SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ใบความรู้ท ี่1 เรื่อ ง ทฤษฎีด นตรีส ากล
                   เบื้อ งต้น
พื้น ฐานความรู้เ รื่อ งโน๊ต
      ตัวโน๊ตทั้งหมด ตามที่เราคุ้นเคยคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที
โด ซึ่งโน้ตแต่ละตัวจะถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งโดยนำาเอาตัวอักษร
ภาษาอังกฤษมาตั้ง ดังนี้

C = โด                 D = เร

E = มี                 F = ฟา

G = ซอล          A = ลา

B = ที

ซึ่งจะอธิบายได้ง่ายจากคีย์บอร์ด ดังนี้




อธิบ ายเพิ่ม เติม จากรูป ด้า นล่า ง ดัง นี้


ให้ลูกศรชี้ขึ้น    เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่สูงขึ้นไป โดยการ
ใส่เครื่องหมายชาร์ฟ (#) และ
ให้ลูกศรชี้ลง   เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่ตำ่าลงมา โดยการใส่
เครื่องหมายแฟลต (b)
C สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C#                    C ลดลง
ครึ่งเสียง = B
D สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = D#                   D ลดลง
ครึ่งเสียง = Db
E สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F                    E ลดลง
ครึ่งเสียง = Eb
F สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F#                   F ลดลง
ครึ่งเสียง = E
G สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = G#                   G ลดลง
ครึ่งเสียง = Gb
A สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = A#                   A ลดลง
ครึ่งเสียง = Ab
B สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C                    B ลดลง
ครึ่งเสียง = Bb

จะสังเกตได้ว่า มีเสียงที่เท่ากันอยู่ดังนี้

C# = Db

D# = Eb

F# = Gb

G# = Ab

A# = Bb



ระดับ เสีย งและชื่อ ทางดนตรี
การกำาหนดให้เสียงมีระดับสูงตำ่ากว่ากันตามชื่อเรียกได้ต้องมี
บรรทัด 5 เส้นมีส่วนประกอบคือ จำานวนเส้น 5 เส้นจำานวนช่อง 4
ช่อง
          การบันทึกตัวโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้นทำาได้ 2 แบบ โดย
                 การบันทึกจะต้องชัดเจนแน่นอน
           1.ให้ห ัว ตัว โน้ต วางบนเส้น (On a Line)
           2.ให้ห ัว ตัว โน้ต วางในช่อ ง (In a Space)
       เราจะสามารถบอกชื่อตัวโน้ตต่างๆได้ ก็ต้องมีเครื่องหมาย
เฉพาะกำากับไว้ก่อนหน้าตัวโน้ต
เครื่องหมายเฉพาะนี้เรียกว่า เครื่องหมายประจำาหลัก ที่เราจะ
ศึกษานี้ มี 2 ชนิด
คือ กุญแจซอล



บรรทัด 5 เส้น ประกอบด้ว ย




     การกำา หนดค่า ความสั้น ยาวของเสีย ง
        นอกจากระดับเสียงแล้วเราต้องกำาหนดความสั้นยาวของ
เสียงโดยการใช้สัญลักษณ์ทางดนตรีอันได้แก่

                โน๊ตตัว
                กลม
                โน๊ตตัว
                ขาว
                โน๊ตตัวดำา
โน๊ตเขบ็ต    หรือเมือมี 2 ตัวติด
                                    ่
                1 ชั้น
                             กันจะเขียน

                โน๊ตเขบ็ต    หรือเมื่อมี 2 ตัวติด
                2 ชั้น
                             กันจะเขียน

      และอาจจะมีถึงโน๊ตเขบ็ต 3 หรือ 4 ชั้นก็ได้ และอาจจะ
เขียนตัวโน๊ตกลับหัวก็ได้ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมในการเขียน



โน๊ต ตัว หยุด
     ตัวหยุดจะบอกความสั้นยาวของการหยุดเสียงโดยใช้
สัญลักษณ์ดังนี้

              ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต
              ตัวกลม
              ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต
              ตัวขาว
              ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต
              ตัวดำา
              ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต
              เขบ็ต 1 ชั้น
              ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต
              เขบ็ต 2 ชั้น

การแบ่ง ห้อ งทางดนตรี (Measure)
         ในการบันทึกโน๊ตดนตรีจะต้องแบ่ง ออกเป็นส่วน ๆ เท่า
ๆ กันด้วยเส้นกั้นแต่ละห้องในแนวดิ่งที่เรียกว่า bar line โดยที่ผล
รวมของจังหวะทั้งหมดในแต่ละห้องต้องมีความยาวหรือจังหวะเท่า
กัน และ 1 ห้อง จะเรียกว่า 1 bar

Time Signature
- ตัวเลขตัวบน หมายถึง จำานวนจังหวะใน 1 ห้อง(1
bar) ว่าใน 1 ห้องดังกล่าวนั้นมีกี่จังหวะนับ เช่น 2 หมายถึงใน
ห้องนั้นมี 2 จังหวะนับ ถ้า 3 คือ มี 3 จังหวะนับใน 1 ห้อง

         - ตัวเลขตัวล่าง หมายถึง การกำาหนดว่าจะให้สัญลักษณ์
โน๊ตประเภทใดมีค่าเป็น 1 จังหวะ เช่นเลข 4 จะหมายถึงให้โน๊ต
ตัวดำา (quarter note) มีค่าเป็น 1 จังหวะ และมีผลให้โน๊ตตัว
ขาว (half note)มีค่าเป็น 2 จังหวะนับ โน๊ตตัวกลม whole
note) มีค่าเป็น 4 จังหวะนับ และโน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น (eighth
note) มีค่า 1/2 จังหวะนับ เป็นต้น



ตัว อย่า ง time signature ที่พ บเห็น บ่อ ย ๆ กัน นะ
ครับ

          2     ให้โน๊ตตัวดำามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 2
          4     จังหวะใน 1 ห้อง

          3     ให้โน๊ตตัวดำามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 3
          4     จังหวะใน 1 ห้อง

          4     ให้โน๊ตตัวดำามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 4
          4     จังหวะใน 1 ห้อง

          6     ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ
          8     และมี 6 จังหวะใน 1 ห้อง

          12    ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ
           8    และมี 12 จังหวะใน 1 ห้อง
โน๊ต ประจุด (Dotted Note)
        ในบางกรณีทีเราต้องการให้ค่าตัวโน๊ตนั้นมีจังหวะยาวขึ้นมา
อีก ครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง เราจะใช้จุด (dot) แทนค่าให้เพิ่ม
จังหวะอีกครึ่งนึงของตัวเองโดยเขียนจุดไว้ด้านข้างของตัวโน๊ตที่
ต้องการเพิ่มจังหวะ เช่นเมื่อต้องการสร้างโน๊ต 3 จังหวะจากโน๊ต
ตัวขาวที่มีค่า 2 จังหวะ(กรณีที่ time signature เป็น 4/4 โน๊ต
ตัวขาวมีค่า 2 จังหวะ)เราก็ประจุดโน๊ตตัวขาวซึ่งมีผลให้มีจังหวะ
เพิ่มขึ้นครึ่งนึงของ 2 คือ 1 รวมเป็น 3 จังหวะ หรือเท่ากับโน๊ตตัว
ดำา 3 ตัว

         หรือเมือให้โน๊ตตัวดำา(มีความยาว 1 จังหวะ)ประจุดก็จะ
                ่
หมายถึงจังหวะจะเพิ่มขึ้นอีกครึ่งนึงของ 1 คือ 1/2 รวมเป็น 1
1/2 หรือ 1 จังหวะครึ่งนั่นเองซึ่งมีค่าเท่ากับโน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น 3
ตัว ลองดูจากการเปรียบเทียบข่างล่างนี้

More Related Content

What's hot

สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
supap6259
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
Kantiya Dornkanha
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
waranyuati
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
Pazalulla Ing Chelsea
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
supap6259
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
Nun'Top Lovely LoveLove
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
krupornpana55
 

What's hot (20)

แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 

Similar to เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)

Universal music theory
Universal music theoryUniversal music theory
Universal music theory
mottoman
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
PingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 

Similar to เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1) (13)

ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
 
Universal music theory
Universal music theoryUniversal music theory
Universal music theory
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
Guitar
GuitarGuitar
Guitar
 
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 

เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก (1)

  • 1. ใบความรู้ท ี่1 เรื่อ ง ทฤษฎีด นตรีส ากล เบื้อ งต้น พื้น ฐานความรู้เ รื่อ งโน๊ต ตัวโน๊ตทั้งหมด ตามที่เราคุ้นเคยคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด ซึ่งโน้ตแต่ละตัวจะถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งโดยนำาเอาตัวอักษร ภาษาอังกฤษมาตั้ง ดังนี้ C = โด D = เร E = มี F = ฟา G = ซอล A = ลา B = ที ซึ่งจะอธิบายได้ง่ายจากคีย์บอร์ด ดังนี้ อธิบ ายเพิ่ม เติม จากรูป ด้า นล่า ง ดัง นี้ ให้ลูกศรชี้ขึ้น เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่สูงขึ้นไป โดยการ ใส่เครื่องหมายชาร์ฟ (#) และ ให้ลูกศรชี้ลง เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่ตำ่าลงมา โดยการใส่ เครื่องหมายแฟลต (b)
  • 2. C สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C# C ลดลง ครึ่งเสียง = B D สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = D# D ลดลง ครึ่งเสียง = Db E สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F E ลดลง ครึ่งเสียง = Eb F สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F# F ลดลง ครึ่งเสียง = E G สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = G# G ลดลง ครึ่งเสียง = Gb A สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = A# A ลดลง ครึ่งเสียง = Ab B สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C B ลดลง ครึ่งเสียง = Bb จะสังเกตได้ว่า มีเสียงที่เท่ากันอยู่ดังนี้ C# = Db D# = Eb F# = Gb G# = Ab A# = Bb ระดับ เสีย งและชื่อ ทางดนตรี
  • 3. การกำาหนดให้เสียงมีระดับสูงตำ่ากว่ากันตามชื่อเรียกได้ต้องมี บรรทัด 5 เส้นมีส่วนประกอบคือ จำานวนเส้น 5 เส้นจำานวนช่อง 4 ช่อง การบันทึกตัวโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้นทำาได้ 2 แบบ โดย การบันทึกจะต้องชัดเจนแน่นอน 1.ให้ห ัว ตัว โน้ต วางบนเส้น (On a Line) 2.ให้ห ัว ตัว โน้ต วางในช่อ ง (In a Space) เราจะสามารถบอกชื่อตัวโน้ตต่างๆได้ ก็ต้องมีเครื่องหมาย เฉพาะกำากับไว้ก่อนหน้าตัวโน้ต เครื่องหมายเฉพาะนี้เรียกว่า เครื่องหมายประจำาหลัก ที่เราจะ ศึกษานี้ มี 2 ชนิด คือ กุญแจซอล บรรทัด 5 เส้น ประกอบด้ว ย การกำา หนดค่า ความสั้น ยาวของเสีย ง นอกจากระดับเสียงแล้วเราต้องกำาหนดความสั้นยาวของ เสียงโดยการใช้สัญลักษณ์ทางดนตรีอันได้แก่ โน๊ตตัว กลม โน๊ตตัว ขาว โน๊ตตัวดำา
  • 4. โน๊ตเขบ็ต หรือเมือมี 2 ตัวติด ่ 1 ชั้น กันจะเขียน โน๊ตเขบ็ต หรือเมื่อมี 2 ตัวติด 2 ชั้น กันจะเขียน และอาจจะมีถึงโน๊ตเขบ็ต 3 หรือ 4 ชั้นก็ได้ และอาจจะ เขียนตัวโน๊ตกลับหัวก็ได้ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมในการเขียน โน๊ต ตัว หยุด ตัวหยุดจะบอกความสั้นยาวของการหยุดเสียงโดยใช้ สัญลักษณ์ดังนี้ ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต ตัวกลม ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต ตัวขาว ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต ตัวดำา ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต เขบ็ต 1 ชั้น ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ต เขบ็ต 2 ชั้น การแบ่ง ห้อ งทางดนตรี (Measure) ในการบันทึกโน๊ตดนตรีจะต้องแบ่ง ออกเป็นส่วน ๆ เท่า ๆ กันด้วยเส้นกั้นแต่ละห้องในแนวดิ่งที่เรียกว่า bar line โดยที่ผล รวมของจังหวะทั้งหมดในแต่ละห้องต้องมีความยาวหรือจังหวะเท่า กัน และ 1 ห้อง จะเรียกว่า 1 bar Time Signature
  • 5. - ตัวเลขตัวบน หมายถึง จำานวนจังหวะใน 1 ห้อง(1 bar) ว่าใน 1 ห้องดังกล่าวนั้นมีกี่จังหวะนับ เช่น 2 หมายถึงใน ห้องนั้นมี 2 จังหวะนับ ถ้า 3 คือ มี 3 จังหวะนับใน 1 ห้อง - ตัวเลขตัวล่าง หมายถึง การกำาหนดว่าจะให้สัญลักษณ์ โน๊ตประเภทใดมีค่าเป็น 1 จังหวะ เช่นเลข 4 จะหมายถึงให้โน๊ต ตัวดำา (quarter note) มีค่าเป็น 1 จังหวะ และมีผลให้โน๊ตตัว ขาว (half note)มีค่าเป็น 2 จังหวะนับ โน๊ตตัวกลม whole note) มีค่าเป็น 4 จังหวะนับ และโน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น (eighth note) มีค่า 1/2 จังหวะนับ เป็นต้น ตัว อย่า ง time signature ที่พ บเห็น บ่อ ย ๆ กัน นะ ครับ 2 ให้โน๊ตตัวดำามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 2 4 จังหวะใน 1 ห้อง 3 ให้โน๊ตตัวดำามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 3 4 จังหวะใน 1 ห้อง 4 ให้โน๊ตตัวดำามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 4 4 จังหวะใน 1 ห้อง 6 ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ 8 และมี 6 จังหวะใน 1 ห้อง 12 ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ 8 และมี 12 จังหวะใน 1 ห้อง
  • 6. โน๊ต ประจุด (Dotted Note) ในบางกรณีทีเราต้องการให้ค่าตัวโน๊ตนั้นมีจังหวะยาวขึ้นมา อีก ครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง เราจะใช้จุด (dot) แทนค่าให้เพิ่ม จังหวะอีกครึ่งนึงของตัวเองโดยเขียนจุดไว้ด้านข้างของตัวโน๊ตที่ ต้องการเพิ่มจังหวะ เช่นเมื่อต้องการสร้างโน๊ต 3 จังหวะจากโน๊ต ตัวขาวที่มีค่า 2 จังหวะ(กรณีที่ time signature เป็น 4/4 โน๊ต ตัวขาวมีค่า 2 จังหวะ)เราก็ประจุดโน๊ตตัวขาวซึ่งมีผลให้มีจังหวะ เพิ่มขึ้นครึ่งนึงของ 2 คือ 1 รวมเป็น 3 จังหวะ หรือเท่ากับโน๊ตตัว ดำา 3 ตัว หรือเมือให้โน๊ตตัวดำา(มีความยาว 1 จังหวะ)ประจุดก็จะ ่ หมายถึงจังหวะจะเพิ่มขึ้นอีกครึ่งนึงของ 1 คือ 1/2 รวมเป็น 1 1/2 หรือ 1 จังหวะครึ่งนั่นเองซึ่งมีค่าเท่ากับโน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น 3 ตัว ลองดูจากการเปรียบเทียบข่างล่างนี้