่เพียงมีเสียงออกมาจากปาก ก็อาจจะย้อนกลับมาฆ่าหรือทาลายผู้พูดได้

ปัญหาของการสื่อความด้วยการพูด
        อัตราความสาเร็จของการสื่อสารตัวต่อตัวไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยสนทนาการสัมภาษณ์จะอยู่ประมาณ 25
เปอร์เซ็นต์ (หรืออาจสูงขึ้นถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ถ้าปรับปรุงทักษะการสื่อสารด้านนี้ ) ความสาเร็จนี้จะลดลงไปอย่าง
รวดเร็วถ้าการสื่อสารตัวต่อตัวต้องผ่านตัวกลางคือสื่อสารกันผ่านสื่ออื่น ๆ เช่น พูดกันทางโทรศัพท์ เขียนหนังสือถึง
กันแทนที่จะพูดคุยกัน และตัวกลางที่เห็นได้ชัดเจน คือพูดผ่านคนอีกคนหนึ่ง ทานองว่าช่วยไปบอกให้ด้วย
การถ่ายทอดข่าวสารนั้นยิ่งผ่านคนแต่ละคนให้บอกต่อ ๆ กันไปมากเท่าใด จะยิ่งทาให้ข่าวสารบิดเบือนมาก
ขึ้นเท่านั้น นี่คืออิทธิพลของการบอกต่อ หรือที่มาของข่าวลือต่าง ๆ ถ้ายังสงสัยว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ลอง
ถ่ายทอดข่าวสารแล้วให้ส่งต่อกันไปเรื่อย ๆ ในกลุ่มจะพบได้ว่าสารเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อมีการส่งต่อ
         ข้อควรที่ป้องกัน เมื่อใดก็ตามที่มีความจาเป็นจะต้องถ่ายทอดข่าวสารส่งต่อกันไป ให้พยายามเก็บหลักฐาน
เดิมไว้ ไม่ว่าจะเขียน บันทึกเสียง หรือบันทึกทั้งเสียงและภาพ จอห์ น การ์เตต์ แห่งสมาคมอุตสาหกรรมสหรัฐฯ ได้
วางกฎสาหรับการสื่อสารกับกลุ่มชนไว้ว่า
         “เมื่ อใดก็ ตามที่ จ ะส่ง เรื่อ งอะไรไปต้องจดบันทึก ไว้ เสมอ เมื่อจะต้อ งผ่านเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งลงไปถึง 3
ขั้นตอน (มีการบอกต่อ กันไป 3 ช่วง) หรือมากกว่านั้น จะต้องแนบสรุปประเด็นสาคัญของเรื่องไปด้วย”

ปัจจัยเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อความ
          การสื่อความที่ควรจะต้องตระหนักอยู่เสมอและควรต้องหมั่นฝึกฝนพัฒนาทักษะให้ช่าชองเชี่ยวชาญอาจจะ
จาแนกได้ย่อ ๆ คือ ภาษาพูดหรือคาพูด น้าเสียง และอากัปกิริยา
          ค าพู ด ที่ เ ราใช้ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ป ระเภทหนึ่ ง ที่ เ ราพยายามจะน าข่ า วสารหรื อสื่ อ ความหมายไปยั ง ผู้ รั บ
อากัปกิริยา ท่าทาง น้าเสียงก็เช่นกัน
          นักจิตวิทยาชาวอเมริกันชื่อ อัลเบิร์ต เมราเบียน พยายามวัดระดับความสาคัญของช่องทางการสื่อสารทั้ง
สามเรื่องคือ คาพูด น้าเสียง และอากัปกิริยาเมื่อมีการนาข่าวสารผ่านช่องทางเหล่านี้ เขาสรุปว่า “ภาษาไม่ค่อยสาคัญ
นักสร้างผลกระทบได้น้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับน้าเสียงซึ่งสร้างผลกระทบได้เกือบ 40 เปอร์เซ็นต์
และอากัปกิริยาหรือภาษากายสร้างผลกระทบทางการสื่อสารได้กว่า 50 เปอร์เซ็นต์”
          ตัวอย่าง ให้นึกภาพของภรรยาเมื่อพบหน้าสามีแล้วกล่าวว่า “อ้อ คุณพี่กลับมาแล้ว ” หากเธอจะพูดด้วย
ความห่วงใยเธอจะมีน้าเสียงอย่างไร ท่าทางอย่างไร หากพูดด้วยความรู้สึกประชดประชัน หรือเกลียดชังจะมีน้าเสียง
อย่างไร ท่าทางอย่างไร และหากพูดด้วยความรู้สึกอื่น ๆ จะเป็นอย่างไร นั่นแสดงให้เห็นว่า “น้าเสียงและท่าทาง
จาเป็นต้องสอดคล้องกัน”
          ไม่ว่าการสื่อสารด้วยถ้อยคา ภาษา หรือไม่ใช้ถ้อยคาภาษา ต่างก็มีโอกาสผิดพลาด นาความล้มเหลวมาสู่การ
สื่อสารได้ทั้งสิ้น สิ่งที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้เรื่องนี้ได้ก็คือ ตระหนักถึงความสาคัญและการยอมรับพร้อมกับเพิ่ม
ทักษะในการสังเกตพฤติกรรมของผู้ที่เราสื่อสาร
          เรื่องราวของการสื่อสารจะยิ่งสลับซับซ้อนมากขึ้นอีก โดยเฉพาะถ้าทางานกับคนต่างชาติ เช่น การสั่นศีรษะ
ของชาวอินเดียหมายถึง “ตกลง” “ใช่แล้ว” “ถูกแล้ว” ขณะที่ประเทศอื่นหมายถึง “ไม่ใช่” หรือ “ไม่ถูก” หรือการยก
มือขวาชู 2 นิ้ว บางวัฒนธรรมแสดงถึงชัยชนะและความยินดี แต่บางวัฒนธรรมเป็นการแสดงอาการอันหยาบคายก็มี
จึงต้องระวังและศึกษาพอสมควร ก่อนแสดงอวจนพฤติกรรมเหล่านั้น แม้แต่วัฒนธรรมเดียวกัน ตามความเห็นของ
คนที่มองหรือให้ความหมายคาคานี้แคบ ๆ การตีความผิด ความเข้าใจผิด มีโอกาสเกิดขึ้นได้เสมอ
ข้อคิดเตือนใจเกี่ยวกับการพู ดให้สอดคล้องกับอากัปกิริยา ท่าทาง น้าเสียง สายตา หรือพูดให้สอดคล้อง
กับวัจนพฤติกรรมทั้งหลาย จะเป็นการเพิ่มพูดประสิทธิภาพในการสื่อความ

                        จะพูดจาอ่อนหวานสักปานไหน ย่อมทาได้ถ้ารู้จักหลักภาษา
                แต่ถ้าขาดความจริงใจในวาจา        คาพูดนั้นย่อมหาค่ามิได้เลย

และที่ฟังแล้วอาจจะเป็นการสอนแบบแรง ๆ หรือหยิกแบบเจ็บ ๆ ก็มีเช่น

                                ก้านบัวบอกลึกตื้น         ชลธาน
                         มารยาท ส่อสันดาน                 ชาติเชื้อ
                         โฉดฉลาดเพราะคาขาน                ควรทราบ
                         หย่อมหญ้าเหี่ยวแห้งเรื้อ         บอกร้าย แสลงดิน

         ท่านผู้รู้ได้เสนอแนะแนวทางในการสื่อความหรือเจรจา แลกเปลี่ยนผลประโยชน์ในการทางาน ในการ
ปฏิบัติงานในหน้าที่ใด ๆ ก็ตามแต่ ควรจะได้เตรียม กาหนดขั้นตอนการเจรจาสื่อความให้ชัดเจนไว้ก่อนตามขั้นตอน
คือ

การหยั่งเชิง
         เริ่มแรกก็คือ ต้องกล่าวหรืออารัมภบทเพื่อช่วยประสานสายสัมพันธ์ระหว่างสองฝ่ายเรียกร้องความสนใจ
แล้วตามด้วยการเสนอข้ อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์เพิ่มความสนใจมุ่งไปที่ความต้องการและความพอใจของทั้ง
สองฝ่าย ต่อจากนั้นต้องแสดงว่าคู่เจรจาจะได้รับอะไรเป็นการตอบแทน พยายามเปลี่ยนความคิดของแต่ละฝ่าย โดย
ใช้ยุทธวิธีชักจูงต่าง ๆ ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการตกลงให้เรียบร้อย มีความเข้าใจตรงกั น คือพูดคุยในสิ่งที่ไม่ใช่เรื่อง
โดยตรง ต้องสร้างบรรยากาศแห่งความเป็นกันเอง จนกระทั้งรู้สึกสบายใจแล้วค่อยดาเนินการในขั้นต่อไป

การเสนอข้อแลกเปลี่ยน
       ผู้เสนอ จาเป็นจะต้องแจ้งผลประโยชน์ที่เขาจะได้รับโดยตรง และไม่อ้อมค้อมหรือขู่เข็ญ ผู้เจรจาจะต้องมี
ความอดทนเมือผู้ฟังไม่เข้าใจ ขอให้อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม อย่าเร่งรัดต้องใจเย็นค่อย ๆ พูด ต้องมีรูปแบบอันเป็น
               ่
เอกลักษณ์ของตนเอง และมีไหวพริบที่จะเดาให้ผู้ฟังและพยายามให้คู่เจรจาออกความคิดเห็นตอบเพื่อจะได้ใช้
โอกาสนี้รู้ใจเขาต้องการอะไรหรืออยากได้อะไร ต้องพยายามนาการสนทนาที่สร้างความพอใจ มิใช่พูดคนเดียวต้อง
พยายามแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน
การโน้มน้าวชักจูง
       หัวใจของการเจรจาต่อรองก็คือ การชักจูงใจให้สาเร็จวิธีการพูดที่จูงใจก็สาคัญมากที่ต้องรู้จักพูด ใช้วิธีโน้ม
น้าวความสามารถเปลี่ยนทัศนคติของคู่เจรจาได้สาเร็จ การชักจูงที่ดีจะทาให้การเจรจาตกลงเกิดผลสาเร็จในระยะนั้น
และสร้างความประทับใจเกิดความรู้สึกที่อยากจะติดต่อด้วยอีก

การยินยอม
       การยินยอมและตกลง จะต้องเกิดจากความเต็มใจของทั้งสองฝ่าย

         ดังนั้น หัวใจของการสื่อความที่เอามาปรับเปลี่ยนในการทางานในปัจจุบัน คือ
                ต้อ งมี ค วามจริ ง ใจ แสดงออกซึ่ ง ความจริ ง ใจต้อ งเจาะจงและชั ด เจน พู ด และแสดงออกจาก
ความรู้สึกจากใจ เพราะการพูดจะทาให้เกิดความเชื่อถือ ความจริงใจในใจเรามากกว่าที่พูดออกไป
                ความปรารถนาดี ต้องพูดและแสดงออกซึ่งความปรารถนาดี ควรบอกความปรารถดีด้วยคาพูด
และการกระทา บอกให้ใครต่อใครรู้ถึงความปรารถดีที่มีอยู่ชี้แจงให้ชัดเจน
                ความมีน้าใจ ต้องมีน้าใจ รู้จักให้และรับ ปัจจุบัน “คิดแต่จะรับอย่างเดียว” ควรให้การแนะนา การ
ชี้แนะ การให้ข้อมูลที่ควรทราบ เหล่านี้เป็นการแสดงออกซึ่งความมีน้าใจทั้งสิ้น
                ความแจ่ม ใสเบิ ก บาน ต้องตระหนัก อยู่ เสมอว่า บรรยากาศในการสื่อ สารที่ ส ดใสเบิก บานพึ ง
ระมัดระวังอารมณ์และมีสติในการเจรจาสนทนา การมอบหมายงานหรือรับมอบหมายงาน รับฟังคาสั่ง เพราะถ้าเกิด
บรรยากาศไม่ดีแล้ว ทุกอย่างมีโอกาสจะล้มเหลวทั้งสิ้น

More Related Content

What's hot

สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายratchadaphun
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 

What's hot (20)

การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 

Viewers also liked

วิชา การวางแผนพัฒนาชุมชน
วิชา การวางแผนพัฒนาชุมชนวิชา การวางแผนพัฒนาชุมชน
วิชา การวางแผนพัฒนาชุมชนNakalove
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)ประพันธ์ เวารัมย์
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนSakda Hwankaew
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)Taraya Srivilas
 

Viewers also liked (15)

วิชา การวางแผนพัฒนาชุมชน
วิชา การวางแผนพัฒนาชุมชนวิชา การวางแผนพัฒนาชุมชน
วิชา การวางแผนพัฒนาชุมชน
 
หลักสูตรสอบท้องถิ่น
หลักสูตรสอบท้องถิ่นหลักสูตรสอบท้องถิ่น
หลักสูตรสอบท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 

Similar to สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ

ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดpyopyo
 
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptxWords That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptxmaruay songtanin
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5Yota Bhikkhu
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอWichit Chawaha
 
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
9789740335733
97897403357339789740335733
9789740335733CUPress
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บJirawat Fishingclub
 

Similar to สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ (20)

Chapter9
Chapter9Chapter9
Chapter9
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptxWords That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
News
NewsNews
News
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
9789740335733
97897403357339789740335733
9789740335733
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
เน อหา ว_จ_ย
เน  อหา ว_จ_ยเน  อหา ว_จ_ย
เน อหา ว_จ_ย
 

สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ

  • 1. สรุปการฝึกอบรม เรื่อง “ทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ” หัวข้อการสัมมนา เรื่อง “ทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ” จัดโดย สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยากร คุณบุญญฤทธิ์ สมบัติหลาย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะเวลาดาเนินการ วันศุกร์ที่ 14 มกราคม 2554 เวลา 08.30- 16.00 น. สถานที่ดาเนินการ ณ ห้องสัมมนา 1 ชั้น 9 อาคารเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วัตถุประสงค์การอบรม 5.1 เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อความให้ได้ดีขึ้นตลอดเวลา 5.2 เพื่ อให้ เกิ ดความรู้ ค วามเข้ า ใจและเพื่ อกระบวนการอื่ น ๆ ทางสังคมโดยเฉพาะการสื่อ ความเพื่ อ ประสิทธิภาพของการทางาน 5.3 เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในการสื่อสารและมักจะเกิดขึ้นกับผู้ส่งสารและผู้รับสารเพราะเข้าใจไม่ตรงกัน จนอาจก่อให้เกิดปัญหาที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของงานหรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ช่วงเช้า  บรรยายทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ  บรรยายเพิ่มทักษะการสื่อสารระดับบุคคล และระดับกลุ่ม ช่วงบ่าย  บรรยายแนวทางการสื่อสารและการประสานงานให้เกิดประสิทธิภาพ  บรรยายการใช้กระบวนการสื่อสารในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์รวดเร็ว ทันเหตุการณ์
  • 2. สรุปการอบรม วิทยากรได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสื่อสารซึ่งอาจทาได้ด้วย วัจนภาษาและอวัจนภาษา คือทั้งภาษา พูดและภาษาที่ไม่ได้พูดออกมาแต่สื่อความเข้าใจกันได้ด้วยภาษาท่าทาง ภาษาใบ้ หรืออื่น ๆ ตามลักษณะวัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ของแต่ละท้องถิ่น สังคม กลุ่มชน ซึ่งถ้ามองผิวเผินก็เหมือนว่าการสื่อสารเป็นเรื่องง่าย ๆ ที่ใคร ๆ ก็ ทาได้อย่างดี แต่จริง ๆ แล้ว ปัญหาในการสื่อสารมักจะเกิดขึ้น เสมอ ก็คือผู้ส่งสารต้องการสื่อกับสิ่งที่ผู้รับสารได้รับ ไปอาจจะไม่ตรงกันและทั้งสองฝ่ายต่างไม่รู้ว่าปัญหาเกิดขึ้นยิ่งมีการสื่อสารกันมากขึ้นก็ยิ่งเกิดความสับสนซับซ้อน มากขึ้นตามไปด้วยจนอาจก่อปัญหาที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของงานหรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มชน หรือองค์กร ต่อไปได้ในที่สุด องค์ประกอบการสื่อความ ข้อมูลข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง เป็นเรื่องเกี่ยวกับอดีตและปัจจุบันที่ไม่เกี่ยวกับอนาคตข้อเท็จจริงเป็นเรื่องที่ พิสูจน์ความจริงได้ แต่อนาคตพิสูจน์ไม่ได้ เช่น “ฝนกาลังตก” เป็นข้อเท็จจริง ส่วน “ฝนกาลังจะตก” เป็นความ คิดเห็นหรือการคาดเดา ก็เปรียบเสมือนว่า การทางานด้วยการสื่อสาร เราสามารถสื่อสารได้ในเรื่องที่เกี่ยวกับอดีต และปัจจุบันได้เท่านั้น ซึ่งจะทาให้รู้ว่าเป็นข้อเท็จหรือจริง ส่วนเรื่องอนาคตเป็นแค่ความคิดเห็น หรือการคาดเดา เท่านั้น ข่าวสารที่เป็นความเห็น ความเห็นเป็นเรื่องที่ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลสะท้อนให้เห็นวิถีทางที่คนคนนั้นมอง โลกในแง่มุมต่าง ๆ กัน เนื่องจากการตีความสิ่งที่เห็นแตกต่างกันไปตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เป้าหมาย ความปรารถนา วัตถุประสงค์ ขึ้นอยู่กับแต่ละคนซึ่งต้องเกี่ยวกับอนาคตและต้องอาศัยการตัดสิน คุณค่าของสิ่งที่ต้องการ ความคิ ด เป็ นความนึก คิ ดว่า จะท าอะไรเพื่ อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ความคิดอาจเป็นทางออกหรือทาง แก้ปัญหาซึ่งเป็นที่รู้จักกัน ทากันมาก่อนในอดีตและใช้ได้ผลหรือแม้แต่การกระทาที่ยังไม่ได้ลองทาดู เนื่องจาก ความคิดเกี่ยวข้องกับอนาคต จึงไม่มีความเที่ยงตรงหรือแน่นอนว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ความรู้สึก เป็นเรื่องเฉพาะตัวของแต่ละคนและสามารถสื่อสารให้คนอื่นรับรู้ได้ในเชิงให้ข้อมูลข่าวสาร การ ถ่ายทอดและการรับรู้ความรู้สึกมักจะเป็นอวัจนะภาษามากกว่าวัจนะภาษาหรือเป็นอากัปกริยา การแสดงออก ที่ นอกเหนือจากการพูดและการเขียน จากประเด็นที่กล่าวมานี้ชี้ให้เห็นความแตกต่างระหว่างสัจจะ หรือความจริงตามใจตัวกับสัจจะหรือความ จริงที่เป็นไปตามความเป็นจริง ความจริงตามใจตัว อาจจะอธิบายง่าย ๆ คือ ความจริงที่เอาตัวเองไปตัดสินคิดเอาเอง ยึดถือเอาเองว่าเป็น จริงอย่างนั้นอย่างนี้ ตามค่านิยมและความปรารถนาของตนเอง เอาตัวเองเป็นที่ตั้ง แล้วพิจารณาทุกสิ่งตามใจตัวเอง เป็นหลัก ส่วนความจริงที่ตรงกันข้ามคือ ความจริงที่เป็นไปตามความเป็นจริงเป็นสิ่งที่พิจารณาจากสิ่งภายนอกและ สามารถพิสูจน์ความเป็นจริงได้
  • 3. ตัวอย่าง การที่พนักงานคุยกันขณะทางาน บางคนบอกว่า “เสียเวลา เสียแรงงาน ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อัน ใด” บางคนบอกว่า “ตรงกันข้าม การคุยกันเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์สร้างความคุ้นเคย คุ้มกับเวลาที่เสียไป ส่วนเรื่องเสียงานอยู่ที่การควบคุมและการมอบหมายติดตามผลงานต่างหาก” ในชีวิตประจาวัน ส่วนใหญ่เราจะใช้การสื่อสารด้วยภาษาพูด ซึ่งดูเหมือนจะง่าย แต่แท้จริงแล้วหลายครั้ง ต้องยอมรับว่าไม่สามารถสื่อสารด้วยการพูดได้ตามความคิดหรือความต้องการเพราะการพูดเป็นเครื่องสะท้อน ความคิดความต้องการ ความรู้ความเข้าใจ หรือความคิดเห็นของผู้พูด การสื่อสารด้วยการพูดประกอบหลัก 4 ประการ คือ 1. ผู้พูด 2. เรื่องที่จะพูด (ความคิด, ความต้องการ) 3. วิธีหรือเทคนิคการพูด 4. ผู้ฟัง หากจะมีคนโต้แย้งว่า ทุกคนก็พูดเป็นไม่เห็นจะยากเลย อยากจะขอยกตัวอย่างถ้อยคาของนักปราชญ์ท่านว่า ไว้ว่า อันวาจา ใช่ว่า เพียงคารม เปรียบมีดทอง สองคม นั่นเชียวหนา ถ้าพูดดี มีความคิด ก็ฤทธา ถ้าพล่อยพล่อย วาจา ก็ฆ่าเอา ต่อให้ลาภ ยศเงินทอง กองท่วมฟ้า ใช่เพียงค่า เงินตรา จะซื้อเหมา เสน่ห์ลิ้น พรายพรม ลมปากเรา ค่อยค่อยเป่า ก็อาจคว้า เอามาครอง นั่นย่อมแสดงได้ว่า การสื่อความหรือการพูดที่ดีถูกต้องเหมาะสมนั้นอาจจะทาให้ก่อ ประโยชน์อันมหาศาล ประมาณค่ามิได้ แต่ถ้าพูดเป็นแต่เพียงมีเสียงออกมาจากปาก ก็อาจจะย้อนกลับมาฆ่าหรือทาลายผู้พูดได้ ปัญหาของการสื่อความด้วยการพูด อัตราความสาเร็จของการสื่อสารตัวต่อตัวไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยสนทนาการสัมภาษณ์จะอยู่ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ (หรืออาจสูงขึ้นถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ถ้าปรับปรุงทักษะการสื่อสารด้านนี้ ) ความสาเร็จนี้จะลดลงไปอย่าง รวดเร็วถ้าการสื่อสารตัวต่อตัวต้องผ่านตัวกลางคือสื่อสารกันผ่านสื่ออื่น ๆ เช่น พูดกันทางโทรศัพท์ เขียนหนังสือถึง กันแทนที่จะพูดคุยกัน และตัวกลางที่เห็นได้ชัดเจน คือพูดผ่านคนอีกคนหนึ่ง ทานองว่าช่วยไปบอกให้ด้วย
  • 4. การถ่ายทอดข่าวสารนั้นยิ่งผ่านคนแต่ละคนให้บอกต่อ ๆ กันไปมากเท่าใด จะยิ่งทาให้ข่าวสารบิดเบือนมาก ขึ้นเท่านั้น นี่คืออิทธิพลของการบอกต่อ หรือที่มาของข่าวลือต่าง ๆ ถ้ายังสงสัยว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ลอง ถ่ายทอดข่าวสารแล้วให้ส่งต่อกันไปเรื่อย ๆ ในกลุ่มจะพบได้ว่าสารเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อมีการส่งต่อ ข้อควรที่ป้องกัน เมื่อใดก็ตามที่มีความจาเป็นจะต้องถ่ายทอดข่าวสารส่งต่อกันไป ให้พยายามเก็บหลักฐาน เดิมไว้ ไม่ว่าจะเขียน บันทึกเสียง หรือบันทึกทั้งเสียงและภาพ จอห์ น การ์เตต์ แห่งสมาคมอุตสาหกรรมสหรัฐฯ ได้ วางกฎสาหรับการสื่อสารกับกลุ่มชนไว้ว่า “เมื่ อใดก็ ตามที่ จ ะส่ง เรื่อ งอะไรไปต้องจดบันทึก ไว้ เสมอ เมื่อจะต้อ งผ่านเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งลงไปถึง 3 ขั้นตอน (มีการบอกต่อ กันไป 3 ช่วง) หรือมากกว่านั้น จะต้องแนบสรุปประเด็นสาคัญของเรื่องไปด้วย” ปัจจัยเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อความ การสื่อความที่ควรจะต้องตระหนักอยู่เสมอและควรต้องหมั่นฝึกฝนพัฒนาทักษะให้ช่าชองเชี่ยวชาญอาจจะ จาแนกได้ย่อ ๆ คือ ภาษาพูดหรือคาพูด น้าเสียง และอากัปกิริยา ค าพู ด ที่ เ ราใช้ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ป ระเภทหนึ่ ง ที่ เ ราพยายามจะน าข่ า วสารหรื อสื่ อ ความหมายไปยั ง ผู้ รั บ อากัปกิริยา ท่าทาง น้าเสียงก็เช่นกัน นักจิตวิทยาชาวอเมริกันชื่อ อัลเบิร์ต เมราเบียน พยายามวัดระดับความสาคัญของช่องทางการสื่อสารทั้ง สามเรื่องคือ คาพูด น้าเสียง และอากัปกิริยาเมื่อมีการนาข่าวสารผ่านช่องทางเหล่านี้ เขาสรุปว่า “ภาษาไม่ค่อยสาคัญ นักสร้างผลกระทบได้น้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับน้าเสียงซึ่งสร้างผลกระทบได้เกือบ 40 เปอร์เซ็นต์ และอากัปกิริยาหรือภาษากายสร้างผลกระทบทางการสื่อสารได้กว่า 50 เปอร์เซ็นต์” ตัวอย่าง ให้นึกภาพของภรรยาเมื่อพบหน้าสามีแล้วกล่าวว่า “อ้อ คุณพี่กลับมาแล้ว ” หากเธอจะพูดด้วย ความห่วงใยเธอจะมีน้าเสียงอย่างไร ท่าทางอย่างไร หากพูดด้วยความรู้สึกประชดประชัน หรือเกลียดชังจะมีน้าเสียง อย่างไร ท่าทางอย่างไร และหากพูดด้วยความรู้สึกอื่น ๆ จะเป็นอย่างไร นั่นแสดงให้เห็นว่า “น้าเสียงและท่าทาง จาเป็นต้องสอดคล้องกัน” ไม่ว่าการสื่อสารด้วยถ้อยคา ภาษา หรือไม่ใช้ถ้อยคาภาษา ต่างก็มีโอกาสผิดพลาด นาความล้มเหลวมาสู่การ สื่อสารได้ทั้งสิ้น สิ่งที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้เรื่องนี้ได้ก็คือ ตระหนักถึงความสาคัญและการยอมรับพร้อมกับเพิ่ม ทักษะในการสังเกตพฤติกรรมของผู้ที่เราสื่อสาร เรื่องราวของการสื่อสารจะยิ่งสลับซับซ้อนมากขึ้นอีก โดยเฉพาะถ้าทางานกับคนต่างชาติ เช่น การสั่นศีรษะ ของชาวอินเดียหมายถึง “ตกลง” “ใช่แล้ว” “ถูกแล้ว” ขณะที่ประเทศอื่นหมายถึง “ไม่ใช่” หรือ “ไม่ถูก” หรือการยก มือขวาชู 2 นิ้ว บางวัฒนธรรมแสดงถึงชัยชนะและความยินดี แต่บางวัฒนธรรมเป็นการแสดงอาการอันหยาบคายก็มี จึงต้องระวังและศึกษาพอสมควร ก่อนแสดงอวจนพฤติกรรมเหล่านั้น แม้แต่วัฒนธรรมเดียวกัน ตามความเห็นของ คนที่มองหรือให้ความหมายคาคานี้แคบ ๆ การตีความผิด ความเข้าใจผิด มีโอกาสเกิดขึ้นได้เสมอ
  • 5. ข้อคิดเตือนใจเกี่ยวกับการพู ดให้สอดคล้องกับอากัปกิริยา ท่าทาง น้าเสียง สายตา หรือพูดให้สอดคล้อง กับวัจนพฤติกรรมทั้งหลาย จะเป็นการเพิ่มพูดประสิทธิภาพในการสื่อความ จะพูดจาอ่อนหวานสักปานไหน ย่อมทาได้ถ้ารู้จักหลักภาษา แต่ถ้าขาดความจริงใจในวาจา คาพูดนั้นย่อมหาค่ามิได้เลย และที่ฟังแล้วอาจจะเป็นการสอนแบบแรง ๆ หรือหยิกแบบเจ็บ ๆ ก็มีเช่น ก้านบัวบอกลึกตื้น ชลธาน มารยาท ส่อสันดาน ชาติเชื้อ โฉดฉลาดเพราะคาขาน ควรทราบ หย่อมหญ้าเหี่ยวแห้งเรื้อ บอกร้าย แสลงดิน ท่านผู้รู้ได้เสนอแนะแนวทางในการสื่อความหรือเจรจา แลกเปลี่ยนผลประโยชน์ในการทางาน ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ใด ๆ ก็ตามแต่ ควรจะได้เตรียม กาหนดขั้นตอนการเจรจาสื่อความให้ชัดเจนไว้ก่อนตามขั้นตอน คือ การหยั่งเชิง เริ่มแรกก็คือ ต้องกล่าวหรืออารัมภบทเพื่อช่วยประสานสายสัมพันธ์ระหว่างสองฝ่ายเรียกร้องความสนใจ แล้วตามด้วยการเสนอข้ อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์เพิ่มความสนใจมุ่งไปที่ความต้องการและความพอใจของทั้ง สองฝ่าย ต่อจากนั้นต้องแสดงว่าคู่เจรจาจะได้รับอะไรเป็นการตอบแทน พยายามเปลี่ยนความคิดของแต่ละฝ่าย โดย ใช้ยุทธวิธีชักจูงต่าง ๆ ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการตกลงให้เรียบร้อย มีความเข้าใจตรงกั น คือพูดคุยในสิ่งที่ไม่ใช่เรื่อง โดยตรง ต้องสร้างบรรยากาศแห่งความเป็นกันเอง จนกระทั้งรู้สึกสบายใจแล้วค่อยดาเนินการในขั้นต่อไป การเสนอข้อแลกเปลี่ยน ผู้เสนอ จาเป็นจะต้องแจ้งผลประโยชน์ที่เขาจะได้รับโดยตรง และไม่อ้อมค้อมหรือขู่เข็ญ ผู้เจรจาจะต้องมี ความอดทนเมือผู้ฟังไม่เข้าใจ ขอให้อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม อย่าเร่งรัดต้องใจเย็นค่อย ๆ พูด ต้องมีรูปแบบอันเป็น ่ เอกลักษณ์ของตนเอง และมีไหวพริบที่จะเดาให้ผู้ฟังและพยายามให้คู่เจรจาออกความคิดเห็นตอบเพื่อจะได้ใช้ โอกาสนี้รู้ใจเขาต้องการอะไรหรืออยากได้อะไร ต้องพยายามนาการสนทนาที่สร้างความพอใจ มิใช่พูดคนเดียวต้อง พยายามแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน
  • 6. การโน้มน้าวชักจูง หัวใจของการเจรจาต่อรองก็คือ การชักจูงใจให้สาเร็จวิธีการพูดที่จูงใจก็สาคัญมากที่ต้องรู้จักพูด ใช้วิธีโน้ม น้าวความสามารถเปลี่ยนทัศนคติของคู่เจรจาได้สาเร็จ การชักจูงที่ดีจะทาให้การเจรจาตกลงเกิดผลสาเร็จในระยะนั้น และสร้างความประทับใจเกิดความรู้สึกที่อยากจะติดต่อด้วยอีก การยินยอม การยินยอมและตกลง จะต้องเกิดจากความเต็มใจของทั้งสองฝ่าย ดังนั้น หัวใจของการสื่อความที่เอามาปรับเปลี่ยนในการทางานในปัจจุบัน คือ  ต้อ งมี ค วามจริ ง ใจ แสดงออกซึ่ ง ความจริ ง ใจต้อ งเจาะจงและชั ด เจน พู ด และแสดงออกจาก ความรู้สึกจากใจ เพราะการพูดจะทาให้เกิดความเชื่อถือ ความจริงใจในใจเรามากกว่าที่พูดออกไป  ความปรารถนาดี ต้องพูดและแสดงออกซึ่งความปรารถนาดี ควรบอกความปรารถดีด้วยคาพูด และการกระทา บอกให้ใครต่อใครรู้ถึงความปรารถดีที่มีอยู่ชี้แจงให้ชัดเจน  ความมีน้าใจ ต้องมีน้าใจ รู้จักให้และรับ ปัจจุบัน “คิดแต่จะรับอย่างเดียว” ควรให้การแนะนา การ ชี้แนะ การให้ข้อมูลที่ควรทราบ เหล่านี้เป็นการแสดงออกซึ่งความมีน้าใจทั้งสิ้น  ความแจ่ม ใสเบิ ก บาน ต้องตระหนัก อยู่ เสมอว่า บรรยากาศในการสื่อ สารที่ ส ดใสเบิก บานพึ ง ระมัดระวังอารมณ์และมีสติในการเจรจาสนทนา การมอบหมายงานหรือรับมอบหมายงาน รับฟังคาสั่ง เพราะถ้าเกิด บรรยากาศไม่ดีแล้ว ทุกอย่างมีโอกาสจะล้มเหลวทั้งสิ้น