SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4: กลยุท ธ์ก ารเข้า สูธ ุร กิจ
่
ระหว่า งประเทศ

ปัจ จัย ที่ท ำา ให้เ กิด การเข้า สูต ลาดต่า ง
่
ประเทศ ได้แ ก่…
• แสวงหาตลาดใหม่ๆ
• ลดต้นทุนค่าขนส่ง
• ลดต้นทุนการผลิต
• แสวงหาวิทยาการสมัยใหม่และทักษะเฉพาะ
• แสวงหาวัตถุดิบ
• เพื่อการแข่งขัน
• ด้านอื่นๆ
1
ปัจ จัย ที่ท ำา ให้เ กิด ผลดีต ่อ การดำา เนิน
ธุร กิจ ในต่า งประเทศ ได้แ ก่…

• เกิดการขยายส่วนแบ่งทางการตลาด (Market
Share)
• เกิดความได้เปรียบในเรื่องต้นทุนการผลิตต่อ
หน่วย (Economic Of Scale)
• เกิดผลประโยชน์และผลกำาไรเพิ่มมากขึ้น (Profit
Advantage)
• เกิดความได้เปรียบทางด้านภาษี (Tax
Advantage)
• ด้านอื่นๆ
2
การดำาเนินธุรกิจในตลาดต่างประเทศ
มีหลายรูปแบบ ซึ่งวิธีการในการเข้าสู่
ตลาดต่างประเทศนันจะขึ้นอยู่กับปัจจัย
้
ภายในและปัจจัยภายนอกของบริษัทโดย
เฉพาะประเทศทีจะเข้าไปลงทุนหรือ
่
ดำาเนินธุรกิจด้วย

3
กลยุท ธ์ก ารเข้า สูต ลาดต่า งประเทศ
่
(Mode of entry into foreign
market)
• การส่งออก (Export)
• การแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศ
(Countertrade)
• การทำาสัญญาการผลิต (Contract
Manufacturing)
• การมอบใบอนุญาต (Licensing)
• การให้สัมปทาน (Franchising)
• การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ (Foreign
4
1. การส่ง ออก (Exporting) เป็นการส่ง
สินค้าไปขายในตลาดต่างประเทศ ซึ่งเป็นวิธีที่ง่าย
และสะดวก ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ..
- Indirect Exporting เป็นการขายผ่านตัวแทน
ในประเทศของผู้ผลิต เพื่อให้ตัวแทนนำาสินค้าของ
ตนไปขายในต่างประเทศ
- Direct Exporting เป็นการขายสินค้าโดยผู้
ผลิตจะทำาการกระจายสินค้าไปต่างประเทศเอง
เนื่องจากมีความชำานาญ

5
6
ประโยชน์ข องการส่ง ออก
• มีความคล่องตัว
• ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
ของประเทศคู่
ค้าน้อยกว่าวิธีอื่น
• มีความเสี่ยงน้อย
• ง่ายต่อการเริ่มเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ

7
ปัญ หาของการส่ง ออก
• ยากที่จะแข่งขันกับกิจการของประเทศคูค้า
่
• อำานาจในการต่อรอง และ การดำาเนินธุรกิจใน
ต่างประเทศมีนอย
้
• ใช้เงินทุนหมุนเวียนสูง

8
2. การแลกเปลี่ย นสิน ค้า ระหว่า งประเทศ

หรือ การค้า ต่า งตอบแทน
(Countertrade) เป็นการซื้อขายสินค้าโดย

แลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน แทนการใช้เงินตรา
ซึ่งมีหลายรูปแบบ ดังนี้…
- การแลกเปลี่ย นสิน ค้า ที่เ กิด ขึ้น โดยตรง
(Pure Barter) เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้า
กับสินค้าตามสัญญาการค้าต่างตอบแทน
- การแลกเปลี่ย นผ่า นข้อ ตกลงล่ว งหน้า
(Clearing Arrangements) เป็นการแลก
เปลี่ยนสินค้าระหว่างกันตามช่วงระยะเวลาที่กำาหนด
ถ้าหากเกินจากที่กำาหนดไว้ก็จะต้องชำาระด้วยเงิน
9
- การซือ ตอบแทน (Counterpurchase)
้
เป็นการที่ประเทศคูค้าจะทำาข้อตกลงในการซื้อ
่
สินค้าระหว่างกันเป็นการตอบแทนทางการค้าเพื่อ
ป้องกันการเสียดุลทางการค้า
- การซือ คืน (Buy back) เกิดขึ้นในกรณีที่ธุรกิจ
้
เข้าไปสร้างโรงงาน หรือจัดหาเทคโนโลยี เครื่องมือ
อุปกรณ์ หรือบริการอื่นๆ ให้กับประเทศหนึ่ง และ
ยินดีที่จะซื้อสินค้าที่ผลิตจากโรงงานนันตามสัดส่วน
้
ของการชำาระเงินตามสัญญา

10
3. การทำา สัญ ญาการผลิต (Contract
Manufacturing) เป็นการที่กิจการหนึ่งทำา
สัญญาให้กิจการอื่นในต่างประเทศผลิตสินค้าให้ตน
ตามคุณภาพและมาตรฐานที่กำาหนดไว้ โดยบริษัท
จะเป็นผู้ทำาการจำาหน่ายเองรวมทั้งเป็นผู้รับผิดชอบ
กระบวนการทางการตลาด ไม่ว่าการโฆษณาและ
การส่งเสริมการจัดจำาหน่าย
ลัก ษณะของการทำา สัญ ญาการผลิต
• ผูผลิตในประเทศทำาสัญญากับผู้ผลิตในต่างประเทศ
้
ทำาการผลิตสินค้าให้เพื่อลดต้นทุนในการผลิต
• เหมาะแก่ตลาดต่างประเทศที่มีความไม่แน่นอนต่อ
การเข้าไปลงทุน
11
4. การมอบใบอนุญ าตในการผลิต
(Licensing) เป็นการที่บริษัทหนึ่งอนุญาตให้อีก
บริษัทหนึ่งในต่างประเทศใช้สินทรัพย์ทางปัญญาที่
เป็นกรรมสิทธิ์ของตนในการผลิตสินค้าของตนภาย
ใต้เครื่องหมายการค้าและการควบคุมคุณภาพตามที่
ตกลงไว้
ผูใ ห้ส ท ธิ (Licensor)
้
ิ
ผูร ับ สิท ธิ (Licensee)
้
-ค่าธรรมเนียม
-ทำาการผลิตสินค้า
-เงินปันผลตอบแทน
-ใช้เทคโนโลยีการ
ผลิต
-ใช้กรรมสิทธิ์
12
ปัจ จัย ที่ท ำา ให้ก ิจ การมอบใบอนุญ าตใน
การผลิต ได้แ ก่...
...
• ธุรกิจอาจขาดแคลนเงินทุนในการขยายกิจการเอง
• ใช้ในการทดลองตลาดในช่วงแรก
• กำาลังการซื้อในตลาดต่างประเทศมีไม่เพียงพอต่อ
การเข้าไปลงทุนเอง
• อุปสรรคด้านกฎหมายของประเทศเจ้าบ้านต่อการ
เข้าไปลงทุน

13
ข้อ ได้เ ปรีย บของการมอบใบอนุญ าตใน
การผลิต
• กิจการมีรายได้เพิ่มขึ้น
• ใช้เงินลงทุนน้อยในการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ
• โอกาสที่สินค้าประสบความสำาเร็จมีมาก
• เหมาะกับกิจการที่ยังไม่พร้อมไปลงทุนเองในต่าง
ประเทศ

14
ข้อ เสีย เปรีย บของการมอบใบอนุญ าตใน
การผลิต
• กิจการท้องถิ่นที่ได้รับมอบใบอนุญาตจะเป็นคู่
แข่งขันทางการค้าในอนาคตได้
• ผูให้สิทธิไม่มีอำานาจในการควบคุมการผลิตและ
้
การตลาดของผู้รับสิทธิ
• ผูให้สิทธิอาจเสียโอกาสต่อการทำาธุรกิจในตลาดที่
้
มีกำาไรสูง

15
5. การให้ส ัม ปทาน /สิท ธิท างการค้า
(Franchising) เป็นการที่กิจการหนึ่งให้สิทธิ
แก่กิจการอีกประเทศหนึ่งใช้เครื่องหมายการค้า
ชือยี่ห้อสินค้า ตลอดจนถ่ายทอดกระบวนการผลิต
่
สินค้า เทคนิคทางการตลาดและวิธีการบริหารภาย
ใต้เงื่อนไขที่ตกลงกันไว้
ผูใ ห้ส ม ปทาน (Franchisor)
้
ั
ผูร ับ สัม ปทาน (Franchisee)
้
-เป็นเจ้าของสินค้า,เครื่องหมายการค้า -นำาระบบ
ธุรกิจของผู้ให้สิทธิ
ไปปฏิบัติ

16
ประโยชน์ข องผู้ใ ห้ส ัม ปทาน
(Franchisor)
• ขยายธุรกิจได้รวดเร็วโดยไม่ต้องลงทุนเอง
• ผูรับสัมปทานจะรู้ถึงความต้องการของผูบริโภคใน
้
้
ท้องถิ่นได้ดีกว่าผู้ให้สัมปทานเป็นผลให้ธุรกิจ
ขยายตัวได้รวดเร็วและตอบสนองต่อความต้องการ
ของผูบริโภคได้
้
• มีรายได้ทางอ้อมจากค่าธรรมเนียม

17
ประโยชน์ข องผู้ร ับ สัม ปทาน
(Franchisee)
• มีโอกาสในการยอมรับจากลูกค้าได้ทันทีทำาให้เกิด
รายได้ทันทีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทำาโฆษณา
มาก
• ความเสี่ยงในการดำาเนินธุรกิจมีนอย
้

18
6. การลงทุน โดยตรงในต่า งปร ะ เทศ
(Foreign Direct Investment) เป็นการ
ลงทุนที่ก่อให้เกิดการสร้างงานในตลาดต่าง
ประเทศ ซึ่งมีรูปแบบดังนี้...
...

6.1 การลงทุน เองทั้ง หมด (Wholly
Owned Subsidiary) เป็นการลงทุนทำา

ธุรกิจในต่างประเทศเองทั้งหมด ซึ่งเหมาะสำาหรับ
กิจการที่มีขนาดใหญ่ บริษัทแม่จะมีอำานาจในการ
บริหารกิจการในต่างประเทศทั้งหมด
สาเหตุก ารตัด สิน ใจไปลงทุน เองทั้ง หมดใน
ต่า งประเทศ
 ปัจจัยภายในประเทศของผูลงทุน 19
้
ผลกระทบของการลงทุน เองทั้ง หมดใน
ต่า งประเทศ
• ด้านเงินทุน
• ด้านการค้าระหว่างประเทศ
• การถ่ายทอดเทคโนโลยี
• การว่าจ้างแรงงาน

20
6.2 การลงทุน โดยการร่ว มทุน ระหว่า ง

ประเทศ (International Joint
Venture) เป็นการทำาธุรกิจร่วมกันตั้งแต่ 2

ฝ่ายหรือมากกว่าโดยผู้ร่วมทุนไม่ได้อยู่ในประเทศ
เดียวกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อ...
* ขยายผลิตภัณฑ์สตลาดต่างประเทศ
ู่
* เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
* ขยายขอบเขตธุรกิจไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่น
* นำาผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศเข้ามาในประเทศ
21
ข้อ ได้เ ปรีย บของการร่ว มทุน ระหว่า ง
ประเทศ
• คนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร
• มีการสนับสนุนจากประเทศเจ้าบ้าน
• มีการถ่ายทอดความรู้ทางเทคโนโลยี
• มีความเสี่ยงน้อยกว่าการเข้าไปลงทุนเองทั้งหมด

22
ข้อ เสีย เปรีย บของการร่ว มทุน ระหว่า ง
ประเทศ
• มีความขัดแย้งกันระหว่างผูร่วมทุน
้
• สูญเสียอำานาจในการตัดสินใจ

23
ปัจ จัย สนับ สนุน ให้ม ีก ารร่ว มทุน ระหว่า ง
ประเทศ
• การได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลของประเทศเจ้า
บ้าน
• ความต้องการขยายธุรกิจ
• ขาดแคลนเงินทุนและบุคลากรที่มความสามารถ
ี
• สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพในอัตราต้นทุนตำ่า
• ทรัพยากรในประเทศเจ้าบ้าน

24
อุป สรรคของการร่ว มทุน ระหว่า งประเทศ
• ภาษาและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้ร่วมทุน
• ความไม่เชื่อมั่นในความสามารถของผูร่วมทุน
้
• อุปสรรคในการถ่ายทอดทางด้านเทคโนโลยี
• หลักและวิธีการในการบริหารแตกต่างกัน
• อำานาจของผู้ร่วมทุนแตกต่างกัน

25
การพิจ ารณาผู้ร ่ว มทุน ระหว่า งประเทศ
• ขนาดและโครงสร้างของผู้ร่วมทุน
• ประวัติ และ ความมั่นคงทางการเงิน
• ชื่อเสียงของเครื่องหมายการค้า
• เทคโนโลยีในการผลิต
• ท่าทีในการเจรจาต่อรอง
• ความสัมพันธ์กับสถาบันภายนอก

26
7. การทำา ธุร กิจ ระหว่า งประเทศเฉพาะ
โครงการ (Turnkey Project) การที่
กิจการได้ทำาสัญญาว่าจ้างบริษัทในต่างประเทศ
ออกแบบจัดสร้างงานตามโครงการที่กำาหนดไว้
เมื่อผู้ออกแบบและก่อสร้างงานตามโครงการเสร็จ
จะต้องมีการส่งมอบสิ่งที่จัดสร้างให้อยู่ภายใต้การ
บริหารของกิจการผูว่าจ้าง ดังนั้นจึงอาจต้องมี
้
การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการส่ง
มอบ (Turnkey) เพื่อให้ผู้ว่าจ้างสามารถรับผิด
ชอบและดูแลเองตามลำาพังได้ โดยบริษัทผู้จัดสร้าง
จะได้รับผลประโยชน์เป็นค่าธรรมเนียมตามที่ระบุ
ไว้ในสัญญาการว่าจ้าง
27
ความแตกต่า งของวิธ ีก ารในการ
เข้า สู่
ธุนาจในการควบคุม กิจ การในต่า ง
ร กิจ ระหว่า งประเทศ
• ปริม าณอำา

ประเทศ (degree of control) หมายถึง อำานาจ
ในการควบคุมกิจการในต่างประเทศที่กิจการมีส่วน
เป็นเจ้าของ
• ความเสีย งอย่า งเป็น ระบบ (systematic risk)
่
หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากระบบการเมืองการ
ปกครอง เศรษฐกิจ และการเงิน
• ความเสีย งต่อ การเผยแพร่ค วามได้เ ปรีย บสูผ ู้
่
่
อืน (dissemination risk) หมายถึงการที่กิจการ
่
อาจต้องยอมให้ความได้เปรียบต่างๆที่ตนมีแพร่
28
กระจายไปสู่กิจการอื่น
29
การเลือ กวิธ ก ารในการเข้า สู่ธ ร กิจ
ี
ุ
ระหว่า งประเทศ
• ความสามารถของกิจการด้านการทำาธุรกิจในต่าง
ประเทศ (Firm Capability)
• ปัจจัยสนับสนุนของแต่ละอุตสาหกรรม (Industry
– Specific Factors)
• ปัจจัยสนับสนุนของแต่ละประเทศที่กิจการเข้าไป
ดำาเนินธุรกิจ (Location – specific Factors)
• ปัจจัยเฉพาะของแต่ละกิจการ (Venture –
Specific Factors)
• กลยุทธ์ของกิจการ (Strategic Factors)
30
31
การบ้า น : บทที่ 4
แบบฝึก หัด ท้า ยบทที่ 6 ข้อ 3 หน้า
162 จากตำา ราหลัก เล่ม ที่ 1
• ถ้า ท่า นเป็น ผู้บ ริห ารรถยนต์ใ นยุโ รป
บริษ ท หนึง มีย อดจำา หน่า ยรถยนต์ใ น
ั
่
ประเทศไทยจำา นวนไม่ม ากเนือ งจาก
่
ราคาแพงกว่า รถยนต์ใ นระดับ เดีย วกัน
ของบริษ ัท อืน การที่จ ะให้ถ ูก ลงจะต้อ ง
่
มาประกอบในประเทศไทย ท่า นจะ
เลือ กวิธ ใ ดในการมาลงทุน ให้อ ธิบ าย
ี
พร้อ มทั้ง สรุป ข้อ ดีแ ละข้อ เสีย ของวิธ ี
การที่เ ลือ ก
32

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
Teetut Tresirichod
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
Teetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
Teetut Tresirichod
 
Entry mode
Entry modeEntry mode
Entry mode
TK Tof
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
Rungnapa Rungnapa
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Ornkapat Bualom
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซบทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซ
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
pop Jaturong
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Thanaphat Tachaphan
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
Teetut Tresirichod
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrixLateefah Hansuek
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกsupatra39
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Entry mode
Entry modeEntry mode
Entry mode
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
บทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซบทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 4 รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับอีคอมเมิร์ซ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrix
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 

Similar to Lesson4

การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
Thailand Board of Investment North America
 
industrial development and industrial policy
industrial development and industrial policyindustrial development and industrial policy
industrial development and industrial policy
thammasat university
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Sanwis Natthanicha
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังNattakorn Sunkdon
 
รู้จักบีโอไอ (2564)
รู้จักบีโอไอ (2564)รู้จักบีโอไอ (2564)
รู้จักบีโอไอ (2564)
Thailand Board of Investment North America
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
Prapaporn Boonplord
 
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
Ake Saroj
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
Chuta Tharachai
 

Similar to Lesson4 (18)

การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
 
industrial development and industrial policy
industrial development and industrial policyindustrial development and industrial policy
industrial development and industrial policy
 
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศบทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
 
Financial Case Study : Infosys
Financial Case Study : InfosysFinancial Case Study : Infosys
Financial Case Study : Infosys
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
รู้จักบีโอไอ (2564)
รู้จักบีโอไอ (2564)รู้จักบีโอไอ (2564)
รู้จักบีโอไอ (2564)
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 

More from Apichaya Savetvijit

รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)Apichaya Savetvijit
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]Apichaya Savetvijit
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
ว่าน (1)
ว่าน (1)ว่าน (1)
ว่าน (1)
Apichaya Savetvijit
 
ว่าน (2)
ว่าน (2)ว่าน (2)
ว่าน (2)
Apichaya Savetvijit
 
ว่าน
ว่านว่าน
ว่าน
Apichaya Savetvijit
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับApichaya Savetvijit
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้วApichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนานหน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนานApichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)Apichaya Savetvijit
 
หนังสือเชิญ
หนังสือเชิญหนังสือเชิญ
หนังสือเชิญ
Apichaya Savetvijit
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
Apichaya Savetvijit
 
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
Apichaya Savetvijit
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าApichaya Savetvijit
 

More from Apichaya Savetvijit (19)

รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
ว่าน (1)
ว่าน (1)ว่าน (1)
ว่าน (1)
 
ว่าน (2)
ว่าน (2)ว่าน (2)
ว่าน (2)
 
ว่าน
ว่านว่าน
ว่าน
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนานหน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)
 
หนังสือเชิญ
หนังสือเชิญหนังสือเชิญ
หนังสือเชิญ
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 

Recently uploaded

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 

Lesson4

  • 1. บทที่ 4: กลยุท ธ์ก ารเข้า สูธ ุร กิจ ่ ระหว่า งประเทศ ปัจ จัย ที่ท ำา ให้เ กิด การเข้า สูต ลาดต่า ง ่ ประเทศ ได้แ ก่… • แสวงหาตลาดใหม่ๆ • ลดต้นทุนค่าขนส่ง • ลดต้นทุนการผลิต • แสวงหาวิทยาการสมัยใหม่และทักษะเฉพาะ • แสวงหาวัตถุดิบ • เพื่อการแข่งขัน • ด้านอื่นๆ 1
  • 2. ปัจ จัย ที่ท ำา ให้เ กิด ผลดีต ่อ การดำา เนิน ธุร กิจ ในต่า งประเทศ ได้แ ก่… • เกิดการขยายส่วนแบ่งทางการตลาด (Market Share) • เกิดความได้เปรียบในเรื่องต้นทุนการผลิตต่อ หน่วย (Economic Of Scale) • เกิดผลประโยชน์และผลกำาไรเพิ่มมากขึ้น (Profit Advantage) • เกิดความได้เปรียบทางด้านภาษี (Tax Advantage) • ด้านอื่นๆ 2
  • 4. กลยุท ธ์ก ารเข้า สูต ลาดต่า งประเทศ ่ (Mode of entry into foreign market) • การส่งออก (Export) • การแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศ (Countertrade) • การทำาสัญญาการผลิต (Contract Manufacturing) • การมอบใบอนุญาต (Licensing) • การให้สัมปทาน (Franchising) • การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ (Foreign 4
  • 5. 1. การส่ง ออก (Exporting) เป็นการส่ง สินค้าไปขายในตลาดต่างประเทศ ซึ่งเป็นวิธีที่ง่าย และสะดวก ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ.. - Indirect Exporting เป็นการขายผ่านตัวแทน ในประเทศของผู้ผลิต เพื่อให้ตัวแทนนำาสินค้าของ ตนไปขายในต่างประเทศ - Direct Exporting เป็นการขายสินค้าโดยผู้ ผลิตจะทำาการกระจายสินค้าไปต่างประเทศเอง เนื่องจากมีความชำานาญ 5
  • 6. 6
  • 7. ประโยชน์ข องการส่ง ออก • มีความคล่องตัว • ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง ของประเทศคู่ ค้าน้อยกว่าวิธีอื่น • มีความเสี่ยงน้อย • ง่ายต่อการเริ่มเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ 7
  • 8. ปัญ หาของการส่ง ออก • ยากที่จะแข่งขันกับกิจการของประเทศคูค้า ่ • อำานาจในการต่อรอง และ การดำาเนินธุรกิจใน ต่างประเทศมีนอย ้ • ใช้เงินทุนหมุนเวียนสูง 8
  • 9. 2. การแลกเปลี่ย นสิน ค้า ระหว่า งประเทศ หรือ การค้า ต่า งตอบแทน (Countertrade) เป็นการซื้อขายสินค้าโดย แลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน แทนการใช้เงินตรา ซึ่งมีหลายรูปแบบ ดังนี้… - การแลกเปลี่ย นสิน ค้า ที่เ กิด ขึ้น โดยตรง (Pure Barter) เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้า กับสินค้าตามสัญญาการค้าต่างตอบแทน - การแลกเปลี่ย นผ่า นข้อ ตกลงล่ว งหน้า (Clearing Arrangements) เป็นการแลก เปลี่ยนสินค้าระหว่างกันตามช่วงระยะเวลาที่กำาหนด ถ้าหากเกินจากที่กำาหนดไว้ก็จะต้องชำาระด้วยเงิน 9
  • 10. - การซือ ตอบแทน (Counterpurchase) ้ เป็นการที่ประเทศคูค้าจะทำาข้อตกลงในการซื้อ ่ สินค้าระหว่างกันเป็นการตอบแทนทางการค้าเพื่อ ป้องกันการเสียดุลทางการค้า - การซือ คืน (Buy back) เกิดขึ้นในกรณีที่ธุรกิจ ้ เข้าไปสร้างโรงงาน หรือจัดหาเทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือบริการอื่นๆ ให้กับประเทศหนึ่ง และ ยินดีที่จะซื้อสินค้าที่ผลิตจากโรงงานนันตามสัดส่วน ้ ของการชำาระเงินตามสัญญา 10
  • 11. 3. การทำา สัญ ญาการผลิต (Contract Manufacturing) เป็นการที่กิจการหนึ่งทำา สัญญาให้กิจการอื่นในต่างประเทศผลิตสินค้าให้ตน ตามคุณภาพและมาตรฐานที่กำาหนดไว้ โดยบริษัท จะเป็นผู้ทำาการจำาหน่ายเองรวมทั้งเป็นผู้รับผิดชอบ กระบวนการทางการตลาด ไม่ว่าการโฆษณาและ การส่งเสริมการจัดจำาหน่าย ลัก ษณะของการทำา สัญ ญาการผลิต • ผูผลิตในประเทศทำาสัญญากับผู้ผลิตในต่างประเทศ ้ ทำาการผลิตสินค้าให้เพื่อลดต้นทุนในการผลิต • เหมาะแก่ตลาดต่างประเทศที่มีความไม่แน่นอนต่อ การเข้าไปลงทุน 11
  • 12. 4. การมอบใบอนุญ าตในการผลิต (Licensing) เป็นการที่บริษัทหนึ่งอนุญาตให้อีก บริษัทหนึ่งในต่างประเทศใช้สินทรัพย์ทางปัญญาที่ เป็นกรรมสิทธิ์ของตนในการผลิตสินค้าของตนภาย ใต้เครื่องหมายการค้าและการควบคุมคุณภาพตามที่ ตกลงไว้ ผูใ ห้ส ท ธิ (Licensor) ้ ิ ผูร ับ สิท ธิ (Licensee) ้ -ค่าธรรมเนียม -ทำาการผลิตสินค้า -เงินปันผลตอบแทน -ใช้เทคโนโลยีการ ผลิต -ใช้กรรมสิทธิ์ 12
  • 13. ปัจ จัย ที่ท ำา ให้ก ิจ การมอบใบอนุญ าตใน การผลิต ได้แ ก่... ... • ธุรกิจอาจขาดแคลนเงินทุนในการขยายกิจการเอง • ใช้ในการทดลองตลาดในช่วงแรก • กำาลังการซื้อในตลาดต่างประเทศมีไม่เพียงพอต่อ การเข้าไปลงทุนเอง • อุปสรรคด้านกฎหมายของประเทศเจ้าบ้านต่อการ เข้าไปลงทุน 13
  • 14. ข้อ ได้เ ปรีย บของการมอบใบอนุญ าตใน การผลิต • กิจการมีรายได้เพิ่มขึ้น • ใช้เงินลงทุนน้อยในการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ • โอกาสที่สินค้าประสบความสำาเร็จมีมาก • เหมาะกับกิจการที่ยังไม่พร้อมไปลงทุนเองในต่าง ประเทศ 14
  • 15. ข้อ เสีย เปรีย บของการมอบใบอนุญ าตใน การผลิต • กิจการท้องถิ่นที่ได้รับมอบใบอนุญาตจะเป็นคู่ แข่งขันทางการค้าในอนาคตได้ • ผูให้สิทธิไม่มีอำานาจในการควบคุมการผลิตและ ้ การตลาดของผู้รับสิทธิ • ผูให้สิทธิอาจเสียโอกาสต่อการทำาธุรกิจในตลาดที่ ้ มีกำาไรสูง 15
  • 16. 5. การให้ส ัม ปทาน /สิท ธิท างการค้า (Franchising) เป็นการที่กิจการหนึ่งให้สิทธิ แก่กิจการอีกประเทศหนึ่งใช้เครื่องหมายการค้า ชือยี่ห้อสินค้า ตลอดจนถ่ายทอดกระบวนการผลิต ่ สินค้า เทคนิคทางการตลาดและวิธีการบริหารภาย ใต้เงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ ผูใ ห้ส ม ปทาน (Franchisor) ้ ั ผูร ับ สัม ปทาน (Franchisee) ้ -เป็นเจ้าของสินค้า,เครื่องหมายการค้า -นำาระบบ ธุรกิจของผู้ให้สิทธิ ไปปฏิบัติ 16
  • 17. ประโยชน์ข องผู้ใ ห้ส ัม ปทาน (Franchisor) • ขยายธุรกิจได้รวดเร็วโดยไม่ต้องลงทุนเอง • ผูรับสัมปทานจะรู้ถึงความต้องการของผูบริโภคใน ้ ้ ท้องถิ่นได้ดีกว่าผู้ให้สัมปทานเป็นผลให้ธุรกิจ ขยายตัวได้รวดเร็วและตอบสนองต่อความต้องการ ของผูบริโภคได้ ้ • มีรายได้ทางอ้อมจากค่าธรรมเนียม 17
  • 18. ประโยชน์ข องผู้ร ับ สัม ปทาน (Franchisee) • มีโอกาสในการยอมรับจากลูกค้าได้ทันทีทำาให้เกิด รายได้ทันทีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทำาโฆษณา มาก • ความเสี่ยงในการดำาเนินธุรกิจมีนอย ้ 18
  • 19. 6. การลงทุน โดยตรงในต่า งปร ะ เทศ (Foreign Direct Investment) เป็นการ ลงทุนที่ก่อให้เกิดการสร้างงานในตลาดต่าง ประเทศ ซึ่งมีรูปแบบดังนี้... ... 6.1 การลงทุน เองทั้ง หมด (Wholly Owned Subsidiary) เป็นการลงทุนทำา ธุรกิจในต่างประเทศเองทั้งหมด ซึ่งเหมาะสำาหรับ กิจการที่มีขนาดใหญ่ บริษัทแม่จะมีอำานาจในการ บริหารกิจการในต่างประเทศทั้งหมด สาเหตุก ารตัด สิน ใจไปลงทุน เองทั้ง หมดใน ต่า งประเทศ  ปัจจัยภายในประเทศของผูลงทุน 19 ้
  • 20. ผลกระทบของการลงทุน เองทั้ง หมดใน ต่า งประเทศ • ด้านเงินทุน • ด้านการค้าระหว่างประเทศ • การถ่ายทอดเทคโนโลยี • การว่าจ้างแรงงาน 20
  • 21. 6.2 การลงทุน โดยการร่ว มทุน ระหว่า ง ประเทศ (International Joint Venture) เป็นการทำาธุรกิจร่วมกันตั้งแต่ 2 ฝ่ายหรือมากกว่าโดยผู้ร่วมทุนไม่ได้อยู่ในประเทศ เดียวกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อ... * ขยายผลิตภัณฑ์สตลาดต่างประเทศ ู่ * เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน * ขยายขอบเขตธุรกิจไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่น * นำาผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศเข้ามาในประเทศ 21
  • 22. ข้อ ได้เ ปรีย บของการร่ว มทุน ระหว่า ง ประเทศ • คนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร • มีการสนับสนุนจากประเทศเจ้าบ้าน • มีการถ่ายทอดความรู้ทางเทคโนโลยี • มีความเสี่ยงน้อยกว่าการเข้าไปลงทุนเองทั้งหมด 22
  • 23. ข้อ เสีย เปรีย บของการร่ว มทุน ระหว่า ง ประเทศ • มีความขัดแย้งกันระหว่างผูร่วมทุน ้ • สูญเสียอำานาจในการตัดสินใจ 23
  • 24. ปัจ จัย สนับ สนุน ให้ม ีก ารร่ว มทุน ระหว่า ง ประเทศ • การได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลของประเทศเจ้า บ้าน • ความต้องการขยายธุรกิจ • ขาดแคลนเงินทุนและบุคลากรที่มความสามารถ ี • สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพในอัตราต้นทุนตำ่า • ทรัพยากรในประเทศเจ้าบ้าน 24
  • 25. อุป สรรคของการร่ว มทุน ระหว่า งประเทศ • ภาษาและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้ร่วมทุน • ความไม่เชื่อมั่นในความสามารถของผูร่วมทุน ้ • อุปสรรคในการถ่ายทอดทางด้านเทคโนโลยี • หลักและวิธีการในการบริหารแตกต่างกัน • อำานาจของผู้ร่วมทุนแตกต่างกัน 25
  • 26. การพิจ ารณาผู้ร ่ว มทุน ระหว่า งประเทศ • ขนาดและโครงสร้างของผู้ร่วมทุน • ประวัติ และ ความมั่นคงทางการเงิน • ชื่อเสียงของเครื่องหมายการค้า • เทคโนโลยีในการผลิต • ท่าทีในการเจรจาต่อรอง • ความสัมพันธ์กับสถาบันภายนอก 26
  • 27. 7. การทำา ธุร กิจ ระหว่า งประเทศเฉพาะ โครงการ (Turnkey Project) การที่ กิจการได้ทำาสัญญาว่าจ้างบริษัทในต่างประเทศ ออกแบบจัดสร้างงานตามโครงการที่กำาหนดไว้ เมื่อผู้ออกแบบและก่อสร้างงานตามโครงการเสร็จ จะต้องมีการส่งมอบสิ่งที่จัดสร้างให้อยู่ภายใต้การ บริหารของกิจการผูว่าจ้าง ดังนั้นจึงอาจต้องมี ้ การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการส่ง มอบ (Turnkey) เพื่อให้ผู้ว่าจ้างสามารถรับผิด ชอบและดูแลเองตามลำาพังได้ โดยบริษัทผู้จัดสร้าง จะได้รับผลประโยชน์เป็นค่าธรรมเนียมตามที่ระบุ ไว้ในสัญญาการว่าจ้าง 27
  • 28. ความแตกต่า งของวิธ ีก ารในการ เข้า สู่ ธุนาจในการควบคุม กิจ การในต่า ง ร กิจ ระหว่า งประเทศ • ปริม าณอำา ประเทศ (degree of control) หมายถึง อำานาจ ในการควบคุมกิจการในต่างประเทศที่กิจการมีส่วน เป็นเจ้าของ • ความเสีย งอย่า งเป็น ระบบ (systematic risk) ่ หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากระบบการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ และการเงิน • ความเสีย งต่อ การเผยแพร่ค วามได้เ ปรีย บสูผ ู้ ่ ่ อืน (dissemination risk) หมายถึงการที่กิจการ ่ อาจต้องยอมให้ความได้เปรียบต่างๆที่ตนมีแพร่ 28 กระจายไปสู่กิจการอื่น
  • 29. 29
  • 30. การเลือ กวิธ ก ารในการเข้า สู่ธ ร กิจ ี ุ ระหว่า งประเทศ • ความสามารถของกิจการด้านการทำาธุรกิจในต่าง ประเทศ (Firm Capability) • ปัจจัยสนับสนุนของแต่ละอุตสาหกรรม (Industry – Specific Factors) • ปัจจัยสนับสนุนของแต่ละประเทศที่กิจการเข้าไป ดำาเนินธุรกิจ (Location – specific Factors) • ปัจจัยเฉพาะของแต่ละกิจการ (Venture – Specific Factors) • กลยุทธ์ของกิจการ (Strategic Factors) 30
  • 31. 31
  • 32. การบ้า น : บทที่ 4 แบบฝึก หัด ท้า ยบทที่ 6 ข้อ 3 หน้า 162 จากตำา ราหลัก เล่ม ที่ 1 • ถ้า ท่า นเป็น ผู้บ ริห ารรถยนต์ใ นยุโ รป บริษ ท หนึง มีย อดจำา หน่า ยรถยนต์ใ น ั ่ ประเทศไทยจำา นวนไม่ม ากเนือ งจาก ่ ราคาแพงกว่า รถยนต์ใ นระดับ เดีย วกัน ของบริษ ัท อืน การที่จ ะให้ถ ูก ลงจะต้อ ง ่ มาประกอบในประเทศไทย ท่า นจะ เลือ กวิธ ใ ดในการมาลงทุน ให้อ ธิบ าย ี พร้อ มทั้ง สรุป ข้อ ดีแ ละข้อ เสีย ของวิธ ี การที่เ ลือ ก 32