SlideShare a Scribd company logo
2

ทฤษฎีดนตรี
Staff คือ บรรทัด 5 เส้น ใช้บันทึกระดับเสียง สูง-ต่ำของกีตำร์

STAFF
Treble Clef (กุญแจซอล) ใช้บันทึกโน้ตทีมีระดับเสียงสูง เช่น กีตำร์ ไวโอลิน

TREBLE
CLEF
การเปรียบเทียบระดับเสียงโน้ต โน้ตทีมีระดับต่ำกว่ำจะมีเสียงต่ำ โน้ตทีมีระดับสูงกว่ำจะมีเสียงสูง
การเขียนโน้ตมี 3 แบบ คือ
- โน้ตทีอยู่คำบเส้นบรรทัด 5 เส้น

LINES
- โน้ตทีอยู่ในช่องบรรทัด 5 เส้น

SPACES
3
- โน้ตบนเส้นน้อย (Ledger Lines) เส้นน้อย คือ เส้นเล็ก ๆ ทีอยู่ด้ำนบนหรือ
ใต้บรรทัด 5 เส้น ใช้ส่ำหรับเขียนตัวโน้ตทีไม่สำมำรถบันทึกลงในบรรทัด 5 เส้นได้ เส้นน้อยทีอยู่สูง
กว่ำบรรทัด 5 เส้นไปมำกเท่ำใดก็จะมีระดับเสียงสูงขึ้นมำกเท่ำนั้น และเส้นน้อยทีอยู่ต่ำกว่ำบรรทัด 5
เส้นมำกเท่ำใดก็จะยิงมีเสียงต่ำลงมำกเท่ำนั้น กำรเขียนโน้ตจะเว้นระยะห่ำงระหว่ำงเส้นน้อยให้เท่ำ ๆ
กับบรรทัด 5 เส้น และจะเขียนเส้นน้อยให้เลยตัวโน้ตออกมำด้ำนข้ำงเล็กน้อย ดังรูป

ตัวโน้ตในบันไดเสียง (Scale)

โด

เร

มี

ฟำ

ซอล

ลำ

ที

โด

Measure Bar Line (เส้นกั้นห้องเพลง) ใช้กั้นแบ่งค่ำโน้ตให้ครบตำมเครืองหมำยก่ำหนดจังหวะ
Bar line

MEASURE
BAR LINE
Measure

Double
Bar line

ใช้เมื่อจบเพลง
4
Time Signature (เครื่องหมายกาหนดจังหวะ) ใช้ก่ำหนดจังหวะใน 1 ห้องเพลง
TIME
SIGNATURE

หรือ



เลขตัวบน บอกจ่ำนวนตัวโน้ต
เลขตัวล่าง บอกตัวโน้ตหลักของห้องเพลง เช่น 2 คือ ตัวขำว (  ), 4 คือ ตัวด่ำ (  ), 8 คือ
ตัวเขบ็ต 1 ชั้น (  ) เป็นต้น
การอ่านค่าจังหวะโน้ต

1. Quarter Note (ตัวด่ำ) สัญลักษณ์



มีค่ำ 1 จังหวะ

2. Half Note (ตัวขำว) สัญลักษณ์



มีค่ำ 2 จังหวะ

3. Whole Note (ตัวกลม) สัญลักษณ์

 มีค่ำ 4 จังหวะ









เล่นตามการเคาะเท้า
1
หรือตบมือ

2

3

4





1 เว้น 3 เว้น
(1 - 2 3 - 4)


1 เว้น เว้น เว้น
(1 - 2 - 3 - 4)

Repeat sign (เครื่องหมายย้อน)
เมือพบเครืองหมำยนี้ให้ย้อนกลับไปเล่นใหม่ 1 รอบแล้วจึงเล่นต่อไป

REPEAT
SIGN
5
Dotted Note (โน้ตประจุด) จุดของโน้ตตัวนั้นจะยำวเป็น
โดยรวมจังหวะของโน้ตและจุด เช่น



4 จังหวะ


2 จังหวะ


1 จังหวะ

1
2

+

 =

+

เท่ำของโน้ตตัวนั้น กำรเล่นให้เล่น

2 จังหวะ =



+

=


6 จังหวะ



+

1 จังหวะ =

3 จังหวะ

+

 =



+

1
2

จังหวะ =

1 1 จังหวะ
2
6

ท่าทางในการเล่นกีตาร์

ท่ำทำงในกำรเล่นเป็นส่วนส่ำคัญเป็นอย่ำงยิง กำรใช้ท่ำนัง กำรวำงแขนและกำรใช้นิ้วที
ถูกต้องก็จะท่ำให้ได้คุณภำพเสียงทีดี ท่ำทำงในกำรเล่นประกอบด้วย
1. ท่านั่ง ท่ำทำงในกำรบรรเลงกีตำร์มี 2 ท่ำด้วยกันคือ ท่ำนังในแบบกีตำร์คลำสสิกและ
ท่ำนังในแบบกีตำร์โฟล์ค ซึงท่ำนังแบบกีตำร์โฟล์คเป็นแบบทีนิยมในกำรเล่นกีตำร์ทัวไป กำรเลือก
ท่ำนังนั้นขึ้นอยู่กับควำมถนัดของแต่ละบุคคล อุปกรณ์ประกอบท่ำนังคือ ทีวำงเท้ำ (Foot stool) ใน
กำรใช้ควรทดลองปรับควำมสูงต่ำของทีวำงเท้ำหลำย ๆ ระดับ ไม่ควรให้สูงหรือต่ำเกินไปท่ำให้เล่น
ไม่ถนัด
แบบคลาสสิค

แบบโฟล์ค

2. การวางแขน ให้วำงในระยะของแขนท่อนที 1 ปรับตำมควำมถนัด พิงกับกีตำร์ อยู่ใน
ท่ำสบำย หัวไหล่ไม่เกร็ง กำรเกร็งจะท่ำให้เกิดผลเสียต่อกำรเล่น คือ
- ท่ำให้ดีดเสียงกระตุก
- บังคับเสียงตำมต้องกำรไม่ได้
- ท่ำให้ยำกต่อกำรบรรเลงบทเพลงทีต้องใช้ควำมเร็ว

Foot stool
3. การวางมือ

7

ให้นิ้วหัวแม่มืออยู่กึงกลำงช่องเสียง (Sound Hole) โดยจะไม่ให้มือไปปิดทีช่องเสียง เพรำะจะ
ท่ำให้เสียงสะท้อนออกมำไม่เต็มที นิ้วหัวแม่มือ ให้วำงอยู่ในระยะระหว่ำงสำยที 4 5 และ 6 เพือตัด
เสียงรบกวนจำกสำยเปล่ำสำยที 1 และเมือกดโน้ตลำ (A) ในช่องที 5 สำยที 1
การทดสอบเสียงรบกวน
- ดีดสำยเปล่ำสำยที 1 จะเห็นว่ำสำยที 5 มีกำรสันสะเทือน
- ดีดสำยที 1 แล้ว หยุดเสียงในสำยที 1 จะเห็นว่ำมีเสียงกังวำนตำมออกมำ ซึงในกำร
บรรเลงบทเพลงถือว่ำเป็นเสียงรบกวน
4. การใช้นิ้วมือ กำรใช้นิ้วมือเป็นส่วนทีส่ำคัญทีสุดของกำรเล่นกีต้ำร์ เสียงทีมีคุณภำพ
ดีขึ้นอยู่กับกำรใช้ข้อนิ้วและมุมเล็บในกำรดีดทีถูกต้อง โดยลักษณะของกำรใช้นิ้วมือมีข้อแตกต่ำงๆ
ดังนี้
กำรดีดโดยใช้ข้อที 1 จะเกิดเสียงในลักษณะกระตุกท่ำให้เกิดเสียงทีไม่ดี
- กำรดีดโดยใช้ข้อที 2 จะเกิดเสียงออกมำในลักษณะฟำดนิ้วท่ำให้เกิดเสียงทีไม่ดี
- กำรดีดโดยใช้ข้อที 3 จะเกิดเสียงเป็นค่ำคล้ำยเสียงพูดหรือร้องซึงเป็นเสียงทีดี
8
ภาพการใช้ข้อนิ้วมือในการดีดกีต้าร์
ก่อนดีด

หลังดีด

ข้อควรระวังในกำรดีดคือกำรทีนิ้วสัมผัสกับสำยตรง ๆ อำจจะท่ำให้ข้อนิ้วหัก กำรดีดจะ
กลำยเป็นสองจังหวะ ซึงจะท่ำให้เสียจังหวะในกำรดีด จึงควรดีดเฉียงไปทำงนิ้วหัวแม่มือ
9

รูปแสดงกำรเล่นทีผิดวิธี (สังเกตว่ำข้อนิ้วชี้หัก)

กำรดีดด้วยนิ้วและเล็บจะท่ำให้เกิดควำมเร็วและควำมคมชัดของเสียง จึงควรไว้เล็บมือขวำ
ประมำณ 1 มิลลิเมตร ฝนให้โค้งตำมรูปนิ้วโดยมองจำกด้ำนหลังเพรำะเป็นด้ำนทีสัมผัสสำย

อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝนเล็บ
1. ตะไบเล็บ เป็นตะไบชนิดละเอียด หำซื้อได้ตำมห้ำงสรรพสินค้ำซื้อทัวไป ใช้ฝนขั้นตอนแรก
เพือขึ้นรูปเล็บ ควรฝนอย่ำงช้ำๆแล้วดีดทดสอบบนกีตำร์ไปด้วยเพือให้ได้ระยะทีเหมำะสม หำกเล็บ
ไม่ได้ขนำดจะท่ำให้เสียงดีดไม่สม่ำเสมอ
10
2. ตะใบเล็บเนื้อละเอียด ใช้ฝนในขั้นตอนที 2
เพือลบเศษเล็บและรอยขรุขระ ท่ำให้ดีดได้ลืน แต่ไม่
ควรจะฝนจนเล็บสั้นลงจำกเดิมอีก กำรฝนเล็บให้ฝน
จำกด้ำนหลังโดยกำรหงำยฝ่ำมือ ท่ำกำรฝนให้โค้ง
ตำมรูปนิ้วซึงจะได้ควำมโค้งเป็นมุมป้ำน เมือฝนเสร็จ
แล้วหงำยมือเพือดูจำกด้ำนหน้ำจะพบว่ำเล็บจะโค้งไม่
ตรงกับด้ำนหลัง อย่ำงไรก็ตำมเรำจะให้ควำมส่ำคัญ
กับเล็บด้ำนทีสัมผัสกับสำย
ภาพของเล็บที่ฝนแล้ว
ด้ำนหน้ำ

ด้ำนหลัง
11

การใช้นิ้วมือขวา
สัญลักษณ์นิ้วมือขวา
i ( Index ) หมำยถึง นิ้วชี้
m ( Middle ) หมำยถึง นิ้วกลำง
การดีด Rest Stroke หมำยถึง กำรดีดผ่ำนสำยหนึงแล้วไปหยุดทีสำยถัดไป
ฝึกการดีดพักสาย (Rest Stroke) ในสาย 1, 2 และ 3 ตามแบบฝึกหัดดังนี้
สาย 1, 2 และ 3 i

m i

สาย 1 i m i
สาย 2
สาย 3

m

1
2
3

i

m i

m i

m i

m

m i

i
m

i
i

m

m i

m.

m i

m.
.
.

m
i

i

m i

i
i

m i

m

m

m i

m i

m i .
.
.
ฝึกดีดตามจังหวะโน้ตในสายเปล่า สายที่ 1,2 และ 3
หมายเหตุ นักเรียนควรจะฝึกกำรดีดสลับนิ้วให้ได้ในบทนี้
สายที่ 1 เสียง E

เล่นต่อไป

สายที่ 2 เสียง B

สายที่ 3 เสียง G

12
13

การใช้นิ้วมือซ้าย

สัญลักษณ์ของนิ้วมือซ้ำยมีดังนี้
1 คือ นิ้วชี้
2 คือ นิ้วกลำง
3 คือ นิ้วนำง
4 คือ นิ้วก้อย
กำรใช้นิ้วมือซ้ำยทีให้เสียงทีดีและไม่ท่ำให้เจ็บนิ้วท่ำได้โดยกำรกดลงไปในต่ำแหน่งชิดกับเฟร็ต
ออกแรงพอให้สำยติดกับเฟร็ต นิ้วเอียงท่ำมุมประมำณ 45 องศำกับช่องกีตำร์ (Fingerboard) และ
ไม่ก่ำมือ จะท่ำให้นิ้วเคลือนทีได้เร็วขึ้น กำรเปลียนต่ำแหน่งแต่ละครั้งให้คลำยกล้ำมเนื้อตลอด จะท่ำ
ให้เล่นได้เร็วและไม่เมือยมือ
นิ้วมือซ้ายที่ดี
นิ้วเอียงทามุมประมาณ 45 องศากับช่องกีตาร์

การกามือ

นิ้วมือซ้ายที่ไม่ดี
นิ้วหัก
14

การกดโน้ตในสายที่ 1
E

F

ใช้นิ้วชี้กด fret ที่ 1

G
ข้อสังเกต
เมือดีดโน้ตตัว F (ฟำ) ไปทีโน้ตตัว G (ซอล) ควรจะให้
เสียงต่อเนืองกัน ไม่ควรยกนิ้วทีกดตัว F (ฟำ) ออกก่อน
ดีดเสียง G (ซอล) เพรำะจะท่ำให้เสียงขำดควำม
ต่อเนืองควรปฏิบัติเมือดีดโน้ตในสำยอืน ๆ ด้วย
ใช้นิ้วนำงกด fret ที 3 โดยนิ้วชี้ยังกดทีโน้ตตัว F

มี

ฟำ

สำยเปล่ำ

กดช่องที 1

ซอล
กดช่องที 3

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
Chinnapat Noosong
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
กึม จันทิภา
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
Watcharapol Wiboolyasarin
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Pracha Wongsrida
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
Aj.Mallika Phongphaew
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Wilawun Wisanuvekin
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
Thanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 

Similar to Guitar

Universal music theory
Universal music theoryUniversal music theory
Universal music theorymottoman
 
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)apipakza
 
บรรทัด 5 เส้น (Staff)
บรรทัด 5 เส้น (Staff)บรรทัด 5 เส้น (Staff)
บรรทัด 5 เส้น (Staff)
first1122
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
patnid
 
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
gueste0411f21
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
นางอรสา บุญยาพงษ์
 
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
Thai Alphabet - Consonants and Vowels Card Description
Thai Alphabet - Consonants and Vowels Card DescriptionThai Alphabet - Consonants and Vowels Card Description
Thai Alphabet - Consonants and Vowels Card DescriptionLanna Innovation
 
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์nongklongdondaeng school khonkaen 3
 

Similar to Guitar (16)

Universal music theory
Universal music theoryUniversal music theory
Universal music theory
 
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)เรื่อง  ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)
 
บรรทัด 5 เส้น (Staff)
บรรทัด 5 เส้น (Staff)บรรทัด 5 เส้น (Staff)
บรรทัด 5 เส้น (Staff)
 
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
 
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
 
Thai Alphabet - Consonants and Vowels Card Description
Thai Alphabet - Consonants and Vowels Card DescriptionThai Alphabet - Consonants and Vowels Card Description
Thai Alphabet - Consonants and Vowels Card Description
 
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 

Recently uploaded (8)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 

Guitar

  • 1. 2 ทฤษฎีดนตรี Staff คือ บรรทัด 5 เส้น ใช้บันทึกระดับเสียง สูง-ต่ำของกีตำร์ STAFF Treble Clef (กุญแจซอล) ใช้บันทึกโน้ตทีมีระดับเสียงสูง เช่น กีตำร์ ไวโอลิน TREBLE CLEF การเปรียบเทียบระดับเสียงโน้ต โน้ตทีมีระดับต่ำกว่ำจะมีเสียงต่ำ โน้ตทีมีระดับสูงกว่ำจะมีเสียงสูง การเขียนโน้ตมี 3 แบบ คือ - โน้ตทีอยู่คำบเส้นบรรทัด 5 เส้น LINES - โน้ตทีอยู่ในช่องบรรทัด 5 เส้น SPACES
  • 2. 3 - โน้ตบนเส้นน้อย (Ledger Lines) เส้นน้อย คือ เส้นเล็ก ๆ ทีอยู่ด้ำนบนหรือ ใต้บรรทัด 5 เส้น ใช้ส่ำหรับเขียนตัวโน้ตทีไม่สำมำรถบันทึกลงในบรรทัด 5 เส้นได้ เส้นน้อยทีอยู่สูง กว่ำบรรทัด 5 เส้นไปมำกเท่ำใดก็จะมีระดับเสียงสูงขึ้นมำกเท่ำนั้น และเส้นน้อยทีอยู่ต่ำกว่ำบรรทัด 5 เส้นมำกเท่ำใดก็จะยิงมีเสียงต่ำลงมำกเท่ำนั้น กำรเขียนโน้ตจะเว้นระยะห่ำงระหว่ำงเส้นน้อยให้เท่ำ ๆ กับบรรทัด 5 เส้น และจะเขียนเส้นน้อยให้เลยตัวโน้ตออกมำด้ำนข้ำงเล็กน้อย ดังรูป ตัวโน้ตในบันไดเสียง (Scale) โด เร มี ฟำ ซอล ลำ ที โด Measure Bar Line (เส้นกั้นห้องเพลง) ใช้กั้นแบ่งค่ำโน้ตให้ครบตำมเครืองหมำยก่ำหนดจังหวะ Bar line MEASURE BAR LINE Measure Double Bar line ใช้เมื่อจบเพลง
  • 3. 4 Time Signature (เครื่องหมายกาหนดจังหวะ) ใช้ก่ำหนดจังหวะใน 1 ห้องเพลง TIME SIGNATURE หรือ  เลขตัวบน บอกจ่ำนวนตัวโน้ต เลขตัวล่าง บอกตัวโน้ตหลักของห้องเพลง เช่น 2 คือ ตัวขำว (  ), 4 คือ ตัวด่ำ (  ), 8 คือ ตัวเขบ็ต 1 ชั้น (  ) เป็นต้น การอ่านค่าจังหวะโน้ต 1. Quarter Note (ตัวด่ำ) สัญลักษณ์  มีค่ำ 1 จังหวะ 2. Half Note (ตัวขำว) สัญลักษณ์  มีค่ำ 2 จังหวะ 3. Whole Note (ตัวกลม) สัญลักษณ์  มีค่ำ 4 จังหวะ     เล่นตามการเคาะเท้า 1 หรือตบมือ 2 3 4   1 เว้น 3 เว้น (1 - 2 3 - 4)  1 เว้น เว้น เว้น (1 - 2 - 3 - 4) Repeat sign (เครื่องหมายย้อน) เมือพบเครืองหมำยนี้ให้ย้อนกลับไปเล่นใหม่ 1 รอบแล้วจึงเล่นต่อไป REPEAT SIGN
  • 4. 5 Dotted Note (โน้ตประจุด) จุดของโน้ตตัวนั้นจะยำวเป็น โดยรวมจังหวะของโน้ตและจุด เช่น   4 จังหวะ  2 จังหวะ  1 จังหวะ 1 2 +  = + เท่ำของโน้ตตัวนั้น กำรเล่นให้เล่น 2 จังหวะ =  + =  6 จังหวะ  + 1 จังหวะ = 3 จังหวะ +  =  + 1 2 จังหวะ = 1 1 จังหวะ 2
  • 5. 6 ท่าทางในการเล่นกีตาร์ ท่ำทำงในกำรเล่นเป็นส่วนส่ำคัญเป็นอย่ำงยิง กำรใช้ท่ำนัง กำรวำงแขนและกำรใช้นิ้วที ถูกต้องก็จะท่ำให้ได้คุณภำพเสียงทีดี ท่ำทำงในกำรเล่นประกอบด้วย 1. ท่านั่ง ท่ำทำงในกำรบรรเลงกีตำร์มี 2 ท่ำด้วยกันคือ ท่ำนังในแบบกีตำร์คลำสสิกและ ท่ำนังในแบบกีตำร์โฟล์ค ซึงท่ำนังแบบกีตำร์โฟล์คเป็นแบบทีนิยมในกำรเล่นกีตำร์ทัวไป กำรเลือก ท่ำนังนั้นขึ้นอยู่กับควำมถนัดของแต่ละบุคคล อุปกรณ์ประกอบท่ำนังคือ ทีวำงเท้ำ (Foot stool) ใน กำรใช้ควรทดลองปรับควำมสูงต่ำของทีวำงเท้ำหลำย ๆ ระดับ ไม่ควรให้สูงหรือต่ำเกินไปท่ำให้เล่น ไม่ถนัด แบบคลาสสิค แบบโฟล์ค 2. การวางแขน ให้วำงในระยะของแขนท่อนที 1 ปรับตำมควำมถนัด พิงกับกีตำร์ อยู่ใน ท่ำสบำย หัวไหล่ไม่เกร็ง กำรเกร็งจะท่ำให้เกิดผลเสียต่อกำรเล่น คือ - ท่ำให้ดีดเสียงกระตุก - บังคับเสียงตำมต้องกำรไม่ได้ - ท่ำให้ยำกต่อกำรบรรเลงบทเพลงทีต้องใช้ควำมเร็ว Foot stool
  • 6. 3. การวางมือ 7 ให้นิ้วหัวแม่มืออยู่กึงกลำงช่องเสียง (Sound Hole) โดยจะไม่ให้มือไปปิดทีช่องเสียง เพรำะจะ ท่ำให้เสียงสะท้อนออกมำไม่เต็มที นิ้วหัวแม่มือ ให้วำงอยู่ในระยะระหว่ำงสำยที 4 5 และ 6 เพือตัด เสียงรบกวนจำกสำยเปล่ำสำยที 1 และเมือกดโน้ตลำ (A) ในช่องที 5 สำยที 1 การทดสอบเสียงรบกวน - ดีดสำยเปล่ำสำยที 1 จะเห็นว่ำสำยที 5 มีกำรสันสะเทือน - ดีดสำยที 1 แล้ว หยุดเสียงในสำยที 1 จะเห็นว่ำมีเสียงกังวำนตำมออกมำ ซึงในกำร บรรเลงบทเพลงถือว่ำเป็นเสียงรบกวน 4. การใช้นิ้วมือ กำรใช้นิ้วมือเป็นส่วนทีส่ำคัญทีสุดของกำรเล่นกีต้ำร์ เสียงทีมีคุณภำพ ดีขึ้นอยู่กับกำรใช้ข้อนิ้วและมุมเล็บในกำรดีดทีถูกต้อง โดยลักษณะของกำรใช้นิ้วมือมีข้อแตกต่ำงๆ ดังนี้ กำรดีดโดยใช้ข้อที 1 จะเกิดเสียงในลักษณะกระตุกท่ำให้เกิดเสียงทีไม่ดี - กำรดีดโดยใช้ข้อที 2 จะเกิดเสียงออกมำในลักษณะฟำดนิ้วท่ำให้เกิดเสียงทีไม่ดี - กำรดีดโดยใช้ข้อที 3 จะเกิดเสียงเป็นค่ำคล้ำยเสียงพูดหรือร้องซึงเป็นเสียงทีดี
  • 7. 8 ภาพการใช้ข้อนิ้วมือในการดีดกีต้าร์ ก่อนดีด หลังดีด ข้อควรระวังในกำรดีดคือกำรทีนิ้วสัมผัสกับสำยตรง ๆ อำจจะท่ำให้ข้อนิ้วหัก กำรดีดจะ กลำยเป็นสองจังหวะ ซึงจะท่ำให้เสียจังหวะในกำรดีด จึงควรดีดเฉียงไปทำงนิ้วหัวแม่มือ
  • 8. 9 รูปแสดงกำรเล่นทีผิดวิธี (สังเกตว่ำข้อนิ้วชี้หัก) กำรดีดด้วยนิ้วและเล็บจะท่ำให้เกิดควำมเร็วและควำมคมชัดของเสียง จึงควรไว้เล็บมือขวำ ประมำณ 1 มิลลิเมตร ฝนให้โค้งตำมรูปนิ้วโดยมองจำกด้ำนหลังเพรำะเป็นด้ำนทีสัมผัสสำย อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝนเล็บ 1. ตะไบเล็บ เป็นตะไบชนิดละเอียด หำซื้อได้ตำมห้ำงสรรพสินค้ำซื้อทัวไป ใช้ฝนขั้นตอนแรก เพือขึ้นรูปเล็บ ควรฝนอย่ำงช้ำๆแล้วดีดทดสอบบนกีตำร์ไปด้วยเพือให้ได้ระยะทีเหมำะสม หำกเล็บ ไม่ได้ขนำดจะท่ำให้เสียงดีดไม่สม่ำเสมอ
  • 9. 10 2. ตะใบเล็บเนื้อละเอียด ใช้ฝนในขั้นตอนที 2 เพือลบเศษเล็บและรอยขรุขระ ท่ำให้ดีดได้ลืน แต่ไม่ ควรจะฝนจนเล็บสั้นลงจำกเดิมอีก กำรฝนเล็บให้ฝน จำกด้ำนหลังโดยกำรหงำยฝ่ำมือ ท่ำกำรฝนให้โค้ง ตำมรูปนิ้วซึงจะได้ควำมโค้งเป็นมุมป้ำน เมือฝนเสร็จ แล้วหงำยมือเพือดูจำกด้ำนหน้ำจะพบว่ำเล็บจะโค้งไม่ ตรงกับด้ำนหลัง อย่ำงไรก็ตำมเรำจะให้ควำมส่ำคัญ กับเล็บด้ำนทีสัมผัสกับสำย ภาพของเล็บที่ฝนแล้ว ด้ำนหน้ำ ด้ำนหลัง
  • 10. 11 การใช้นิ้วมือขวา สัญลักษณ์นิ้วมือขวา i ( Index ) หมำยถึง นิ้วชี้ m ( Middle ) หมำยถึง นิ้วกลำง การดีด Rest Stroke หมำยถึง กำรดีดผ่ำนสำยหนึงแล้วไปหยุดทีสำยถัดไป ฝึกการดีดพักสาย (Rest Stroke) ในสาย 1, 2 และ 3 ตามแบบฝึกหัดดังนี้ สาย 1, 2 และ 3 i m i สาย 1 i m i สาย 2 สาย 3 m 1 2 3 i m i m i m i m m i i m i i m m i m. m i m. . . m i i m i i i m i m m m i m i m i . . .
  • 11. ฝึกดีดตามจังหวะโน้ตในสายเปล่า สายที่ 1,2 และ 3 หมายเหตุ นักเรียนควรจะฝึกกำรดีดสลับนิ้วให้ได้ในบทนี้ สายที่ 1 เสียง E เล่นต่อไป สายที่ 2 เสียง B สายที่ 3 เสียง G 12
  • 12. 13 การใช้นิ้วมือซ้าย สัญลักษณ์ของนิ้วมือซ้ำยมีดังนี้ 1 คือ นิ้วชี้ 2 คือ นิ้วกลำง 3 คือ นิ้วนำง 4 คือ นิ้วก้อย กำรใช้นิ้วมือซ้ำยทีให้เสียงทีดีและไม่ท่ำให้เจ็บนิ้วท่ำได้โดยกำรกดลงไปในต่ำแหน่งชิดกับเฟร็ต ออกแรงพอให้สำยติดกับเฟร็ต นิ้วเอียงท่ำมุมประมำณ 45 องศำกับช่องกีตำร์ (Fingerboard) และ ไม่ก่ำมือ จะท่ำให้นิ้วเคลือนทีได้เร็วขึ้น กำรเปลียนต่ำแหน่งแต่ละครั้งให้คลำยกล้ำมเนื้อตลอด จะท่ำ ให้เล่นได้เร็วและไม่เมือยมือ นิ้วมือซ้ายที่ดี นิ้วเอียงทามุมประมาณ 45 องศากับช่องกีตาร์ การกามือ นิ้วมือซ้ายที่ไม่ดี นิ้วหัก
  • 13. 14 การกดโน้ตในสายที่ 1 E F ใช้นิ้วชี้กด fret ที่ 1 G ข้อสังเกต เมือดีดโน้ตตัว F (ฟำ) ไปทีโน้ตตัว G (ซอล) ควรจะให้ เสียงต่อเนืองกัน ไม่ควรยกนิ้วทีกดตัว F (ฟำ) ออกก่อน ดีดเสียง G (ซอล) เพรำะจะท่ำให้เสียงขำดควำม ต่อเนืองควรปฏิบัติเมือดีดโน้ตในสำยอืน ๆ ด้วย ใช้นิ้วนำงกด fret ที 3 โดยนิ้วชี้ยังกดทีโน้ตตัว F มี ฟำ สำยเปล่ำ กดช่องที 1 ซอล กดช่องที 3