SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 10 การประชุม อาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว
ความหมายการประชุม
การประชุม ในภาษาไทยเป็นคาทั่วไปที่ใช้ครอบคลุมกับการประชุมเกือบทุกชนิด
แต่ในภาษาอังกฤษ ชื่อและรูปแบบของการประชุมมีหลากหลายแต่ชัดเจน ทั้งที่ใช้
โดยทั่วไป เช่น meeting และที่ใช้เฉพาะ มีรูปแบบเฉพาะ ปัจจุบันประเทศไทยมี
ความก้าวหน้าทั้งทางวิชาการและทางธุรกิจจึงมีการจัดประชุมที่มีรูปแบบเฉพาะอย่าง
แพร่หลายกันมากขึ้น แต่การเรียกชื่อการประชุมในภาษาไทยยังสับสนและมักไม่ต้อง
ตรงกัน
รูปแบบการประชุม
การประชุมที่มีรูปแบบต่างๆ แต่มีชื่อเรียกต่างกัน ที่เรียกในภาษาไทย ได้แก่
 การชุมนุมทางวิชาการ การประชุมเอกสารัตถ์ การประชุมนานาทรรศน์
(convention) (symposium) การประชุมในด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ส่วนใหญ่จะเน้น
ไปที่การแก้ประเด็นปัญหาสาคัญ
 การประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ (conference) หมายถึงการประชุมของ
นักวิชาการ หรือ นักวิชาชีพเป็นจานวนมากอย่างเป็นทางการ เพื่อนาเสนอผลงานหรือ
ผลการค้นคว้า วิจัย โดยการปาฐกถา (speeches) ปฏิบัติการ (workshops) หรือด้วย
วิธีการอื่น
รูปแบบการประชุม (ต่อ)
การประชุมที่มีรูปแบบต่างๆ (ต่อ)
 การประชุมเชิงปฏิบัติการ หรือ เวิร์กชอป (workshop) หมายถึงการประชุมร่วมกัน
เป็นกลุ่มๆ เป็นระยะเวลานานหลายวัน โดยเน้นการร่วมกันทางานเพื่อฝึกการแก้ปัญหา
โดยผู้เข้าประชุมทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมลงมือปฏิบัติ (hands-on training)
 การประชุมเป็นทางการ (congress) หมายถึงการประชุมที่มีผู้แทนประเทศ หรือ
ผู้แทนภูมิภาคที่เป็นสมาชิกเข้าร่วมประชุมอย่างเป็นทางการ
 การสัมมนา (seminar) หมายถึง การเรียนการสอน ในระดับอุดมศึกษา หรือทาง
บริษัทต่างๆ โดยการแบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็กเพื่ออภิปรายเรื่องราวเฉพาะตอนใด
ตอนหนึ่งของบทเรียนโดยผู้เรียนต้องเตรียมเอกสารล่วงหน้ามาเสนอต่อกลุ่ม
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอพิจารณา
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม
1. ศัพท์เกี่ยวกับรูปแบบของการประชุม
1.1 การประชุมเฉพาะกลุ่ม คือ การประชุมเฉพาะผู้มีสิทธิ์และหน้าที่เท่านั้น
1.2 การประชุมตามปกติ คือ การประชุมที่ทาตามกาหนดนัดหมายกันไว้
ล่วงหน้าอย่างแน่นอน
1.3 การประชุมพิเศษ คือ การประชุมที่กาหนดขึ้นนอกเหนือไปจากการประชุม
ตามปกติ
1.4 การประชุมสามัญ คือ การประชุมที่ข้อบังคับกาหนดไว้ตายตัว
1.5 การประชุมวิสามัญ คือ การประชุมที่ข้อบังคับเปิดโอกาสให้ทาได้ตามความ
จาเป็น
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
1. ศัพท์เกี่ยวกับรูปแบบของการประชุม (ต่อ)
1.6 การประชุมลับ คือ การประชุมที่จะเปิดเผยได้เฉพาะมติหรือข้อปฏิบัติเมื่อถึง
กาหนดเท่านั้น
1.7 การประชุมปรึกษา คือ การประชุมเพื่อปรึกษาหารือ เช่น วางนโยบาย
เสนอแนะแนวทางปฏิบัติแล้วสรุปผล
1.8 การประชุมปฏิบัติการ คือ การประชุมของคณะบุคคลที่ปฏิบัติงานประเภท
เดียวกัน เพื่อแสวงความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางปฏิบัติงานให้บังเกิดสัมฤทธิผลสูงสุด
1.9 การประชุมสัมมนา คือ การประชุมเฉพาะกลุ่มแบบหนึ่งตามหัวข้อที่กาหนด
เพื่อประมวลข้อคิดและเสนอแนะจากที่ประชุม ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะมาจากแหล่งต่างๆ กัน
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
1. ศัพท์เกี่ยวกับรูปแบบของการประชุม (ต่อ)
1.10 การประชุมชี้แจง คือ การประชุมที่ผู้รับผิดชอบของหน่วยงานเรียกบุคคลที่
เกี่ยวข้องในหน่วยงานนั้นมารับทราบข้อเท็จจริง แนวทางการปฏิบัติ โดยไม่มีการ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยตรง
1.11 การประชุมใหญ่ คือ การประชุมที่เปิดโอกาสให้สมาชิกขององค์การทั้งหมด
เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นตามเวลาที่กาหนดไว้ในข้อบังคับองค์การนั้นๆ
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
2. ศัพท์ที่ใช้เรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประชุม มีดังนี้
2.1 ผู้จัดประชุม คือ ผู้ริเริ่มให้มีการจัดประชุม
2.2 ผู้มีสิทธิ์เข้าประชุม คือ ผู้มีสิทธิ์หรือได้รับเชิญให้เข้าประชุม
2.3 ผู้เข้าประชุม คือ บุคคลที่ปรากฏตัวอยู่ ณ ที่ประชุม
2.4 องค์ประชุม คือ จานวนผู้เข้าประชุม โดยทั่วไปต้องไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
สมาชิกทั้งหมด
2.5 ประธาน คือ ผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุมการประชุมทั้งหมด โดยมีรองประธานทา
หน้าที่แทน เมื่อประธานไม่อยู่
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
2. ศัพท์ที่ใช้เรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประชุม มีดังนี้ (ต่อ)
2.6 รองประธาน คือ ผู้ที่ทาหน้าแทนประธาน เมื่อประธานไม่อยู่
2.7 เลขานุการ คือ ผู้ทาหน้าที่จัดระเบียบวาระการประชุมและบันทึกรายงาน
การประชุม โดยมีผู้ช่วยเลขานุการช่วยปฏิบัติงาน พร้อมทั้งอานวยความสะดวกต่างๆ
2.8 กรรมการ คือ ผู้ทาหน้าที่พิจารณาเรื่องที่อยู่ในวาระการประชุม และตั้ง
ข้อเสนอเพื่อให้ที่ประชุมพิจารณา โดยมีคณะอนุกรรมการช่วยทาหน้าที่เฉพาะเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
2. ศัพท์ที่ใช้เรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประชุม มีดังนี้ (ต่อ)
2.9 พิธีกร คือ ผู้ควบคุมดูแลความเรียบร้อยของที่ประชุมในการประชุม
สาธารณะ
2.10 ที่ประชุม คือ บรรดาผู้เข้าประชุมทั้งหมด
2.11 เหรัญญิก คือ ผู้ทาหน้าที่ด้านการเงิน
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
3. ศัพท์ที่ใช้เรียกเรื่องที่ประชุม มีดังนี้
3.1 ระเบียบวาระ คือ เรื่องที่นาเข้าที่ประชุมของคณะกรรมการในการประชุม
เฉพาะกลุ่ม กาหนดเป็น วาระที่ 1 ... วาระที่ 2...ฯลฯ
3.2 กาหนดการประชุม คือ เรื่องที่นาเข้าที่ประชุมของคณะกรรมการในการ
ประชุมเฉพาะกลุ่ม และมีเรื่องสาคัญที่ประชุมกันเพียงเรื่องเดียว
3.3 หมายกาหนดการ คือ เอกสารแจ้งกาหนดขั้นตอนของงานพระราพิธี
โดยเฉพาะ
3.4 กาหนดการ คือ เอกสารแจ้งกาหนดขั้นตอนของงานทั่วไปที่ทางราชการหรือ
เอกชนจัดขึ้น
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
4. ศัพท์ที่ใช้เรียกวิธีการสื่อสารในการประชุม
4.1 เสนอ คือ ผู้เข้าประชุมมีสิทธ์ที่จะเสนอเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้ที่ประชุมพิจารณา
4.2 ข้อเสนอ คือ เรื่องที่เสนอในที่ประชุม
4.3 สนับสนุน คือ การเห็นด้วยกับข้อเสนอในที่ประชุม
4.4 คัดค้าน คือ การไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอในที่ประชุม
4.5 การอภิปราย คือ การแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม
4.6 ผ่าน คือ ข้อเสนอที่ที่ประชุมยอมรับ
ศัพท์ที่ใช้ในการประชุม (ต่อ)
4. ศัพท์ที่ใช้เรียกวิธีการสื่อสารในการประชุม (ต่อ)
4.7 ตก คือ ข้อเสนอที่ที่ประชุมไม่ยอมรับ
4.8 มติ คือ การขอความคิดเห็นจากผู้ที่เข้าประชุมเพื่อหาข้อยุติ
4.9 มติของที่ประชุม คือ ข้อตัดสินใจของที่ประชุมเพื่อให้นาไปปฏิบัติ
4.10 มติโดยเอกฉันท์ คือ มติที่ผู้เข้าประชุมเห็นพ้องต้องกันทุกคน
4.11 มติโดยเสียงข้างมาก คือ มติที่ผู้เข้าประชุมส่วนใหญ่เห็นด้วยกับข้อ
ตัดสินใจนั้น
วิธีสื่อสารและการใช้ภาษาในการประชุม
วิธีการสื่อสารและการใช้ภาษาในการประชุมแยกออกได้ดังนี้
1. การใช้ภาษาสาหรับประธานในที่ประชุม การใช้ภาษาในที่ประชุมขึ้นอยู่กับรูปแบบ
ของการประชุมซึ่งอาจเป็นการประชุมที่ไม่เป็นทางพิธีการก็ได้
2. การใช้ภาษาของผู้เข้าประชุม การประชุมอย่างเป็นกันเอง ภาษาที่ใช้ประชุมก็จะเป็น
ลักษณะสนทนา แต่ต้องใช้คาพูดที่สื่อความหมายได้ชัดเจน ส่วนการประชุมที่เป็นทางการ
จะต้องระมัดระวังการใช้ภาษาของตนเองให้มากยิ่งขึ้น ควรมีคาว่า “ขอ” ใช้เสมอในการ
ประชุม เพราะแสดงถึงความสุภาพ เช่น ผมขอเสนอว่า ดิฉันขอให้เลื่อนการพิจารณา
เรื่องนี้ไปคราวหน้า
จบการบรรยายบทที่ 10 การประชุม

More Related Content

What's hot

กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
Jutarat Bussadee
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
renusaowiang
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 

What's hot (20)

2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 

More from Aj.Mallika Phongphaew

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Aj.Mallika Phongphaew
 

More from Aj.Mallika Phongphaew (13)

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 

บทที่ 10 การประชุม